61232 ตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ธนาคารโลก สำนักงานประเทศไทย ผู้อำนวยการสำนักงานประเทศไทย: แอนเนท ดิซอน หัวหน้ านักเศรษฐศาตร์ : วิกรม เนหรู เสนอความคิดเห็น ติดต่อ แมทธิว เอ เวอร์ กิส mverghis@worldbank.org เฟรดเดอริ โก จิล แซนเดอร์ fgilsander@worldbank.org ้ ชัน 30 อาคารสยามทาวเวอร์ 989 ถนนพระราม 1 ปทุมวัน กรุงเทพ 10330 ประเทศไทย (662) 686-8300 www.worldbank.org/th กิตติกรรมประกาศ ่ รายงานฉบับนี ้จัดทำโดยเฟรดเดอริ โก จิล แซนเดอร์ (หัวหน้ ากลุมงาน) และแอนโทนี่ เบอร์ การ์ ด โดยได้ รับความสนับสนุนจาก รัชดา ์ อนันตวรศิลป (ภาคธุรกิจและการเงิน) Magnus Lindelow สุทยุต โอสรประสพ และ พิริยะ ผลพิรุฬห์ (พัฒนาทรัพยากรมนุษย์) ณัฐพร ิ ุ ตรี รัตน์ศริกล (การคลังสาธารณะ) และ Xiadong Wang พัจนภา เปี่ ยมศิลปกุลชร Natsuko Toba และYabei Zhang (การเพิ่มประสิทธิภาพ ิ ั ในการใช้ พลังงาน) อังคณี เหลืองเป็ นทอง และ ชุตมา โล่วฒนาการ ร่วมจัดทำรายงาน ภายใต้ การกำกับดูแลของแมทธิว เอ เวอร์ กิส คณะผู้จดทำขอขอบคุณสำหรับข้ อมูลที่ได้ รับจาก Shabih Mohib (ภาครัฐ) พิชญา ฟิ ตตส์ และ อรศรันย์ มนุอมร รวมทังข้ อคิดเห็น ั ้ ุ และข้ อมูลที่มีคณค่าจากเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการการส่งเสริ มการลงทุน กรมเจรจาการค้ า ระหว่างประเทศ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ิ แห่งชาติ สำนักสถิตแห่งชาติ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการข้ าราชการ พลเรื อน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สำนักงานบริ หารหนี ้สาธารณะ คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หอการค้ าแห่งประเทศไทย สมาคมตลาดตราสารหนี ้ไทย ั ปกของรายงานฉบับนี ้ออกแบบโดยทินกร สารี นนท์ A ABBREVIATIONS ADB Asian Development Bank ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย AEC ASEAN Economic Community ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Association of Southeast Asian Nations มาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ B/E Bill of exchange ๋ ตัวแลกเงิน BAAC Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร BIBOR Bangkok Interbank Offered Rate ้ อัตราดอกเบี ้ยอ้ างอิงระยะสันตลาดกรุงเทพ BIMSTEC Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation ความริ เริ่ มแห่งอ่าวเบงกอลสำหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ BIS Bank for International Settlements ธนาคารเพื่อการชำระเงินระหว่างประเทศ BMA Bond Market Association สมาคมตลาดตราสารหนี ้ไทย BOB Bureau of the Budget สำนักงบประมาณ BOI Board of Investment สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน BOP Balance of payments ดุลการชำระเงิน BoT Bank of Thailand ธนาคารแห่งประเทศไทย cc Cubic centimeters ลูกบาศก์เซนติเมตร CG Central Government รัฐบาลกลาง CMDMP Capital Market Development Master Plan แผนแม่บทพัฒนาตลาดทุนไทย CPI Consumer price index ดัชนีราคาผู้บริ โภค DECPG Development Economics Department, Economic Prospects Group ่ ฝ่ ายพัฒนาเศรษฐกิจของกลุมอนาคตทางเศรษฐกิจ DEDE Department of Alternative Energy Development and Efficiency กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน E&E Electrical and electronics ้ สถาบันไฟฟาและอิเล็คทรอนิกส์ EBITDA Earnings before interest, taxes, depreciation and amortization รายได้ จากการดำเนินงานของบริ ษัทก่อนหักดอกเบี ้ย ภาษี ่ ค่าเสือมราคาของสินทรัพย์และค่าตัดจำหน่ายต่างๆ EE Energy efficiency ประสิทธิภาพในการใช้ พลังงาน EEA Emerging East Asia ตลาดเกิดใหม่ B EEU Energy Efficiency Utility หน่วยงานด้ านการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ EGAT Electricity Generating Authority of Thailand ้ การไฟฟาฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย EPPO Energy Policy and Planning Office สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ESCO Energy Service Company บริ ษัทจัดการพลังงาน ETF Exchange-traded fund กองทุนเปิ ดที่จดทะเบียนและซื ้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ ENCON Energy Conservation การอนุรักษ์ พลังงาน EU European Union สหภาพยุโรป FDI Foreign direct investment การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ FIDF Financial Institutions Development Fund ้ กองทุนเพื่อการฟื นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน FRD Farmers Reconstruction and Development ้ กองทุนฟื นฟูและพัฒนาของเกษตรกร FSMP Financial Sector Master Plan แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน FTA Free Trade Agreement ข้ อตกลงการค้ าเสรี FTI Federation of Thai Industries สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย FY Fiscal Year ปี งบประมาณ G3 Group of 3 (US, Japan and the Euro area) ่ ุ่ กลุมสามประเทศ คือ อเมริ กา ญี่ปน และ ทวีปยุโรป GDP Gross Domestic Product ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ GEP Global Economic Prospects รายงานแนวโน้ มเศรษฐกิจโลกของธนาคารโลก GNI Gross National Income ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ GPF Government Pension Fund กองทุนบำเหน็จบำนาญข้ าราชการ HEPS High Energy Performance Standards มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขันสูง ้ IEA International Energy Agency สำนักงานพลังงานระหว่างประเทศ IFS International Financial Statistics ิ ข้ อมูลมาตรฐานทางสถิตการเงินของประเทศต่าง ๆ IT Information technology เทคโนโลยีสารสนเทศ JTEPA Japan-Thailand Economic Partnership Agreement ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจไทย-ญี่ปน ุ่ C KTOE Kilotons of oil-equivalent หน่วยพันตันเทียบเท่าน้ ำมันดิบ MAI Market for Alternative Investment ตลาดหลักทรัพย์ใหม่ MEPS Minimum Energy Performance Standards มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขันต่ำ ้ MENA Middle East and North Africa ตะวันออกกลางและแอฟริ กาเหนือ MJ Mega joules หน่วยของค่าความร้ อน MLR Minimum lending rate ู ้ อัตราดอกเบี ้ยเงินกู้ลกค้ าชันดี MNCs Multinational companies บริ ษัทข้ ามชาติ mnKw Million Kilowatts ล้ านกิโลวัตตส์ MoC Ministry of Commerce กระทรวงพาณิชย์ MOF Ministry of Finance กระทรวงการคลัง MOT Ministry of Transport กระทรวงคมนาคม MOU Memorandum of Understanding บันทึกความเข้ าใจ NCB National Credit Bureau บริ ษัทข้ อมูลเครดิตแห่งชาติ NEPC National Energy Policy Committee คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ NESDB National Economic and Social Development Board สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ NIM Net interest margin ส่วนต่างดอกเบี ้ยสุทธิ NPL Non-performing loan สินเชื่อที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ NSO National Statistics Office ิ สำนักงานสถิตแห่งชาติ OCSC Office of the Civil Service Commission คณะกรรมการข้ าราชการพลเรื อน OECD Organization for Economic Cooperation and Development องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา OIE Office of Industrial Economics สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม OPDC Office of Public Sector Development Commission สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ PDMO Public Debt Management Office สำนักงานบริ หารหนี ้สาธารณะ PPI Producer price index ดัชนีราคาผู้บริ โภค PQI Professional Qualification Institute สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ E R&D Research and development ั การวิจยและพัฒนา ROA Return on assets ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ROE Return on equity ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น SA Seasonally adjusted ปรับฤดูกาล SAAR Seasonally-adjusted annualized rate อัตรารายปี ปรับฤดูกาล SEC Securities and Exchange Commission คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ SET Stock Exchange of Thailand ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย SFI Specialized financial institution สถาบันการเงินเฉพาะกิจ SMEs Small and medium enterprises วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม SOEs State-owned enterprises รัฐวิสาหกิจ SRT State Railway of Thailand การรถไฟแห่งประเทศไทย SSS Social Security Scheme กองทุนประกันสังคม TEPCO Tokyo Electric Power Company TFEX Thailand Futures Exchange ั บริ ษัท ตลาดอนุพนธ์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) THB Thai baht เงินบาท THBFIX Thai Baht Implied Interest Rates อัตราดอกเบี ้ยของการกู้ยืมเงินบาทผ่านตลาด swap TISI Thailand Standards institute ุ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตสาหกรรม TKK Thai Khem Kaeng ไทยเข้ มแข็ง UC Universal Coverage โครงการหลักประกันสุขภาพ UN United Nations สหประชาชาติ USD US dollar เงินดอลลาร์ สหรัฐ UTCC University of the Thai Chamber of Commerce มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย WDI World Development Indicators ดัชนีการพัฒนาโลก WITS World Integrated Trade Solution การแก้ ปัญหาแบบบูรณาการการค้ าโลก F สารบัญ บทที่ 2 ตามติดเศรษฐกิจไทย - เมษายน 2554 ........................................................................................................................... 1 บทที่ 2 ภาพรวมทางเศรษฐกิจมหภาค...................................................................................................................................... 5 2.1 การผลิต ............................................................................................................................................................... 6 2.2 อุปสงค์จากต่างประเทศ ......................................................................................................................................... 8 2.2.1 สถานการณ์เศรษฐกิจโลก ..................................................................................................................... 9 2.2.2 การส่งออกสินค้ า ................................................................................................................................ 15 2.2.3 การส่งออกบริ การ ............................................................................................................................... 22 2.3 อุปสงค์ภายในประเทศ ......................................................................................................................................... 24 2.3.1 การบริ โภคภาคครัวเรื อน ..................................................................................................................... 25 2.3.2 การลงทุนภาคเอกชน .......................................................................................................................... 26 2.3.3 การลงทุนภาครัฐ ................................................................................................................................ 29 2.4 นโยบายการคลัง .................................................................................................................................................. 31 2.5 นโยบายการเงินและเงินทุนเคลือนย้ าย .................................................................................................................. 34 ่ ้ 2.5.1 เงินเฟอและนโยบายการเงิน ............................................................................................................... 34 ่ ่ 2.5.2 อัตราแลกเปลียนและเงินทุนเคลือนย้ าย ................................................................................................ 40 2.6 พัฒนาการในภาคการเงินและภาคธุรกิจ ................................................................................................................ 43 2.6.1 ภาคการเงิน ........................................................................................................................................ 43 2.6.2 ภาคธุรกิจ ........................................................................................................................................... 48 ่ ่ บทที่ 3 การเติบโตอย่างยังยืนและมีสวนร่วม .............................................................................................................................. 50 3.1 พัฒนาการในตลาดแรงงานและความคุ้มครองทางสังคม ........................................................................................ 50 3.2 การเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ พลังงานเพื่อการเติบโตอย่างยังยืน ........................................................................... 59 ่ ภาคผนวกที่ 1: ดัชนีชี ้วัดทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ......................................................................................................................... 71 ภาคผนวกที่ 2: ตารางติดตามการดำเนินการปรับโครงสร้ าง .........................................................................................................73 1. การวิเคราะห์การลดปั ญหาความยากจน ................................................................................................................. 74 2. การปฏิรูปภาคธุรกิจและการเงิน ............................................................................................................................. 75 3. การปฏิรูปเพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้ อมทางธุรกิจ การลงทุนและทางการค้ า .................................................................. 79 4. การปฏิรูประบบราชการและระบบธรรมาภิบาลภาครัฐ ............................................................................................. 82 5. การคุ้มครองทางสังคม .......................................................................................................................................... 84 ุ่ ่ กรอบที่ 1 ผลกระทบของเหตุการณ์แผ่นดินไหวโตโฮกุในประเทศญี่ปนที่มีตอเศรษฐกิจไทย ............................................................................ 10 กรอบที่ 2 ภาวะเศรษฐกิจของไทยเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค ............................................................................................................ 12 ่ กรอบที่ 3 ผลกระทบของการเปลียนแปลงราคาสินค้ าส่งออก ...................................................................................................................... 21 กรอบที่ 4 ท่าเรื อทวาย ............................................................................................................................................................................. 28 ้ กรอบที่ 5. พัฒนาการของเงินเฟอในภูมิภาค ............................................................................................................................................. 37 กรอบที่ 6. การใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพที่ต้องเผชิญกับอุปสรรคและความล้ มเหลวของตลาด .............................................................. 64 กรอบที่ 7. วิธีการปรับปรุงการประสานความร่วมมือเพื่อส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ..............................................................69 G ่ รูปที่ 1. อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจกำลังกลับสูภาวะปกติ (ก่อนวิกฤตเศรษฐกิจ) ............................................................................. 1 รูปที่ 2. อุปสงค์ภายในประเทศสนับสนุนให้ รายได้ ภาคการเกษตรสูงขึ ้นในปี 2553.................................................................................. 1 ้ ั ู รูปที่ 3 อัตราเงินเฟอในปั จจุบนยังไม่ได้ สะท้ อนต้ นทุนการผลิตที่สงขึ ้น.............................................................................................. 2 ้ รูปที่ 4 แต่มีการคาดการณ์มากขึ ้นว่าเงินเฟอจะสูงขึ ้น..................................................................................................................... 2 รูปที่ 5 อุปสงค์ภายในประเทศจะยังคงเป็ นตัวกระตุ้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ.............................................................................................................. 3 ่ ่ิ รูปที่ 6 องค์ประกอบของการส่งออกของไทยแสดงถึงการปรับเปลียนไปสูสนค้ าที่มีระดับราคาที่เพิ่มมากขึ ้น....................................... 3 ู รูปที่ 7 ราคาอาหารที่สงขึ ้นส่งผลให้ ความยากจนในประเทศไทยเพิ่มขึ ้นในปี 2551........................................................................... 4 ่ รูปที่ 8 การบริ โภคนํ ้ามันเชื ้อเพลิงในประเทศไทยสูงกว่าอัตราเฉลียของประเทศอื่น ทำให้ ความผันผวนในราคานํ ้ามันส่งผลกระทบต่อ ประเทศอย่างมาก...................................................................................................................................................................... 4 รูปที่ 9.ภาคการผลิตที่ไม่สามารถส่งออกได้ เป็ นปั จจัยสำคัญในการกระตุ้นการขยายตัวของเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 4 ในขณะที่ปริ มาณผลผลิตภาค อุตสาหกรรมค่อนข้ างทรงตัวอย่างมีเสถียรภาพ ........................................................................................................................................... 6 รูปที่ 10 การขยายตัวในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 นำโดยภาคการผลิตที่ไม่สามารถส่งออกได้ ............................................................. 6 รูปที่ 11 ภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ยงคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ วาภาคอุตสาหกรรมชิ ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เริ่ มชะลอตัวลง......................... 6 ั ่ ู รูปที่ 12 ภาคการบริ การที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวยังคงขยายตัวไปพร้ อมๆ กับรายรับจากนักท่องเที่ยวที่สงขึ ้น.............................................. 7 ิ ่ รูปที่ 13 สถิตบงชี ้ว่าภาคการก่อสร้ างเริ่ มมีการฟื นตัวในไตรมาสที่ 4 .............................................................................................................. 7 ้ รูปที่ 14 ผลผลิตของสินค้ าเกษตรหลักๆ หดตัวลงในช่วงครึ่งหลังของปี พ.ศ. 2553 โดยเป็ นผลมาจากภาวะน้ ำท่วมในหลายๆ พื ้นที่ .................. 8 ั รูปที่ 15 ดัชนีชี ้นำภาวะเศรษฐกิจบ่งบอกถึงการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศที่พฒนาแล้ ว .......................................................................... 11 ่ รูปที่ 16 เศรษฐกิจของประเทศในกลุมอาเซียนคาดว่าจะขยายตัวโดยเฉลียร้ อยละ 6 ต่อปี ในช่วง 4 ปี ข้ างหน้ า ................................................ 11 ่ ้ รูปที่ 17 ราคาน้ ำมันดิบปรับตัวสูงขึ ้นมากนับตังแต่ต้นปี พ.ศ. 2554 ........................................................................................................... 11 ้ รูปที่ 18 ปริ มาณการบริ โภคธัญพืชของโลกเพิ่มสูงขึ ้นตังแต่ พ.ศ. 2543 เป็ นต้ นมา ....................................................................................... 11 รูปที่ 19 เศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ที่ได้ รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจมีการชะลอตัวลงในไตรมาสที่ 3 และมีการฟื นตัวขึ ้นหลังจากนัน ..... 13 ้ ้ ั ่ ่ รูปที่ 20 ระดับผลผลิตปั จจุบนอยูตำกว่าระดับที่ควรจะเป็ น ในกรณีที่ไม่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ .......................................................................... 13 รูปที่ 21 การลดลงของ GDP ของไทยในช่วงกลางปี ทำให้ การเร่งฟื นระดับผลผลิตที่สญเสียไปจากวิกฤติของเศรษฐกิจไทยชะงักลงบ้ าง ........... 13 ้ ู ้ รูปที่ 22 มูลค่าการส่งออกของไทยมีการฟื นตัวแข็งแกร่งกว่าประเทศอื่นๆ .................................................................................................... 14 ่ รูปที่ 23 ซึงช่วงแรกเกิดจากการขยายตัวของปริ มาณการส่งออก และในช่วงหลังเกิดจากราคาสินค้ าส่งออกปรับตัวสูงขึ ้น ................................. 14 รูปที่ 24 การส่งออกมีความผันผวนในไตรมาสที่ 3 แต่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องในไตรมาสที่ 4 .......................................................................... 15 ู รูปที่ 25 หลังจากที่มลค่าการส่งออกลดลงในเดือนกรกฎาคม ในไตรมาสที่ 4 มูลค่าการส่งออกมีการปรับตัวสูงขึ ้นจนอยูในระดับที่สงสุดเป็ น ่ ู ิ ประวัตการณ์ .......................................................................................................................................................................................... 15 รูปที่ 26 การขยายตัวของการส่งออกชะลอลง แต่โดยรวมแล้ วยังคงอยูในระดับที่สงกว่าค่าเฉลียในอดีต ......................................................... 16 ่ ู ่ ู ิ รูปที่ 27 การส่งออกไปยังประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกที่สงขึ ้นและราคาวัตถุดบที่เพิ่มขึ ้น เป็ นปั จจัยที่ทำให้ การส่งออกผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ขยายตัว ................................................................................................................................................................................................. 16 รูปที่ 28 ราคาสินค้ าส่งออกของไทยสูงขึ ้นเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค ............................................................................................ 17 ู ่ ู ่ รูปที่ 29 ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ที่สงมีสวนสนับสนุนให้ มลค่าการส่งออกขยายตัวในช่วงที่ผานมา ................................................................... 17 ้ รูปที่ 30 ตะกร้ าสินค้ าส่งออกของไทยมีความหลากหลายมากขึ ้นในช่วงที่เศรษฐกิจฟื นตัว ............................................................................. 17 รูปที่ 31 ตะกร้ าสินค้ าส่งออกของไทยมีการเพิ่มสัดส่วนในสินค้ าที่ราคามีการเปลียนแปลงในทางที่เป็ นประโยชน์ตอผู้สงออก ............................ 17 ่ ่ ่ รูปที่ 32 ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกมีความสำคัญต่อการขยายตัวของการส่งออกของไทยมากขึ ้น ............................ 18 ั รูปที่ 33 ออสเตรเลีย ประเทศสมาชิกแห่งสหภาพยุโรปและจีนมีสดส่วนในตลาดสินค้ าส่งออกของไทยมากขึ ้น ................................................ 18 ้ รูปที่ 34 สัดส่วนของสินค้ าขันสุดท้ ายในโครงสร้ างสินค้ าส่งออกสูงขึ ้น .......................................................................................................... 18 รูปที่ 35 ปริ มาณการส่งออกมีการขยายตัวในสินค้ าแทบทุกประเภทหลังจากผ่านช่วงวัฎจักรการสะสมสินค้ าคงคลัง ........................................ 19 รูปที่ 36 การขยายตัวของมูลค่าการส่งออกเป็ นไปในทิศทางเดียวกับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ทว่า ปริ มาณการส่งออกมี ่ การขยายตัวในอัตราที่ตำกว่า .................................................................................................................................................................. 19 ่ ่ รูปที่ 37 กลุมประเทศอาเซียนได้ สวนแบ่งการส่งออกในตลาดโลกมากขึ ้น ..................................................................................................... 20 ้ รูปที่ 38 แนวโน้ มการส่งออกสำหรับปี พ.ศ. 2554 เริ่ มดูดีขึ ้นตังแต่เดือนธันวาคมเป็ นต้ นมา ............................................................................ 20 รรูปที่ 39 นักท่องเที่ยวเดินทางกลับเข้ ามาท่องเที่ยวยังประเทศไทยอย่างต่อเนื่องสูงสุดเป็ นประวัตการณ์ ........................................................ 22 ิ ้ ้ รูปที่ 40 ภาคการท่องเที่ยวมีการการฟื นตัวเร็วกว่าวิกฤติครังก่อนๆ .................................................................................................................................. 22 H Contents รูปที่ 41 รายรับจากนักท่องเที่ยวลดลงในไตรมาสที่ 4 ................................................................................................................................. 23 ่ ่ รูปที่ 42 โดยส่วนหนึงเป็ นผลมาจากการเปลียนแปลงในโครงสร้ างของนักท่องเที่ยว ...................................................................................... 23 ้ รูปที่ 43 รายรับจากภาคการขนส่งลดลง ทังๆ ที่การส่งออกขยายตัวและมีรายรับจากการท่องเที่ยวมากขึ ้น ..................................................... 24 ่ รูปที่ 44 การบริ โภคขยายตัวเนื่องจากรายได้ ภาคเกษตรสูงขึ ้นและอัตราดอกเบี ้ยอยูในระดับต่ำ ..................................................................... 25 ั รูปที่ 45 อัตราค่าจ้ างในภาคเกษตรมีความสัมพันธ์กบอัตราค่าจ้ างแรงงานไร้ ฝีมือ ......................................................................................... 25 ้ รูปที่ 46 การใช้ กำลังการผลิตในภาคการผลิตเพื่อส่งออกมีแนวโน้ มลดลงหลังผ่านพ้ นช่วงการฟื นตัวของเศรษฐกิจ........................................... 26 รูปที่ 47 การขยายตัวในภาคอสังหาริ มทรัพย์ชะลอตัวลงในไตรมาสที่ 4 เนื่องจากการควบคุมการปล่อยสินเชื่อที่เข้ มงวดขึ ้น.............................. 26 รูปที่ 48 การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศหดตัวในไตรมาสที่ 4 ….............................................................................................................. 27 รูปที่ 49 แต่การลงทุนในต่างประเทศของคนไทยสูงขึ ้น ................................................................................................................................ 28 ่ รูปที่ 50 บทบาทของการเปลียนแปลงในสินค้ าคงคลังต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจที่ลดลงสะท้ อนให้ เห็นถึงความผันผวนทางเศรษฐกิจที่ลดลง ... 28 รูปที่ 51 การเติบโตของทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2563 ...................................................................................................... 28 รูปที่ 52. การลงทุนในอุปกรณ์และเครื่ องมือที่หดตัวจากการลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่ลดลง ............................................................................. 30 รูปที่ 53. แผนไทยเข้ มแข็งช่วยชดเชยงบรายจ่ายลงทุนที่ลดลงในปี 2553 ..................................................................................................... 30 รูปที่ 54. การลงทุนในโครงการไทยเข้ มแข็งชดเชยกับงบรายจ่ายลงทุนที่ลดลงและสนับสนุนการขยายตัวของการลงทุนภาครัฐ......................... 31 รูปที่ 55. ผลทางการคลังออกมาดีกว่าที่คาดจากผลการจัดเก็บรายได้ ที่เพิ่มขึ ้น ............................................................................................. 31 ั รูปที่ 56. การขาดดุลการคลังลดลงมาจากการขยายตัวของรายได้ จดเก็บ ..................................................................................................... 31 ่ รูปที่ 57. งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2555 ชี ้ให้ เห็นถึงทิศทางการปรับเข้ าสูสมดุลของฐานะการคลัง .......................................................... 33 รูปที่ 58. รายจ่ายประจำคิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้ อยละ 80 ของรายจ่ายทังหมด .......................................................................................... 33 ้ ้ ่ ้ รูปที่ 59. เงินเฟอทัวไปและเงินเฟอพื ้นฐานทรงตัว ….................................................................................................................................. 34 ่ รูปที่ 60. แม้ วาราคาอาหารสดเพิ่มขึ ้นพอสมควร ........................................................................................................................................ 34 รูปที่ 61. แรงกดดันด้ านกำลังการผลิตในอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อจำหน่ายภายในประเทศยังคงไม่รุนแรง ......................................................... 35 ้ รูปที่ 62. เงินเฟอคาดการณ์เพิ่มสูงขึ ้น ....................................................................................................................................................... 35 รูปที่ 63. ราคาปั จจัยการผลิตที่เพิ่มสูงขึ ้นยังไม่แสดงในตัวเลขเงินเฟอ .......................................................................................................... 35 ้ ่ รูปที่ 64. การขยายตัวของสินเชื่อพุงสูงขึ ้น เนื่องจากธนาคารรับมือกับอัตราดอกเบี ้ยนโยบายที่ปรับเพิ่มขึ ้น ..................................................... 35 ั รูปที่ 65. ตลาดหุ้นทะยานขึ ้น แต่ราคาที่พกอาศัยที่แท้ จริ งยังไม่ปรับเพิ่มขึ ้น .................................................................................................. 36 ั รูปที่ 66. นโยบายการเงินเข้ มงวดขึ ้น แต่ยงคงผ่อนปรนอยู่ .......................................................................................................................... 36 ้ ่ รูปที่ 67. เงินเฟอเพิ่มขึ ้นทัวภูมิภาคเอเชียตะวันออก ................................................................................................................................... 37 รูปที่ 68. ราคาอาหารเพิ่มขึ ้นมากกว่าดัชนีราคาผู้บริ โภค ............................................................................................................................ 37 รูปที่ 69. ราคาผู้ผลิตเร่งตัวขึ ้น .................................................................................................................................................................. 38 รูปที่ 70. สินเชื่อยังคงขยายตัวอย่างแข็งแกร่ง ........................................................................................................................................... 38 รูปที่ 71. ประเทศส่วนใหญ่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกประสบกับอัตราดอกเบี ้ยที่ ........................................................................................ 38 รูปที่ 72. การใช้ กำลังการผลิตในอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศกลับมาสูงกว่าระดับในช่วงก่อนวิกฤต ......................................... 38 รูปที่ 73. ราคาเชื ้อเพลิงและค่าขนส่งในประเทศที่มีการให้ เงินอุดหนุนไม่สอดคล้ องกับราคาพลังงานในตลาดโลก ............................................ 39 ้ รูปที่ 74. คาดการณ์เงินเฟอมีแนวโน้ มขาขึ ้นในปี 2554 ............................................................................................................................... 39 รูปที่ 75. เกินดุลบัญชีเดินสะพัดลดลง แต่เงินทุนไหลเข้ าจากต่างประเทศทำให้ เกินดุลการชำระเงินมากขึ ้น .................................................... 41 รูปที่ 76. เงินทุนจากต่างประเทศไหลเข้ ามาลงทุนในตราสารหนี ้ของรัฐบาลเป็ นหลัก .................................................................................... 41 ้ รูปที่ 77. เงินทุนจากต่างชาติที่ไหลเข้ ามาลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลเร่งตัวขึ ้นตังแต่เดือนสิงหาคม ..................................................... ...............42 ั ั รูปที่ 78. แต่นกลงทุนต่างชาติยงเข้ ามาลงทุนในตลาดตราสารหนี ้ของไทยน้ อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ........................................................ 42 รูปที่ 79. ค่าเงินบาทที่แท้ จริ งแข็งค่าขึ ้นสอดคล้ องกับประเทศอื่นในภูมิภาคอาเซียน ...................................................................................... 42 รูปที่ 80. เงินทุนที่ไหลเข้ ามาลงทุนในหลักทรัพย์ในช่วงต้ นปี 2554 ถูกหักกลบด้ วยเงินทุนไหลออก ................................................................. 42 รูปที่ 81. สินเชื่อรถยนต์ขยายตัวสูงมากในปี 2553 ฉุดอัตราการขยายตัวของสินเชื่อโดยรวม .......................................................................... 43 รูปที่ 82. การปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยนโยบายถูกส่งผ่านไปยังอัตราดอกเบี ้ย MLR เพียงครึ่งเดียว ..................................................................... 43 ิ รูปที่ 83. หนี ้สินสกุลเงินตราต่างประเทศของธนาคารไทยเพิ่มขึ ้น แต่สนทรัพย์สกุลเงินตราต่างประเทศก็เพิ่มขึ ้นเช่นกัน .................................... 44 รูปที่ 84. สินเชื่อที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ (NPLs) ยังลดลงต่อเนื่องในขณะที่ฐานะเงินกองทุนก็แข็งแกร่ง .............................................................. 44 ่ รูปที่ 85. ธนาคารมีผลกำไร 10 ไตรมาสที่ผานมาติดต่อกัน ........................................................................................................................ 45 รูปที่ 86. รายได้ ดอกเบี ้ยสุทธิเพิ่มขึ ้นเล็กน้ อยในปี 2553 ............................................................................................................................. 45 I ่ รูปที่ 87. รายได้ ดอกเบี ้ยสุทธิเพิ่มขึ ้น แม้ วาส่วนต่างอัตราดอกเบี ้ยจะลดลง ................................................................................................... 46 รูปที่ 88. การขยายตัวของสินเชื่อจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจชะลอลงในช่วงครึ่งแรกของปี 2553 ................................................................. 46 รูปที่ 89. ตลาดตราสารหนี ้ยังคงขยายตัว .................................................................................................................................................. 47 รูปที่ 90. ตราสารหนี ้ที่ออกและเสนอขายในตลาดแรกส่วนใหญ่เป็ นของ ธปท. .............................................................................................. 47 รูปที่ 91. มูลค่าการซื ้อขายหมุนเวียนเพิ่มขึ ้น แต่ยงต่ำเมื่อเทียบกับมาตรฐานระหว่างประเทศ ........................................................................ 47 ั รูปที่ 92. การระดมทุนของภาคธุรกิจโดยรวมมีความผันผวนน้ อยลง หากรวมการระดมทุนด้ วยตราสารหนี ้และสินเชื่อเข้ าด้ วยกัน ..................... 47 รูปที่ 93. บริ ษัทจดทะเบียนมีกำไรติดต่อกันเป็ นไตรมาสที่แปด .................................................................................................................... 48 รูปที่ 94. ผลการดำเนินงานดีขึ ้นเมื่อพิจารณาจากตัวชี ้วัดต่าง ๆ .................................................................................................................. 48 ุ รูปที่ 95. ตลาดหลักทรัพย์ของไทยให้ ผลตอบแทนสูงที่สดในภูมิภาคในปี 2553 ............................................................................................ 49 รูปที่ 96. นักลงทุนต่างชาติขายทำกำไรในเดือนมกราคม แต่กลับมาซื ้อในเดือนกุมภาพันธ์ ............................................................................ 49 รูปที่ 97. รายได้ ของเกษตรกรเพิ่มขึ ้นสูงกว่าราคาสินค้ าในชนบทถึงแม้ วาผลผลิตจะลดลง ............................................................................. 50 ่ ้ รูปที่ 98. การผลิตของหมวดอาหารมีความผันผวนสูงขึ ้นตังแต่ปี 2548 ......................................................................................................... 50 รูปที่ 99. ราคาอาหารมีความเชื่อมโยงกับความยากจนที่เพิ่มขึ ้นสังเกตได้ ในปี 2551 ..................................................................................... 51 ่ รูปที่ 100 ค่าจ้ างและการจ้ างงานในภาคเกษตรกรรมทะยานขึ ้น และดึงให้ คาจ้ างแรงงานไร้ ฝีมือสูงขึ ้นด้ วย ..................................................... 51 รูปที่ 101 การออกจากงานลดลง รวมถึงการลดลงของการเลิกจ้ าง .............................................................................................................. 52 ่ รูปที่ 102 จำนวนของผู้ที่ไม่มีงานเต็มเวลาทำลดลงสูระดับตํ่าสุดตลอดกาล .................................................................................................. 52 รูปที่ 103 ผู้ที่มีการศึกษาสูงกลับต้ องใช้ เวลาในการหางานสูง ...................................................................................................................... 53 ่ รูปที่ 104 แรงงานอพยพมีแพร่หลายในบริ เวณที่คาแรงตํ่ากว่าเช่น การก่อสร้ างและการเกษตร ...................................................................... 53 รูปที่ 105 ธุรกิจด้ านการผลิตจ้ างคนงานด้ วยค่าจ้ างตํ่าลง ........................................................................................................................... 53 ั รูปที่ 106 การเพิ่มขึ ้นของการทำงานล่วงเวลาและรายได้ พิเศษอื่นๆช่วยเพิ่มรายได้ ให้ กบแรงงานภาคการผลิต ................................................ 53 รูปที่ 107 คนงานไทยกำลังกลับไปทำงานต่างประเทศ ................................................................................................................................ 54 ่ รูปที่ 108 แรงงานนอกระบบเพิ่มขึ ้นในกลุมนอกภาคเกษตรกรรม ................................................................................................................ 54 รูปที่ 109. การบริ โภคพลังงานได้ เติบโตไปในทิศทางเดียวกันกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ........................................................................... 59 ้ ้ รูปที่ 110. ความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงานเพิ่มขึ ้นตังแต่ปี 2537 และเริ่ มมีแนวโน้ มลดลงตังแต่ปี 2547 .......................................................... 59 ่ รูปที่ 111. ความเข้ มของการใช้ พลังงานในประเทศไทยสูงกว่าอัตราเฉลียเมื่อเทียบกับระดับรายได้ ................................................................. 60 รูปที่ 112. ประเทศไทยเป็ นหนึงในประเทศในภูมิภาคนี ้ที่มีการใช้ นํ ้ามันมากที่สด .......................................................................................... 60 ่ ุ ่ ่ ่ ่ รูปที่ 113. แม้ วาความเข้ มข้ นของการใช้ น้ำมันจะลดลง แต่การพึงพาเชื ้อเพลิงฟอสซิลยังคงอยูในระดับที่คอนข้ างสูง ....................................... 61 ่ รูปที่ 114. การพึงพาแหล่งพลังงานจากต่างประเทศยังคงเพิ่มสูงขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ......................................................................................... 61 ้ ้ รูปที่ 115. อัตราการขยายตัวของการใช้ ไฟฟาแสดงให้ เห็นถึงแนวโน้ มการใช้ ไฟฟาที่ลดลงในระยะยาว ........................................................... 61 รูปที่ 116. การเพิ่มขึ ้นของการบริ โภคพลังงานมีสาเหตุหลักมาจากการขยายตัวของ GDP ............................................................................. 62 รูปที่ 117. ถ่านหินและนํ ้ามันดีเซลยังคงเป็ นแหล่งพลังงานหลักของภาคอุตสาหกรรม ................................................................................... 62 รูปที่ 118. การลดลงของ ความเข้ มข้ นของการใช้ น้ำมันอาจจะส่งผลให้ การใช้ ถ่านหินและก๊ าซธรรมชาติเพิ่มขึ ้น .............................................. 63 ุ รูปที่ 119. การขนส่งทางบกยังคงเป็ นสาขาที่มีการใช้ พลังงานมากที่สดในภาคการขนส่ง ............................................................................... 63 รูปที่ 120. ภาคการขนส่งในประเทศไทยมีการใช้ พลังงานสูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ................................................................................... 64 ่ ตารางที่ 1. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2553-2555 (ร้ อยละ เทียบกับปี ที่ผานมา) .......................................................................... 5 ตารางที่ 2. การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกเป็ นไปตามแบบแผนปกติแนวใหม่ ที่เศรษฐกิจโลกมีความผันผวนน้ อยลง แต่อตราการขยายตัวทาง ั ั เศรษฐกิจของประเทศที่พฒนาแล้ วก็ลดตํ่าลงเช่นเดียวกัน ............................................................................................................................ 9 ตารางที่ 3. โครงสร้ างงบประมาณประจำปี 2554 แสดงให้ เห็นถึงการปรับเปลียนงบประมาณรายจ่ายไปสูโครงการทางสังคมมากขึ ้น ............... 32 ่ ่ ตารางที่ 4. ประมาณการบัญชีเดินสะพัดจะยังเกินดุลลดลงต่อไป ............................................................................................................... 40 ้ ตารางที่ 5. การลงทุนในตราสารทุนจากต่างประเทศฟื นตัวขึ ้น .................................................................................................................... 41 ตารางที่ 6. การออกและเสนอขายตราสารหนี ้ในตลาดแรกชะลอลงในปี 2553 ............................................................................................. 46 ่ ตารางที่ 7. อัตราการเกิดในประเทศกลุมอาเซียน ...................................................................................................................................... 55 ่ ตารางที่ 8. อัตราส่วนพึงพิงสำหรับประชากรอายุ 60 ปี และมากกว่า ........................................................................................................... 56 ตารางที่ 9. บทสรุปโครงการประชาวิวฒน์ (วาระประชาชน) ........................................................................................................................ 58 ั ตารางที่ 10. การใช้ พลังงานของภาคการผลิตสาขาต่างๆ ของประเทศไทย ปี 2543 และ ปี 2553 ................................................................... 62 ้ ั ตารางที่ 11. เปาหมายและความสำเร็ จของแผนอนุรักษ์ พลังงานฉบับปั จจุบน (2548-2554) ......................................................................... 65 J บทที่ 1 ตามติดเศรษฐกิจไทย - เมษายน 2554 บทสรุ ป เศรษฐกิจของไทยกำลังกลับเข้ าสู่ระดับก่ อนภาวะวิกฤต GDP รู ปที่ 1. อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจกำลังกลับสู่ภาวะ ในไตรมาสสุดท้ ายของปี 2553 อยูที่ร้อยละ 4.8 (ปรับตามฤดูกาล) ปกติ (ก่ อนวิกฤตเศรษฐกิจ) ่ ่ ซึงใกล้ เคียงกับระดับปกติในช่วงก่อนวิกฤต หลังจากที่ระดับ GDP of GDP, based on quarterly figures ของไทยลดลงและฟื ้ น ตั ว อย่ า งเห็ น ได้ ชั ด ในช่ ว งก่ อ นและหลั ง Annual rate of change fluctuations (percent per year) adjusted for inflation and seasonal วิกฤตเศรษฐกิจ และลดลงอีกเล็กน้ อยหลังจากนัน (รูปที่ 1) สำหรับปี ้ ้ 2553 ทังปี GDP จะขยายตัวร้ อยละ 7.8 เทียบกับปี ก่อนหน้ า 20 2002-2007 Average Growth Rate ้ อัต ราการเติ บ โตส่ ว นใหญ่ ม าจากอุ ป สงค์ จ ากทัง ภายในและภาย 15 Actual นอกประเทศ 10 Rebound ้ อุ ป สงค์ ภ ายในประเทศเร่ งตั ว ขึ น สื บ เนื่ อ งจากรายได้ ภ าคการ 5 เกษตรที่สูงขึนกอรปกับอัตราดอกเบียที่ต่า การบริ โภคและการ ้ ้ ํ 0 ลงทุนของสินค้ าและบริ การที่ผลิตในประเทศของปี 2553 มีการ ขยาย ่ ตัวดีกว่าในช่วงปี 2549 ถึง 2552 ซึงมีสาเหตุหลักมาจากการ -5 Crisis เติบโตด้ านการบริ โภคในครัวเรื อน รายได้ ที่แท้ จริ งจากภาคการเกษตร -10 เพิ่มสูงขึ ้นมาก ่ ถึงแม้ วาจะมีสภาวะอากาศที่เลวร้ ายรวมถึงราคา -15 สินค้ าบริ โภคที่สงขึ ้น (รูปที่ 2) ซึงจะช่วยผลักดันให้ คาจ้ างที่แท้ จริ ง ู ่ ่ ในภาคการเกษตรสูงขึ ้น ่ โดยมีผลทำให้ คาจ้ างของผู้ใช้ แรงงาน -20 มีแนวโน้ มสูงขึ ้นด้ วย ู ั รายได้ ครัวเรื อนที่สงขึ ้นกอรปกับการที่อตรา -25 ้ ดอกเบี ย เงิ น ฝากอยู่ ใ นระดั บ ที่ ตํ่ า และความต้ องการปล่ อ ยเงิ น 2008 2008 2008 2008 2009 2009 2009 2009 2010 2010 2010 2010 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 กู้ของธนาคารพาณิชย์ ทำให้ มีการกระตุ้นการบริ โภคสินค้ าคงทนเช่น ทีมา : สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการ บ้ านและยานพาหนะ คำนวนโดยเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก รู ปที่ 2. อุปสงค์ ภายในประเทศสนับสนุนให้ รายได้ ้ อุปสงค์ ภายนอกภายนอกประเทศปรั บตัวขึนในไตรมาสที่ 4 ภาคการเกษตรสูงขึนในปี 2553 ้ ้ หลังจากที่เศรษฐกิจฟื นตัวอย่างสูงในไตรมาสที่ 1 หลังเกิดวิกฤต เศรษฐกิจ(อัตราเติบโตสูงกว่าร้ อยละ 30 – ปรับตามฤดูกาล)อุปสงค์ Indices, 12-month moving averages 165.0 117.5 จากภายนอกประเทศได้ ลดลงในไตรมาสที่ 2 และ 3 โดยมีสาเหตุ Farm Income Index ู แรกมาจากภาคการท่องเที่ยวที่ถกกระทบอย่างรุ นแรงในช่วงวิกฤตการ 160.0 Private Consumption Index 115.0 ้ เมื อ งรวมถึ ง การสิ น สุด ของวัฏ จั ก รการสะสมสต๊ อ ก(restocking) ้ ในไตรมาสที่ 4 ภาคการท่องเที่ยวมีการฟื นตัวและความต้ องการรถยนต์ 155.0 112.5 ู ่ และสินค้ าการเกษตรที่สงขึ ้น มีสวนสนับสนุนการขยายตัวของอุปสงค์ 150.0 ภายนอก ส่งผลให้ จำนวนนักท่องเที่ยวมีมากขึ ้น และมูลค่าของสินค้ า 110.0 ส่งออกแตะระดับสูงสุดในช่วงเดือนธันวาคม 145.0 107.5 140.0 135.0 105.0 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ และการคำนวนโดยเจ้ าหน้ า ที่ของธนาคารโลก 1<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ภาวะเศรษฐกิจในปี 2554มีแนวโน้ มที่จะถูกกดดันโดยราคาพลัง ้ ั รู ปที่ 3 อัตราเงินเฟอในปั จจุบนยังไม่ ได้ สะท้ อนต้ น งานและราคาสินค้ าเกษตรที่สูง วิกฤตการณ์ทางการเมืองใน ทุนการผลิตที่สูงขึน ้ ้ ตะวั น ออกกลางและแอฟริ ก าเหนื อ ส่ ง ผลให้ ราคานํ า มั น ในเดื อ น Year-on-year changes (percent) ู กุมภาพันธ์ปรับตัวสูงขึ ้น ราคานํ ้ามันในเดือนมีนาคมยังคงที่ในระดับที่สง เนื่องจากมีการกระจายความรุนแรง เช่น ล่าสุดในลิเบีย และบาห์เรน ที่มา : กระทรวงพาณิชย์ และการคำนวนโดยเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก ราคาสินค้ าภาคการเกษตรโดยเฉพาะอาหารได้ ชะลอตัวลงแต่ยงคงอยู่ ั ู ้ ในระดับที่สงราคาสินค้ าภาคการเกษตรปรับสูงขึนในเดือนกุมภาพันธ์ เป็ นเดือนที่ 9 ติดต่อกัน ้ ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ เพิ่มขึนเรื่ อย ๆ ในช่ วง 10 ปี ที่ผ่านมา วิ ก ฤตการณ์ ท างการเมื อ งในตะวั น ออกกลางและแอฟริ ก าเหนื อ และการขาดตลาดของสินค้ าการเกษตร (เช่น จากนํ ้าท่วมในปี ก่อน) ่ อาจเป็ นปั ญหาชัวคราว แต่ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์มีแนวโน้ มสูงขึ ้น ่ ่ ในช่วง 10 ปี ที่ผานมา ซึงมีสาเหตุมาจากความต้ องการที่สงขึ ้นใน ู ประเทศกำลังพัฒนาที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะประเทศจีน ้ ้ รวมถึ ง ความแปรปรวนของอุ ป ทานที่ เ กิ ด ขึ น บ่ อ ยครั ง ท่ า มกลาง ้ ความแปรปรวนของภู มิ อ ากาศที่ เ พิ่ ม มากขึ น และแนวโน้ มนี จ ะยั ง ้ ่ ู ่ คงสูง (ถึงแม้ วาอาจจะไม่สงขึ ้น) ซึงทำให้ ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ใน ่ ปี 2554 จะยังคงอยูในระดับที่สง ู เงิ น เฟ อยั ง อยู่ ใ นระดั บ ที่ ต่ ำ ถึ ง แม้ ว่ า ราคาอาหารและพลั ง งาน ้ จะสูง เนื่องจากการที่รัฐบาลชดเชยราคานํ ้ามันดีเซล และราคาค่าขนส่ง ทีมา : กระทรวงพาณิชย์ และการคำนวนโดยเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก ้ ้ และพลังงาน รวมทังการควบคุมราคาทังอย่างเป็ นทางการและไม่เป็ น ทางการนอกจากนัน ้ อัตราการใช้ กำลังการผลิตในอุตสาหกรรมที่ ผลิตเพื่อตอบสนองอุปสงค์ในประเทศยังคงตํ่ากว่าระดับช่วงก่อนวิกฤต ้ ้ รู ปที่ 4 . แต่ มีการคาดการณ์ มากขึนว่ าเงินเฟอ แสดงให้ เห็นว่าความกดดันด้ านราคาจากอุปสงค์ ในประเทศยังคงตํ่า จะสูงขึน ้ ู ู ราคาของผู้ผลิตที่สงขึ ้นจึงยังไม่ถกส่งผ่านมายังผู้บริ โภค ดัชนีราคาผู้บริ ่ โภคยังคงขยายตัวในระดับเฉลียของปี 2549 – 2550 ก่อนวิกฤตเศรษฐกิจ Year-on-year change (percent) แม้ ว่า ดัช นี ร าคาผู้ผ ลิ ต จะได้ ป รั บ สูง ขึน เหนื อ ค่า เฉลี่ ย ในช่ ว งก่ อ นเกิ ด ้ วิกฤตเศรษฐกิจแล้ วก็ตาม (รูปที่ 3) ้ อย่ า งไรก็ ดี แ รงกดดั น ด้ า นราคาสิ น ค้ า และบริ ก ารได้ เ พิ่ม สู ง ขึ น ้ ้ การคาดการณ์ เงิ นเฟอมี แนวโน้ มสูงขึนเป็ นผลมาจากการคาดการณ์ ว่าการควบคุมราคาสินค้ าและมาตรการชดเชยราคาของรัฐบาลจะถูก ยกเลิก(รูปที่4)ในขณะเดียวกัน ธนาคารแห่งประเทศไทยก็ได้ มีความ ้ ้ กั ง วลต่ อ ปั ญหาเงิ น เฟ อจึ ง ได้ ปรั บ อั ต ราดอกเบี ย นโยบายไปแล้ ว ้ ่ 2 ครัง ในปี 2554 และได้ สงสัญญาณว่าจะมีการปรับอัตราดอกเบี ้ย เพิ่มขึ ้นอีกในระยะต่อไป ที่มา: Consensus Forecasts World Bank staff calculations. 2<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 เศรษฐกิจไทยคาดว่ าจะสามารถรองรั บกั บปั จจัยลบจากราคา รู ปที่ 5 อุปสงค์ ภายในประเทศจะยังคงเป็ นตัวกระตุ้นการ อาหารและพลังงานที่เพิ่มสูงขึนได้ ้ และคาดว่ าอัตราการขยาย ขยายตัวทางเศรษฐกิจ ตัวทางเศรษฐกิจะกลับไปอยู่ใกล้ ระดับก่ อนเกิดวิกฤติ เศรษฐกิจ ไทยยังคงรั กษาระดับความสมดุลในการขยายตัวได้ อย่างดี จากไตร Gross domestic product adjusted for inflation and seasonal fluctuations (THB billion) ่ มาสที่ 4 ปี 2553 มาถึงช่วงต้ นปี 2554 แม้ วาจะเผชิญภาวะราคานํ ้ามันที่ ุ่ ้ สูงขึ ้นและภัยธรรมชาติในญี่ปน ทังนี ้ คาดว่าเศรษฐกิจไทยจะยัง 700 Domestic Demand 1,250 คงรักษาระดับการขยายตัวอย่างแข็งแกร่งตลอดทังปี 2554 (รูปที่ 5) ้ External Demand อุปสงค์ภายในประเทศยังคงขยายตัวในระดับดี ในขณะที่ความ 650 GDP (right axis) 1,200 ต้ องการจาดภายนอกยังคงอยู่ในระดับต่ำจากการที่ประเทศที่มีความ 600 1,150 ้ ก้ าวหน้ าทางเศรษฐกิ จทังหลายยังคงอยู่ในภาวะฟื ้นตัวตลอดจนผล ุ่ กระทบจากเหตุแผ่นดินไหวในญี่ปน เมื่อรวมผลจากฐานที่สงในปี ก่อนู 550 1,100 หน้ าแล้ ว เศรษฐกิจไทยในปี 2554 คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.7 500 1,050 ้ ราคาสินค้ าเกษตรที่สูงขึนส่ งผลบวกโดยรวมต่ อการบริ โภคใน 450 1,000 ู ประเทศ ราคาสินค้ าเกษตรที่สงขึ ้น ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ ่ ต่อการผลิตสินค้ าเกษตรที่อยูในระดับต่ำ รวมถึงผลจากราคาสิน 400 950 ้ ค้ าเกษตรที่ สู ง ขึ น ได้ มี ก ารส่ ง ผ่ า นไปยั ง ระดั บ ค่ า จ้ างของกลุ่ ม ลู ก จ้ างที่ใช้ แรงงาน ส่งผลให้ รายได้ และการบริ โภคของครัวเรื อนเพิ่ม 350 900 ้ ่ ขึ ้น สำหรับอัตราดอกเบี ้ยนัน แม้ วามีแนวโน้ มที่จะสูงขึ ้นแต่จะมีสวน ่ 2005Q3 2006Q3 2007Q3 2008Q3 2009Q3 2010Q3 2011Q3 ช่วยสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจตลอดปี นอกจากนี ้ ภาพ ทีมา : สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการคำนวนและ รวมเศรษฐกิ จ ที่ มี แ นวโน้ มที่ ดี น่ า จะส่ ง ผลให้ ภาคการธนาคาร การคาดการณ์โดยเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก ้ ปล่อยกู้ได้ อย่างต่อเนื่อง ท้ ายนี ้ การเลือกตังที่กำลังจะเกิดขึ ้น รวม ถึ ง มาตรการอุด หนุน ชั่ว คราวของรั ฐ บาลที่ ช่ ว ยลดภาระค่ า ใช้ จ่ า ย ของผู้มีรายได้ น้อยในประเทศจะเป็ นส่วนเพิ่มเติมในการสนับสนุนการ รู ปที่ 6 องค์ ประกอบของการส่ งออกของไทยแสดงถึงการ บริ โภคในประเทศด้ วย ิ ้ ปรั บเปลี่ยนไปสู่สนค้ าที่มีระดับราคาที่เพิ่มมากขึน Percent Change in Export Prices: Oct-Dec 2010 vs. Oct-Dec 2009 การปรั บตัวในการส่ งออกของไทยจะช่ วยลดแรงกดดันจากราคา น้ ำมันที่สูง และการขยายตัวในอัตราที่ต่ำของประเทศที่มีความ 20.0 ก้ าวหน้ าทางเศรษฐกิจ ่ สินค้ าส่งออกของไทยได้ มีการเปลียน 18.0 แปลงตังแต่ปี 2550 ไปสูสนค้ าที่มีราคาส่งออกเพิ่มขึ ้นในช่วงที่ผานมา ้ ่ิ ่ 16.0 Agriculture ่ ่ ู่ ซึงได้ ชวยบรรเทาผลกระทบของราคาน้ ำมันที่เพิ่มขึ ้น การที่ผ้ สงออก 14.0 Products สินค้ าเหล่านี ้สามารถเพิ่มราคาสินค้ าส่งออกได้ เนื่องจากตลาดส่งออก Textiles, 12.0 หลักของสินค้ าเหล่านี ้เป็ นตลาดเกิดใหม่ที่มีอตราการขยายตัวในระดับ ั Garments, Leatherware 10.0 ่ สูง เช่น ประเทศจีนซึงเป็ นประเทศที่ไทยส่งออกสินค้ าปิ โตรเคมีมากที่ , Footware, 8.0 Petrochemic als ้ สุ ด การปรั บ ตั ว ของภาคการส่ ง ออกของไทยทั ง ในประเภทสิ น ค้ า Furniture 6.0 และตลาดส่ ง ออกทำให้ การส่ ง ออกของไทยยั ง มี แ นวโน้ มที่ ส ดใส 4.0 Automotive Cement and ้ อย่างไรก็ตาม สินค้ าประเภทอิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ ไฟฟายังคง Base Metal 2.0 เป็ นสินค้ าส่งออกอันดับต้ น ๆ ของไทยโดยที่ตลาดส่งออกหลักอยูที่ ่ E&E Products 0.0 ประเทศที่มีความก้ าวหน้ าทางเศรษฐกิจ นอกจากนี ้ เหตุการณ์แผ่นดิน -4.0 -3.0 -2.0 -1.0 0.0 1.0 2.0 3.0 ุ่ ไหวในญี่ปนจะคงส่งผลกระทบผลต่อการส่งออกของไทยผ่านกระบวน Change in weight of product group in export basket ุ ่ การห่วงโซ่อปทานอย่างหลีกเลียงไม่ได้ (percentage points) ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย และการคำนวนโดยเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก 3<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ แต่ ร ะดั บ ราคาต่ า งๆที่ สู ง ขึ น ก็ เ พิ่ม ความเสี่ ย งต่ อ แนวโน้ ม ของ รู ปที่ 7 ราคาอาหารที่สูงขึนส่ งผลให้ ความยากจนในประเทศ ้ ่ ั เศรษฐกิจไทยในปี 2554 ปั จจัยเสียงที่สำคัญก็คือราคาน้ ำมันที่ยงคง ไทยเพิ่มขึนในปี 2551 ้ ปรับตัวสูงขึ ้นเรื่ อยๆ ู ราคานํ ้ามันที่สงขึ ้นนี ้อาจทำให้ เศรษฐกิจของ ประเทศที่ พัฒ นาแล้ ว ซึ่ง ได้ ฟื้น ตัว จากวิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ แต่ยัง มี ค วาม Year-on-Year Growth Rate (percent) เปราะบางเกิดการชะลอตัวลงได้ อีก อันจะส่งผลให้ ความต้ องการนำเข้ า 15.0 สินค้ าของประเทศเหล่านี ้ลดลงตามมา ในขณะเดียวกันอุปสงค์ภายใน ประเทศไทยก็อาจลดลงด้ วย เนื่องจากครัวเรื อนจะต้ องนำรายได้ ใน 10.0 สัดส่วนที่มากขึ ้นมาใช้ ในการซื ้อน้ ำมันเชื ้อเพลิง ในขณะที่รายได้ ้ เกษตรกรที่ เ พิ่ ม มากขึน ก็ ถูก หัก ล้ า งด้ ว ยราคาค่า ครองชี พ และราคา 5.0 ู ปั จจัยการผลิตที่สงขึ ้น. 0.0 การดำเนินมาตรการการคลังและการเงินของประเทศจะต้ องทำ อย่ างมีจังหวะที่เหมาะสมในสภาวะเศรษฐกิจที่มีความเสี่ยงสูง Number of Poor -5.0 ั ่ เช่ นนี้ ในปั จจุบนเศรษฐกิจไทยกำลังกลับเข้ าสูการเติบโตในระดับเดียว Consumption Growth กับที่เคยมีมาก่อนการเกิดวิกฤษเศรษฐกิจโลก จึงเป็ นเรื่ องปรกติที่ Poverty Line ่ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจต่างๆจะค่อยๆ ถูกยกเลิก ซึงรัฐบาลก็ได้ สง ่ -10.0 Food Prices สัญญาณแล้ วว่ากำลังดำเนินการไปในทิศทางเช่นนัน ้ การดำเนิน การของรั ฐบาลอาจจะเป็ นแบบค่อยเป็ นค่อยไปเนื่องจากทิศทางของ -15.0 2006 2007 2008 2009 ้ นโยบายนันมีความสำคัญมากกว่าการนำนโยบายกลับสู่ระดับปรกติ ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ ิ ที่มา : สำนักงานสถิตแห่งชาติ กระทรวงพาณิชย์ และการคำนวนโดยเจ้ าหน้ าที่ของ ธนาคารโลก ้ ในระยะสัน นโยบายของรั ฐควรเปลี่ยนจากการให้ เงินอุดหนุน ้ แบบวงกว้ า งสู่ ก ารให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ แบบมี เ ป าหมายชั ด เจน รู ปที่ 8 การบริโภคนํามันเชือเพลิงในประเทศไทยสูงกว่ า ้ ้ เฉพาะกลุ่ม วิกฤติราคาอาหารเมื่อปี 2551 ได้ ทำให้ ความยากจนเพิ่ม อัตราเฉลี่ยของประเทศอื่น ทำให้ ความผันผวนในราคา ้ ้ สูงขึ ้นในประเทศไทยเป็ นครังแรกนับตังแต่ปี 2540 (รูปที่ 7) ซึงแสดง ่ ้ ให้ เ ห็ น ว่ า ราคาอาหารที่ สูง ขึ น นัน ได้ ส่ ง ผลกระทบต่ อ กลุ่ม คนที่ ย าก นํามันส่ งผลกระทบต่ อประเทศอย่ างมาก ้ ้ ุ จนที่สดในสังคม และระดับราคาต่าง ๆ ที่เพิ่มขึ ้นในขณะนี ้จึงมีผลต่อ Oil Intensity (consumption tons per $1 million of real GDP in 2005 USD) ั ครอบครัวผู้มีรายได้ น้อยเช่นเดียวกัน ในปั จจุบน รัฐบาลเน้ นให้ การ Log of GDP per capita in constant 2005 US dollars อุดหนุนต่อผู้ใช้ นํ ้ามันดีเซล แต่มาตรการอุดหนุนเช่นนี ้มิได้ มีเปา้ หมายเฉพาะกลุม ่ และอาจก่อสร้ างแรงจูงใจในทางลบต่อการใช้ 400 Singapore ่ พลังงานเชื ้อเพลิงอย่างประหยัด มาตรการที่ชวยเหลือแบบมีเปาหมาย ้ 350 ชัดเจนเฉพาะกลุ่มจะช่วยลดภาระทางการคลังและเข้ าถึงผู้ต้องการ 300 ความช่วยเหลือจากรัฐมากที่สดได้ ดีกว่า ุ 250 Thailand Indonesia ในระยะยาว ประเทศไทยควรจะเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ พลังงาน 200 เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาน้ ำมันโลกเศรษฐกิจ Pakistan India Malaysia ั ่ ไทยในปั จจุบนพึงพาน้ ำมันเป็ นอันดับต้ นๆ ของภูมิภาค (รูปที่ 8) 150 China Australia เนื่องจากการขยายตัวของภาคการผลิตที่ใช้ พลังงานสูง และการ 100 Philippines ขนส่งสินค้ าโดยใช้ รถบรรทุกเป็ นหลักประเทศไทยสามารถลดความเสียง ่ Bangladesh Korea 50 จากราคาน้ ำมันโลกได้ โดยการยกระดับมาตรฐานของประสิทธิ ภาพ Japan ในการใช้ น้ำมันเชื ้อเพลิงให้ สง นอกจากนัน ควรมีการให้ แรงจูงใจทาง ู ้ 0 ่ ภาษี ตอการประหยัดพลังงาน และเพิ่มการขนส่งสินค้ าโดยทางรถไฟ 7 8 9 10 11 ที่มา : BP Oil ธนาคารโลก และการคำนวนโดยเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก 4<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 บทที่ 2 ภาพรวมทางเศรษฐกิจมหภาค ระบบเศรษฐกิจกลับมาเร่ งขยายตัวในไตรมาส 4 ของปี พ.ศ. 2553 และคาดว่ าแนวโน้ มเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2554 จะยังคงขยายตัวอย่ างต่ อเนื่อง ระบบเศรษฐกิจไทยผ่านพ้ นปี พ.ศ. 2553 ไปโดยมีการขยายตัวอย่างแข็งแกร่ง อันเป็ นผลมาจากภาคการ ผลิตที่ไม่สามารถส่งออกได้ และอุปสงค์ภายในประเทศเป็ นสำคัญ (ตารางที่9) โดย GDP มีการขยายตัวร้ อยละ 4.8 เทียบกับไตรมาสก่อนหน้ า ่ ้ (ปรับผลของฤดูกาลแล้ ว) ซึงเป็ นการขยายตัวหลังจากที่เศรษฐกิจมีการหดตัว 2 ไตรมาสติดต่อกัน ทังนี ้ ในปี พ.ศ. 2553 ทังปี GDP ้ ั มีการขยายตัวเท่ากับร้ อยละ 7.8 (เทียบกับปี ก่อนหน้ า) อย่างไรก็ตาม สำหรับปี พ.ศ. 2554 คาดว่า จะมีอตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเท่ากับ ้ ร้ อยละ 3.7 เนื่องจากการกลับมาขยายตัวของเศรษฐกิจในช่วงปลายปี พ.ศ. 2553 ทำให้ ฐาน GDP ค่อนข้ างสูง ทังนี ้ อัตราการขยายตัวทาง ั ่ เศรษฐกิจรายไตรมาสคาดว่าจะขยายตัวในอัตราเร่งจากเดิมที่มีอตราการขยายตัวเฉลียร้ อยละ 0.6 ระหว่างไตรมาสที่ 2 ถึงไตรมาสที่ 4 ปี พ.ศ. 2553 ่ ้ ้ มาเป็ นขยายตัวเฉลียร้ อยละ 4.9 ต่อไตรมาสในปี พ.ศ. 2554 อย่างไรก็ตาม ทังๆ ที่มีแรงกระตุ้นทังจากอุปสงค์ภายในประเทศและอุปสงค์ภายใน ั ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เศรษฐกิจของไทยก็ยงคงไม่สามารถกลับมาเติบโตตามศักยภาพได้ เนื่องจากระบบเศรษฐกิจไทยมีการเชื่อมโยงค่อนข้ าง มากกับเศรษฐกิจของกลุมประเทศพัฒนาแล้ ว ทังนี ้ คาดว่าเศรษฐกิจของกลุมประเทศพัฒนาแล้ วในปี พ.ศ. 2554 จะยังคงเปราะบางอยู่ ่ ้ ่ (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2553-2555 (ร้ อยละ เทียบกับปี ที่ผ่านมา) สัดส่ วนใน 2553 2554 2554 2555 ไตร ไตร GDP พ.ศ. ไตรมาส มาสที่ 2 มาสที่ 3 ไตรมาส 2553 ปี ที่ 1 p p p ที่ 4 p ปี p ปี p การบริ โภค 61.7 5.0 4.2 5.3 2.7 4.1 4.1 4.5 ภาคเอกชน 51.7 4.8 4.3 5.3 2.4 4.3 4.1 4.6 ภาครัฐ 10.0 6.0 3.5 5.1 4.0 3.0 3.9 4.0 ิ การลงทุนในทรัพย์สนถาวร 20.9 9.4 4.4 4.4 5.4 6.0 5.0 6.4 ภาครัฐ 5.2 -2.2 3.0 5.0 5.0 5.5 4.7 7.5 ภาคเอกชน 15.8 13.8 4.8 4.2 5.5 6.1 5.1 6.0 อุปสงค์ภายในประเทศ 83.5 10.3 2.7 7.5 1.9 3.1 3.8 5.1 การส่งออก 69.5 14.7 5.9 3.4 8.9 9.7 7.0 7.4 สินค้ า 57.3 17.3 6.4 2.1 9.8 10.6 7.3 7.5 บริ การ 12.2 3.9 4.0 12.0 4.0 6.0 6.1 7.0 การนำเข้ า 52.9 21.5 9.0 10.0 5.4 8.4 8.1 8.8 สินค้ า 43.8 26.5 10.0 11.3 5.9 9.3 9.0 9.5 บริ การ 9.1 1.9 4.5 4.0 3.0 4.0 3.9 5.5 อุปสงค์จากต่างประเทศสุทธิ 16.5 -2.7 -2.2 -18.1 22.3 14.0 3.5 2.6 แบ่ งตามภาคเศรษฐกิจ: ภาคเกษตร 8.3 -2.2 3.0 2.0 4.0 4.0 3.3 2.5 ภาคอุสาหกรรม 43.0 12.8 1.0 2.6 4.2 4.5 3.1 5.7 ภาคบริ การ 48.7 4.6 2.5 4.5 5.5 5.5 4.5 4.0 GDP 100.0 7.8 1.8 3.4 4.8 4.9 3.7 4.7 ที่มา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และการคำนวณของธนาคารโลก หมายเหตุ p หมายถึงเป็ นข้ อมูลประมาณการของธนาคารโลก 5<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 9.ภาคการผลิตที่ไม่ สามารถส่ งออกได้ เป็ นปั จจัยสำคัญในการกระตุ้นการขยายตัวของเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 4 ในขณะที่ปริมาณผลผลิตภาคอุตสาหกรรมค่ อนข้ างทรงตัวอย่ างมีเสถียรภาพ Annual rate of change based on quarterly figures adjusted for inflation and seasonal fluctuations (percent per year) 20.0 15.4 14.6 15.0 9.6 8.7 10.0 5.2 5.0 4.8 0.7 0.0 -1.3 -1.5 -5.0 -1.5 Contribution of Non-Tradable -10.0 Sectors (54 percent of 201 GDP) -7.9 Contribution of Tradable Services -15.0 (5 percent of 2010 GDP) Contribution of Manufacturing (41 -20.0 -18.5 percent of 2010 GDP) Overall GDP Growth -25.0 2008Q1 2008Q3 2009Q1 2009Q3 2010Q1 2010Q3 ที่มา สศช. และการคำนวณของธนาคารโลก 2.1 การผลิต หลังจากที่เศรษฐกิจไทยต้ องเผชิญกับความผันผวนทางเศรษฐกิจอย่ างรุ นแรงที่มาพร้ อมกับช่ วงวิกฤติเศรษฐกิจและช่ วงการเร่ งฟื ้ น ตัวหลังวิกฤติ การผลิตในภาคการผลิตที่เน้ นการส่ งออกเริ่มกลับมามีเสถียรภาพในไตรมาสที่ 2 เป็ นต้ นมา ภาคการผลิตที่เชื่อมโยงกับอุป สงค์จากภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตในภาคอุตสาหกรรม เป็ นปั จจัยหลักที่ก่อให้ เกิดความผันผวนในกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ ้นใน ช่วง 6 ไตรมาสแห่งภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ (มีบทบาทประมาณร้ อยละ 80 ของความผันผวนที่เกิดขึ ้น) ในขณะที่ภาคเศรษฐกิจดังกล่าวสามารถ ่ อธิบายการเปลียนแปลงของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 ได้ เพียงร้ อยละ 34 เท่านัน ทังนี ้ เนื่องจากภาคการผลิต ้ ้ ้ ้ เพื่อการส่งออกได้ เริ่ มกลับมาเป็ นตัวกระตุ้นกิจกรรมทางเศรษฐกิจอีกครัง (รูปที่ 9 และ 10) ทังนี ้ ผลผลิตในภาคอุตสาหกรรมค่อนข้ างทรงตัวใน ไตรมาสที่ 4หลังจากผ่านพ้ นช่วงเวลาของวัฏจักรการสะสมสินค้ าคงคลังอันเกิดจากการเร่งฟื นตัวหลังวิกฤติซึงเป็ นช่วงทีการผลิตเพิมขึ ้นจากช่วงเวลา ้ ่ ่ ่ ึ ้ ้ ั ปกติถงร้ อยละ 4 ทังนี การผลิตภาคอุตสาหกรรมค่อนข้ างมีความอ่อนไหวต่อภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่พฒนาแล้ ว อย่างไรก็ตาม ความแข็งแกร่ง ึ่ ของภาคอุตสาหกรรมยานยนต์และปิ โตรเคมีซงเน้ นการผลิตเพื่อตอบสนองตลาดภายในประเทศและภูมิภาคเอเชียตะวันออก จะเป็ นตัวช่วยสนับ ้ สนุนการกลับมาขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมอีกครังในปี พ.ศ. 2554 รู ปที่ 10 การขยายตัวในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 รู ปที่ 11 ภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ ยังคงขยายตัวอย่ างต่ อ นำโดยภาคการผลิตที่ไม่ สามารถส่ งออกได้ ้ เนื่อง ถึงแม้ ว่าภาคอุตสาหกรรมชินส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ เริ่ม GDP adjusted for inflation and seasonal fluctuations (THB billions) ชะลอตัวลง 700 1,200 Production Index by Sector (March 2008=100) 125 650 115 1,150 105 600 1,100 95 550 85 1,050 500 Automotive 75 Tradable Sectors 1,000 65 E&E 450 Non-tradable Sectors GDP (right axis) 55 400 950 45 2008 JUL 2009 JUL 2010 JUL JAN JAN JAN ที่มา สศช. และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและการคำนวณของธนาคารโลก 6<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ ขณะที่อุตสาหกรรมชินส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ หยุดชะงัก อุตสาหกรรมยานยนต์ กลับเป็ นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2553 ุ กล่าวถึงเฉพาะภาคอุตสาหกรรม การผลิตในภาคอุตสาหกรรมชิ ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เริ่ มทรงตัว ในขณะที่อตสาหกรรมยานยนต์มีการขยายตัวสูง กว่าปกติ (รูปที่ 11) การผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์ในปี พ.ศ. 2553 มีการขยายตัวถึงร้ อยละ 64.6 โดยมีสาเหตุมาจากอุปสงค์ที่แข็งแกร่งจาก ภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยคาดว่า ปริ มาณการผลิตรถยนต์ในปี พ.ศ. 2554 จะเท่ากับ 1.8 ล้ านคัน ่ ้ (ขยายตัวจากปี ที่ผานมาร้ อยละ 9.4) ทังนี ้ จะมีการกระจายการผลิตในรถยนต์หลายๆ ประเภทและหลายๆ รุ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งรถยนต์โดย ่ สารขนาดเล็กที่ขณะนี ้มีสวนแบ่งตลาดเหนือรถปิ คอัพ โดยผู้ผลิตมีแนวโน้ มที่จะทำการผลิตรถยนต์ประเภทนี ้ในลักษณะของรถยนต์สำเร็ จรูป (CBU) กล่าวคือ ทำการผลิตชิ ้นส่วนและประกอบรถยนต์ภายในประเทศ ไม่ใช่นำเข้ าชิ ้นส่วนจากต่างประเทศแล้ วมาประกอบในประเทศไทย ่ ่ นอกจากนี ้ ภาคเอกชนยังมีการคาดการณ์วา การผลิตรถยนต์จะเพิ่มขึ ้นเป็ น 3 ล้ านหน่วยต่อปี ในปี พ.ศ. 2557 นันหมายความว่านับจากนี ้จะต้ อง ้ ้ มีการลงทุนใหม่เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตรถยนต์อีก 1 ล้ านคัน ทังนี ้ ส่วนแบ่งตลาดของรถยนต์โดยสารขนาดเล็กที่เพิ่มขึ ้นนัน แสดงให้ เห็นว่า ู ู ประเทศไทยมีมลค่าเพิ่มจากการผลิตสินค้ าประเภทยานยนต์ที่สงขึ ้น ่ ั ถึงแม้ วาการถ่ายโอนงานทางด้ านการวิจยและออกแบบในอุตสาหกรรม ยานยนต์มายังผู้ประกอบการไทยจะเป็ นไปอย่างจำกัด ้ ภาคบริการเติบโตอย่ างแข็งแกร่ งในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 โดยเป็ นการขยายตัวที่เกิดจากทังภาคบริการ ไม่ กระจุกตัวอยู่ใน อุตสาหกรรมใดโดยเฉพาะ ภาคบริ การขยายตัวราวๆ ร้ อยละ 10 (ปรับผลทางฤดูกาลแล้ ว) โดยเป็ นการขยายตัวของหลายๆ ภาคอุตสาหกรรมบริ การ สำหรับภาคอุตสาหกรรมบริ การที่เชื่อมโยงกับอุปสงค์ภายนอก (เช่น การคมนาคม การสือสาร และการโรงแรม) ่ ้ เริ่ มมีการเร่งฟื นตัวหลังจากหดตัวในช่วงวิกฤติการเมืองในไตรมาสที่ 2 โดยมีการขยายตัวร้ อยละ 12.8 (รูปที่ 12) ในขณะที่ภาคอุตสาห ุ ้ กรรมบริ การที่เน้ นตลาดในประเทศมีผลประกอบการที่ดีที่สดนับตังแต่ปี พ.ศ. 2548 โดยขยายตัวถึงร้ อยละ 8.7 ในไตรมาสสุดท้ ายของปี ้ พ.ศ. 2553 ทังนี ้ มีภาคอุตสาหกรรมบริ การ 3 ภาคที่มีการขยายตัวอย่างมาก กล่าวคือ ภาคบริ การทางการเงิน (ขยายตัวร้ อยละ 18 ั ตามการขยายตัวของสินเชื่อในระบบ) การบริ การภาครัฐ (ขยายตัวร้ อยละ 24) และภาคการค้ าปลีก (ขยายตัวเพียงร้ อยละ 5 แต่มีสดส่วนใน ้ ้ GDP ค่อนข้ างสูง) ทังนี ้ การท่องเที่ยวเริ่ มฟื นตัวและอุปสงค์ภายในประเทศที่แข็งแกร่ง ทำให้ คาดว่าภาคการบริ การในปี พ.ศ. 2554 ั ่ จะมีอตราการขยายตัวที่นาพอใจ อย่างไรก็ตาม หากปราศจากการปรับโครงสร้ างในภาคการบริ การ การขยายตัวของภาคนี ้ก็จะยังคงอยูที่ ่ ่ ประมาณร้ อยละ 3.9 ซึงเป็ นอัตราการขยายตัวโดยเฉลียในอดีต ่ รู ปที่ 12 ภาคการบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่ องเที่ยวยังคงขยาย ิ ้ รู ปที่ 13 สถิตบ่งชีว่าภาคการก่ อสร้ างเริ่มมีการฟื ้ นตัวใน ตัวไปพร้ อมๆ กับรายรั บจากนักท่ องเที่ยวที่สูงขึน้ ไตรมาสที่ 4 Year-on-year growth rate (percent) Number of new residences Year-on-year growth rates (percent) 40.0 Hotels and Restaurants 16,000 6.0 Transport, storage and Communication 14,000 5.0 30.0 4.0 Travel and Transport Receipts 12,000 3.0 20.0 10,000 2.0 10.0 8,000 1.0 6,000 0.0 0.0 -1.0 4,000 -2.0 -10.0 2,000 -3.0 0 -4.0 -20.0 -30.0 New Housing in Bangkok Metropolis and Vicinity (unit) of which Apartment and Condominium 6/ Land Transactions Nationwide (%YoY) ที่มา สศช. และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทยและการคำนวณของธนาคารโลก ภาคการก่ อสร้ างกลับมาขยายตัวในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 มาตรการลดหย่อนภาษี และอัตราดอกเบี ้ยที่ตํ่ามีผลให้ ผลผลิตจากภาค การก่อสร้ างในไตรมาสที่ 2 ขยายตัวร้ อยละ 16 (ปรับผลของฤดูกาลแล้ ว)และตามมาด้ วยการหดตัวในไตรมาสที่ 3 เมื่อมาตรการสิทธิประโยชน์ทาง ภาษี หมดอายุลงในเดือนพฤษภาคม อย่างไรก็ตาม ภาคการก่อสร้ างได้ เริ่ มกลับมาขยายตัวอย่างแข็งแกร่งอีกครังในไตรมาสที่ 4 โดยขยายตัวร้ อยละ ้ 12 โดยได้ รับแรงกระตุ้นจากอุปสงค์ในภาคอสังหาริ มทรัพย์และการลงทุนภาครัฐในโครงการขนาดใหญ่ อันรวมถึงโครงการรถไฟฟาขนส่งมวลชน ้ ่ ่ (สายสีมวงและสีแดง) และโครงการย่อยต่างๆ ภายใต้ โครงการไทยเข้ มแข็ง อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ วาภาคการก่อสร้ างจะมีการขยายตัวโดยรวมเท่า ั ่ กับร้ อยละ 7 ในปี พ.ศ. 2553 ผลผลิตจากภาคการก่อสร้ างที่แท้ จริ งก็ยงคงมีระดับที่ตำกว่าผลผลิตในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2550 ซี่งเป็ นช่วงที่ ่ ่ ่ เศรษฐกิจเริ่ มเข้ าสูภาวะขาลง และคิดเป็ นเพียงครึ่งหนึงของระดับผลผลิตในปี พ.ศ. 2539 ซึงเป็ นช่วงเศรษฐกิจฟองสบู่ ทังนี ้ สถิตบงชี ้ว่าภาคการ ้ ิ ่ 7<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ั ่ ุ่ ก่อสร้ างจะมีแนวโน้ มที่ดีในปี พ.ศ. 2554 (รูปที่ 13) นอกจากนี ้ อัตราดอกเบี ้ยที่ยงคงอยูในระดับต่ำน่าจะเป็ นปั จจัยสนับสนุนภาคการก่อสร้ างที่มง ่ ้ เน้ นตลาดผู้บริ โภคระดับกลางที่ต้องการซื ้ออาคารชุดห้ องเล็กๆ ที่อยูตามแนวรางรถไฟฟา/รถไฟใต้ ดน อนึง ความเสียงสำหรับภาคการก่อสร้ างในปี ิ ่ ่ ิ ู ้ ่ พ.ศ. 2554 คือ ราคาวัตถุดบที่สงขึ ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปูนซีเมนต์ เหล็ก และอุปกรณ์เครื่ องจักรและไฟฟา (ซึงเป็ นผลมาจากการที่ ราคาแร่ทองแดงสูงขึ ้น) ภาคเกษตรกรรมหดตัวอย่ างรุ นแรงในไตรมาสที่ 3 และที่ 4 เนื่องจากเกิดน้ ำท่ วมในหลายๆ พืนที่ท่ วประเทศ ในช่วงครึ่งแรกของปี พ.ศ. 2553 ้ ั ุ ่ ประเทศไทยเผชิญภาวะฝนแล้ งที่ร้ายแรงที่สดในรอบ 20 ปี ซึงมีผลครอบคลุมพื ้นที่ 235 ตารางกิโลเมตรใน 53 จังหวัด อย่างไรก็ตาม ด้ วยระบบ ชลประทานที่ดีและช่วงเวลาที่เกิดฝนแล้ งไม่ใช่ฤดูการผลิต ทำให้ การลดลงของผลผลิตทางการเกษตรมีไม่มากนัก ทว่า ในช่วงครึ่งหลังของปี พ.ศ. 2553 เกิดน้ ำท่วมในหลายๆ พื ้นที่ ทำให้ การผลิตข้ าวของไทยลดลงราวร้ อยละ 15-20 (รูปที่ 14) อย่างไรก็ตาม รายได้ ของเกษตรกรไม่ได้ รับผล ่ ู กระทบมากนักและยังคงอยูในระดับสูง เนื่องจากราคาผลผลิตทางการเกษตรที่สงขึ ้น และในขณะที่ปริ มาณผลผลิตทางการเกษตรที่แท้ จริ งหดตัว ่ ลงร้ อยละ 3 มูลค่าผลผลิตทางการเกษตรกลับสูงขึ ้นร้ อยละ 23 นอกจากนี ้ แม้ วาภาวะน้ ำท่วมจะก่อให้ เกิดความเสียหายต่อพื ้นที่เพาะปลูก แต่พื ้น ที่เพาะปลูกก็จะมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มขึ ้นหลังจากน้ ำลดแล้ ว ซึงจะส่งผลดีตอภาคเกษตรกรรมในปี พ.ศ. 2554 อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยมีแนว ่ ่ ่ ้ โน้ มต้ องเผชิญกับภาวะน้ ำท่วมที่เกิดขึ ้นซ้ ำๆ ตลอดเวลา ซึงขณะนี ้ในพื ้นที่ภาคใต้ ของประเทศไทยก็เผชิญกับภาวะน้ ำท่วมอยู่ และกรมปองกันและ บรรเทาสาธารณภัยได้ ประกาศว่ามี 45 จังหวัดที่สมเสียงต่อการเป็ นพื ้นที่แห้ งแล้ ง ซึงครอบคลุมพื ้นที่ประมาณ 1.7 ล้ านไร่ (2720 ตารางกิโลเมตร) ุ่ ่ ่ รู ปที่ 14 ผลผลิตของสินค้ าเกษตรหลักๆ หดตัวลงในช่ วงครึ่งหลังของปี พ.ศ. ้ 2553 โดยเป็ นผลมาจากภาวะน้ ำท่ วมในหลายๆ พืนที่ Annual rate of change, 12-month moving average (percent per year) 15.0 Rice 10.0 Palm Oil Rubber 5.0 Crop Production 0.0 -5.0 -10.0 -15.0 ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทยและการคำนวณของธนาคารโลก 2.2 อุปสงค์ จากต่ างประเทศ ี ึ้ อุปสงค์ จากต่ างประเทศเริ่มมีการขยายตัวเล็กน้ อยในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 และคาดว่ ามีแนวโน้ มที่ดขนในปี พ.ศ. 2554 ั ้ ปริ มาณการส่งออกสินค้ าเกษตรและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีที่ยงคงแข็งแกร่ง ประกอบกับการท่องเที่ยวที่เริ่ มฟื นตัว ช่วยชดเชยภาวะชะงักงันของ ู การผลิตและส่งออกของภาคอุตสาหกรรมชิ ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และทำให้ มลค่าเพิ่มของสินค้ าและบริ การส่งออกของไทยสูงขึ ้นราวๆ ร้ อยละ 1 ้ ู ้ ในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 ทังๆ ที่มลค่าเพิ่มของสินค้ าและบริ การส่งออกนันมีการหดตัวมาโดยตลอดช่วงสองไตรมาสก่อนหน้ า (ไตรมา สแรกเกิดจากการท่องเที่ยงที่ชะงักในช่วงวิกฤติการเมือง และไตรมาสที่ 2 เกิดจากวัฏจักรการสะสมสินค้ าคงคลังที่ชะลอตัวลง) ทังนี ้ อุปสงค์จาก ้ ่ ุ ั ประเทศกำลังพัฒนาที่มีตอสินค้ าและบริ การของไทยเริ่ มทวีความสำคัญขึ ้น ในขณะที่อปสงค์จากประเทศที่พฒนาแล้ วมีความสำคัญลดลงโดย เปรี ยบเทียบ อย่างไรก็ตาม การที่ประเทศกำลังพัฒนาเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะเงินเฟอและมีการใช้ นโยบายทางการเงินเพื่อลดแรงกดดัน ้ ้ ุ ั ้ ด้ านเงินเฟอ ทำให้ อปสงค์จากประเทศกำลังพัฒนาลดความร้ อนแรงลง ในขณะที่เศรษฐกิจของประเทศที่พฒนาแล้ วมีการฟื นตัวอย่างต่อเนื่องและ ่ ั มันคง (ถึงแม้ จะเกิดเหตุการณ์ภยธรรมชาติที่รุนแรงในประเทศญี่ปนก็ตาม) ทำให้ อปสงค์จากภายนอกยังคงเป็ นแรงขับเคลือนให้ การส่งออกสินค้ า ุ่ ุ ่ ั ่ ่ และบริ การของไทยขยายตัวในปี พ.ศ. 2554 นี ้ (ถึงแม้ จะมีอตราการขยายตัวในระดับที่ตำกว่าค่าเฉลียก็ตาม) 8<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 2.2.1 สถานการณ์ เศรษฐกิจโลก ้ การฟื ้ นตัวของเศรษฐกิจประเทศพัฒนาแล้ วเป็ นไปตามที่คาด (ตารางที่ 2) การฟื นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริ กาส่งผลให้ สถานการณ์ ้ ้ ในตลาดแรงงานเริ่ มดีขึ ้น อัตราการว่างงานลดลงต่ำกว่าร้ อยละ 9 เป็ นครังแรกในรอบ 2 ปี ถ้ าการฟื นตัวนี ้ยังคงดำเนินต่อไปภายใต้ นโยบายการ ู ้ ่ ่ ุ คลังที่มีความเข้ มงวดและราคาน้ ำมันที่สงขึ ้น ถือว่าการฟื นตัวของเศรษฐกิจนี ้เข้ าสูระยะยังยืนโดยการจ้ างงานเป็ นแรงกระตุ้นให้ อปสงค์ภายใน ประเทศมีการขยายตัว นอกจากนี ้ การประชุมสุดยอดผู้นำยุโรปเพื่อพิจารณาขยายเงินทุนของกองทุนรักษาเสถียรภาพทางการเงินแห่งยุโรปก็ ได้ รับการตอบรับอย่างดี อย่างไรก็ตาม วิกฤติทางการเมืองที่เกิดขึ ้นที่โปรตุเกสส่งผลให้ อตราผลตอบแทนพันธบัตรในประเทศยุโรปใต้ สงขึ ้นอีก ั ู ้ ่ ้ ่ ่ ครังหนึง ทังนี ้ โดยรวมแล้ ว อุปสงค์ที่มีตอสินค้ านำเข้ าและดัชนีชี ้นำภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริ กาและยุโรปล้ วนแล้ วแต่บงชี ้ถึงสถานการณทาง ่ ั เศรษฐกิจที่ดีขึ ้น และไม่นาจะเป็ นตัวถ่วงการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยอย่างที่กงวลในตอนแรก (รูปที่ 15) นอกจากนี ้ ดัชนีชี ้นำภาวะเศรษฐกิจ ุ่ ของประเทศญี่ปนยังบ่งบอกถึงเศรษฐกิจที่ขยายตัวก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวและ ้ สึนามิครังล่าสุดซึงสร้ างความเสียหายต่อประเทศ ่ ุ่ ้ ญี่ปน ทำลายโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร์ และทำลายชีวิตหลายพันชีวิต การรั่วไหลของสารกัมมันตภาพรังสีและระบบเศรษฐกิจที่ถกกระทบ ู กระเทือนจากเหตุการณ์ในครังนี ้ ้ ั ุ คาดว่าจะส่งผลกระทบอย่างมีนยสำคัญต่อประเทศไทยผ่านทางห่วงโซ่อปทานการผลิตในภาคอุตสาหกรรม ยานยนต์แบะชิ ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (ดูกรอบที่ 1 สำหรับรายละเอียด) ตารางที่ 2 การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกเป็ นไปตามแบบแผนปกติแนวใหม่ ที่เศรษฐกิจโลกมีความผันผวนน้ อยลง แต่ อัตราการ ั ขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศที่พฒนาแล้ วก็ลดตํ่าลงเช่ นเดียวกัน 2541-2550 2551 2552 2553e 2554f 2554f 2555f เดิม 1/ ใหม่ สถานการณ์ ของโลก ปริมาณการค้ าระหว่ างประเทศ (GNFS) 9.1 2.7 -11.0 15.7 6.8 8.3 9.6 ดัชนีราคาผู้บริโภค ่ กลุมประเทศ G-7 … 3.1 -0.2 1.3 1.6 1.1 1.6 สหรัฐอเมริ กา 2.7 3.8 -0.4 1.9 2.2 1.5 2.0 ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ (ดอลล่ าร์ สหรั ฐอเมริกา) สินค้ าโภคภัณฑ์ที่ไม่ใช่น้ำมัน 21.0 -21.6 26.6 -4.0 -0.1 -4.3 ราคาน้ ำมัน (ดอลล่ าร์ สหรั ฐอเมริกาต่ อบาเรล) 97.0 61.8 79.0 74.6 85.0 80.4 ราคาน้ ำมัน (อัตราการเปลียนแปลง) ่ 36.4 -36.3 28.0 -4.5 7.6 -5.4 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ประเทศที่มีรายได้ สูง 2.6 0.2 -3.4 2.8 2.4 2.4 2.7 ่ กลุมประเทศ OECD 2.5 0.1 -3.5 2.7 2.3 2.3 2.6 ประเทศในทวีปยุโรป 2.3 0.3 -4.1 1.7 1.3 1.4 2.0 ญี่ปน ุ่ 1.2 -1.2 -6.3 4.4 2.1 1.8 2.0 สหรัฐอเมริ กา 2.9 0.0 -2.6 2.8 2.9 2.8 2.9 ประเทศอื่นๆ นอกเหนือจาก OECD 4.5 2.5 -1.8 6.7 4.2 4.4 4.8 ประเทศกำลังพัฒนา 5.5 5.7 2.0 7.0 6.0 6.0 6.1 เอเชียตะวันออกและแปซิฟิก 8.1 8.5 7.4 9.3 7.8 8.0 7.8 ประเทศกำลังพัฒนา ยกเว้ นจีนและอินเดีย 4.2 -1.8 5.2 4.4 4.3 4.5 ้ ุ ที่มา World Bank Global Economic Prospects (GEP) ฉบับเดือนมกราคม 2554 และ World Development Indicators ทังนี ้ ตัวเลขคาดการณ์เดิมได้ มาจาก GEP ฉบับเดือนมิถนายน ุ่ 2553 และตัวเลขคาดการณ์ไม่ได้ คำนึงถึงผลกระทบจากแผ่นดินไหวในประเทศญี่ปน 9<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 กรอบที่ 1 ผลกระทบของเหตุการณ์ แผ่ นดินไหวโตโฮกุในประเทศญี่ปุ่นที่มีต่อเศรษฐกิจไทย ้ ้ ุ ิ ุ่ ่ ึ เหตุการณ์แผ่นดินไหวโตโฮกุครังนี ้เป็ นครังที่ร้ายแรงที่สดในประวัตศาสตร์ ของประเทศญี่ปน ทำให้ เกิดคลืนยักษ์ สนามิที่สร้ างความเสียหายให้ ้ ู แก่โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร์ ในจังหวัดฟูกชิมาและเกิดการรั่วไหลของสารกัมมันตภาพรังสี ทังนี ้ ผลกระทบที่เกิดกับเศรษฐกิจและสังคมยังไม่ ้ ั ่ สามารถทราบได้ แน่ชด แต่ประมาณการความเสียหายอยูระหว่างร้ อยละ 2.5-4 ของ GDP มีประชาชนเกือบ 500,000 คนกลายเป็ นผู้ไร้ ที่อยูอาศัย ่ และผู้เสียชีวิตมีมากกว่า 15,000 คน โดยทัวไปแล้ ว ภัยพิบตทางธรรมชาติที่เกิดขึ ้นอย่างรุนแรง เช่น แผ่นดินไหวที่เมืองโกเบในปี พ.ศ. 2538 ผลกระทบที่เกิดขึ ้นต่อการดำเนินกิจกรรม ่ ัิ ้ ้ ทางเศรษฐกิจมักเป็ นไปอย่างจำกัดและเกิดขึ ้นในช่วงเวลาสันๆ ทว่า เหตุการณ์แผ่นดินไหวโตโฮกุในครังนี ้น่าจะส่งผลกระทบที่ยาวนานกว่าปกติ ้ เนื่องจากแหล่งพลังงานไฟฟาถูกทำลายเสียหาย ทำให้ ผลกระทบที่เกิดขึ ้นกระจายวงกว้ างนอกเหนือไปจากพื ้นที่ที่เกิดแผ่นดินไหวและคลืนยักษ์ ่ ้ ั ู ิ ั้ ถล่มโดยตรง ทังนี ้ โรงงานนิวเคลียร์ จงหวัดฟูกชิผลิตพลังงานนิวเคลียร์ คดเป็ นร้ อยละ 25 ของพลังงานนิวเคลียร์ ทงประเทศ และคิดเป็ นร้ อยละ 8 ้ ้ ุ่ ้ ของการผลิตกระแสไฟฟาทังหมดของประเทศญี่ปน โดย Tepco ได้ ประมาณการว่าขณะนี ้มีความต้ องการใช้ กระแสไฟฟา 41-42 กิโลวัตต์ตอนาที ่ ั ่ ่ ในขณะที่ศกยภาพการผลิตกระแสไฟฟ้ าเท่ากับเพียง 38.5 กิโลวัตต์ตอนาที การขาดแคลนกระแสไฟฟ้ านำไปสูมาตรการงดจ่ายกระแสไฟฟ้ าเป็ น ่ ้ ่ ช่วงๆ ในเขตโตเกียว ซึงมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจคิดเป็ นร้ อยละ 40 ของ GDP แม้ การงดจ่ายกระแสไฟฟาจะกินเวลาไม่เกิน 3 ชัวโมงต่อครัง ก็ ้ ้ เพียงพอที่จะก่อให้ เกิดความเสียหายต่อการผลิตภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากการไม่มีพลังงานไฟฟาใช้ อย่างต่อเนื่อง ทำให้ จำเป็ นต้ องหยุด ้ ่ ้ ่ การผลิตทังหมด ถึงแม้ วา ความต้ องการใช้ กระแสไฟฟาคาดว่าจะลดลงในช่วงเดือนเมษายนและพฤษภาคม (ซึงเป็ นช่วงที่มีอากาศเย็นสบาย) ้ ่ ความต้ องการใช้ กระแสไฟฟาจะกลับมาสูงถึง 55-60 กิโลวัตต์ตอนาทีในช่วงฤดูร้อน เทียบกับความสามารถในการผลิตกระแสไฟฟาที่มีเพียง ้ ่ 48.5 กิโลวัตต์ตอนาที (ความสามารถในการผลิตกระแสไฟฟาที่เพิ่มขึ ้น 10 กิโลวัตต์ตอนาทีนน มาจากการผลิตกระแสไฟฟาด้ วยพลังงานความ ้ ่ ั้ ้ ร้ อนที่เพิ่มขึ ้น) ั ผลกระทบจากเหตุการณ์ดงกล่าวต่อเศรษฐกิจไทย โดยหลักแล้ ว คาดว่าจะส่งผลกระทบผ่าน 3 ช่องทาง • ่ ห่ วงโซ่ อุปทานการผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์ และชินส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ ได้ รับผลกระทบ ถึงแม้ วาชิ ้นส่วนอุตสาหกรรมที่นำ ุ่ ั ้ เข้ าจากประเทศญี่ปนมีสดส่วนไม่มากนัก แต่ก็เป็ นชิ ้นส่วนที่มีความสำคัญต่อกระบวนการผลิต ในขณะที่การเก็บชิ ้นส่วนเหล่านี ้ไว้ ในคลังก็มีน้อย ้ ้ ุ่ มาก เนื่องจากมีการบริ หารสินค้ าคงคลังแบบ “ให้ เก็บสินค้ าคงคลังเท่าที่พอใช้ ในแต่ละช่วงเวลา” ทังนี ชิ ้นส่วนที่สำคัญๆ ยังคงผลิตในประเทศญี่ปน ่ ิ โดยเหตุผลส่วนหนึงเป็ นเรื่ องของการคุ้มครองทรัพย์สนทางปั ญญาและอีกเหตุผลหนึงคือการผลิตชิ ้นส่วนประเภทนันมีความซับซ้ อนมาก จึงไม่ ่ ้ ุ่ ่ ัิ สามารถหาชิ ้นส่วนทดแทนจากที่อื่นๆ ได้ อย่างไรก็ตาม บริ ษัทญี่ปนมีการบริ หารความเสียงทางด้ านการปฏิบตการที่ยอดเยี่ยม จึงเป็ นไปได้ วา ่ บริ ษัทเหล่านี ้มีแผนสำรองฉุกเฉินอยูแล้ ว ่ •โลวัอุตปต์สงค์นาทีีตซึ่อง่ น้จำเป็นนต้องใช้วินก้ำฤตินนประมาณร้ี่เอกิยละ้นทำให้ของอุปอทานน้มาใช้ในตลาดโลก นอกจากนี ้ วิตกกระแสไฟฟ้าปริเกิมดาณ 10-12 กิ ตอ่ ี ท่ ม ำมั มั ิวเคลียร์ ท ดขึ 0.3 ุ่ ญี่ปนต้ งหัน เชื ้อเพลงฟอสซิลในการผลิ ำมัน ้ ฤติครังนี ้ทำให้ การทบทวนการ ใช้ พลังงานนิวเคลียร์ ในหลายๆ ประเทศ ตัวอย่างเช่น ในประเทศเยอรมัน ประธานาธิบดีเรี ยกให้ มีการประชุมคณะกรรมการจริ ยธรรมเพื่อ ้ ่ พิจารณาอนาคตของพลังงานนิวเคลียร์ ในประเทศ เป็ นต้ น ทังนี ้ การพัฒนาด้ านพลังงานนิวเคลียร์ ที่ลาช้ าขึ ้น รวมทังการหยุดใช้ พลังงาน ้ ่ นิวเคลียร์ ในบางกรณี จะทำให้ เกิดแรงกดดันทางด้ านอุปสงค์ที่มีตอน้ ำมันในระยะปานกลางนี ้ • ในระยะปานกลาง การก่ อสร้ างฟื ้ นฟูประเทศจะส่ งผลบวก รัฐบาลญี่ปนจะดำเนินการก่อสร้ างฟื นฟูประเทศอย่างเร่งด่วนเมื่อ ่ ้ ุ่ ้ ้ ผ่านพ้ นช่วงวิกฤติไปแล้ ว ไม่วาการบูรณะประเทศนันจะมีผลต่อฐานะการคลังรัฐบาลอย่างไร ทังนี ้ การลงทุนภาครัฐและภาคเอกชนคาด ว่าจะขยายตัวขึ ้นอย่างมาก และจะนำไปสูการขยายตัวอย่างยังยืนของอุปสงค์ที่มีตอสินค้ านำเข้ า อย่างไรก็ตามทางหนึงที่มีโอกาสเป็ นไปได้ ่ ่ ่ ่ ู ่ ้ (แต่ความน่าจะเป็ นไม่สงมากนัก) คือ การย้ ายฐานการผลิตมาสูประเทศกำลังพัฒนาในเอเชียตะวันออกมากยิ่งขึ ้น ทังนี ้ การย้ ายฐานการผลิต มายังประเทศแถบเอเชียตะวันออกนันเป็ นไปตามแนวโน้ มโดยปกติอยูแล้ ว และการย้ ายฐานการผลิตออกจากประเทศญี่ปนน่าจะเป็ นเพราะการ ้ ่ ุ่ แข็งค่าของเงินเยนมากกว่าจะเป็ นผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว อย่ างไรก็ตาม คนญี่ปุ่นเป็ นชนชาติท่ สามารถรั บมือกับภัยพิบตทางธรรมชาติได้ ดและจะมีการบูรณะและฟื ้ นฟูประเทศใหม่ อย่ าง ี ั ิ ี ้ ้ แน่ นอนดังนัน ผลกระทบหลักที่เกิดขึนกับประเทศไทยจะเป็ นทางด้ านของการชะงักงันของห่ วงโซ่ อุปทานการผลิตในอุตสาหกรรม ้ ยานยนต์ และชินส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งไม่ มีความแน่ นอนว่ าจะกลับมาดำเนินการตามปกติเมื่อใด และญี่ปุ่นจะดำเนินการ ซ่ อมแซมฟื ้ นฟูประเทศเมื่อใด 10<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ รู ปที่ 15 ดัชนีชีนำภาวะเศรษฐกิจบ่ งบอกถึงการขยายตัวของ รู ปที่ 16 เศรษฐกิจของประเทศในกลุ่มอาเซียนคาดว่ าจะขยาย ั เศรษฐกิจประเทศที่พฒนาแล้ ว ตัวโดยเฉลี่ยร้ อยละ 6 ต่ อปี ในช่ วง 4 ปี ข้ างหน้ า Index (Jun 2010=100) Real GDP Growth (percent per year) 104 Thailand 8.0 103 Euro Area 6 countries 7.0 average China 102 India 6.0 United States 5.0 101 Japan 4.0 100 3.0 99 2.0 98 1.0 0.0 97 2010 2015 Average 2003- Average 2011- Jun-10 July Aug Sep Oct Nov Dec Jan-11 2007 2015 ่ หมายเหตุ ดัชนีมีการปรับให้ มีคามาตรฐานแล้ ว ที่มา OECD ที่มา องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ้ เศรษฐกิจของประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ ยังคงมีการขยายตัวอย่ างมั่นคง แต่ เริ่มชะลอตัวลง ทังนี ้ เกิดจากความวิตกกังวลเกี่ยวกับ ภาวะเงินเฟอ ทำให้ มีการดำเนินนโยบายการเงินที่เข้ มงวดขึนในปี พ.ศ. 2554 อุปสงค์จากภายนอกต่อสินค้ าส่งออกของไทยยังคงมีการ ้ ้ ขยายตัวแม้ ในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจโลก ก็เพราะมีอปสงค์จากประเทศจีนช่วยพยุงไว้ ความพยายามของรัฐบาลจีนในการลดความร้ อนแรงทาง ุ ้ เศรษฐกิจและควบคุมอัตราเงินเฟอผ่านการดำเนินนโยบายการเงินและการควบคุมการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ จะมีผลกระทบต่อการ ่ ขยายตัวของความต้ องการสินค้ านำเข้ า การขยายตัวของอุปสงค์ตอสินค้ านำเข้ าของประเทศจีนเริ่ มชะลอตัวลงและดัชนีชี ้นำได้ บงบอกถึงแนวโน้ ม ่ ่ ของอุปสงค์ที่หดตัวลง (รูปที่ 15) แต่ในทางกลับกัน ด้ วยอิทธิพลของอุปสงค์จากประเทศจีนที่มีตอตลาดโลก การลดความร้ อนแรงทางเศรษฐกิจ ่ ของจีนจะช่วยชะลอการปรับตัวสูงขึ ้นของราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ได้ บ้าง สำหรับแนวโน้ มเศรษฐกิจของประเทศในกลุมอาเซียนค่อนข้ างสดใสและ ้ ่ ประเทศเหล่านี ้ได้ กลายเป็ นตลาดสำคัญของการส่งออกสินค้ าขันสุดท้ ายของไทย (รูปที่ 16 และกรอบที่ 2) อย่างไรก็ตาม ประเทศในกลุมอาเซียน ้ ่ ่ ทังหมดยังคงพึงพาการส่งออกไปยังประเทศจีนและกลุมประเทศ 3G เป็ นหลัก ้ ้ รู ปที่ 17 ราคาน้ ำมันดิบปรั บตัวสูงขึนมากนับตังแต่ ต้นปี พ.ศ. 2554 รู ปที่ 18 ปริมาณการบริโภคธัญพืชของโลกเพิ่มสูงขึนตังแต่ ้ ้ USD per barrel Index (Feb 2010 = 100) พ.ศ. 2543 เป็ นต้ นมา Index of World Grain Consumption (1980=100) 105 Dubai Crude $US /Barrel 150 165 100 Agriculture Raw Materials 140 Index (RHS) 155 95 Commodity Metals Price Index (RHS) 130 145 Food Price Index (RHS) 90 120 135 85 125 Trend from 110 1980 - 2000 80 115 100 Trend from 75 2000 - 2010 105 70 90 95 Jul-10 Apr-10 Sep-10 Oct-10 Aug-10 Nov-10 Dec-10 Jun-10 Jan-11 Feb-10 Mar-10 Feb-11 May-10 ที่มา ธนาคารโลก ที่มา กระทรวงเกษตรแห่งประเทศสหรัฐอเมริ กาและการคำนวณของธนาคารโลก 11<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ่ แนวโน้ มเศรษฐกิจโลกขึนอยู่กับราคาน้ ำมัน ความวุนวายทางการเมืองในภูมิภาคตะวันออกกลางและอัฟริ กาตอนเหนือส่งผลให้ ราคาน้ ำมัน ้ ู ปรับตัวสูงขึ ้น (รูปที่ 17) ด้ วยเหตุที่น้ำมันเป็ นสินค้ านำเข้ าที่มีมลค่าการนำเข้ าสูงสุดของไทย ราคาน้ ำมันที่สงจึงเป็ นปั จจัยหลักให้ เกิดแรงกดดัน ู ้ ่ ่ ด้ านเงินเฟอ ถึงแม้ วา ราคาน้ ำมันมีแนวโน้ มปรับตัวลดลงจากการที่เหตุการณ์ความวุนวายทางการเมืองเริ่ มผ่อนคลาย ราคาน้ ำมันก็ยงคงเป็ นแนว ั ้ ่ โน้ มขาขึ ้นตังแต่ในช่วงทศวรรษที่แล้ ว ซึงสะท้ อนให้ เห็นถึงความต้ องการน้ ำมันที่เพิ่มขึ ้นจากประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ (ซึงไม่คาดว่าจะมีแนวโน้ มลด ่ ้ ุ่ ่ ลงในระยะเวลานี ้) นอกจากนี ราคาน้ ำมันในระยะปานกลางยังคงได้ รับแรงกดดันจากการที่ญี่ปนและประเทศต่างๆ ทัวโลกหันไปพึงพลังงานฟอสซิล ่ ้ ้ ในการผลิตกระแสไฟฟามากขึ ้นหลังการระเบิดของโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร์ ในประเทศญี่ปน ุ่ ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ คาดว่ าจะทรงตัว และอาจปรั บตัวสูงขึนหากราคาน้ ำมันยังคงเพิ่มขึนเรื่ อยๆ ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ปรับตัวสูงขึ ้นตัง้ ้ ้ ่ แต่กลางปี พ.ศ. 2553 เป็ นต้ นมา (รูปที่ 17) ถึงแม้ วา ราคาที่ปรับสูงขึ ้นบางส่วนเป็ นผลกระทบระยะสันจากการเก็งกำไรของนักลงทุน ซึงถือสินค้ า ้ ่ โภคภัณฑ์แทนสินทรัพย์ประเภทอื่นในช่วงเวลาที่ดอกเบี ้ยต่ำ แต่แท้ จริ งแล้ วในขณะนี ้เป็ นช่วงแนวโน้ มขาขึ ้นของราคาสินค้ าเกษตรด้ วย ตัวอย่างเช่น ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ที่เป็ นอาหารปรับตัวสูงขึ ้นกว่าร้ อยละ 60 ในช่วงครึ่งหลังของทศวรรษที่ 2000 เมื่อเทียบกับสองทศวรรษก่อนหน้ า โดยการ ้ ปรับตัวสูงขึ ้นของราคาสินค้ าเกษตรนันส่วนใหญ่เป็ นผลมาจากการที่ราคาน้ ำมันปรับตัวเพิ่มขึ ้น 3 เท่า ทำให้ เกิดการนำพืชอาหารมาผลิตเป็ นเชื ้อ ้ เพลิงชีวภาพ อีกทังน้ ำมันเชื ้อเพลิงยังเป็ นสิงจำเป็ นในกระบวนการผลิตพืชผลทางการเกษตรด้ วย (ผ่านปุยและการขนส่ง) นอกจากนี ้ การบริ โภค ่ ๋ สินค้ าโภคภัณฑ์หลักในตลาดโลกยังมีแนวโน้ มขยายตัวขึ ้นในอัตราเร่ง เนื่องจากเศรษฐกิจประเทศกำลังพัฒนาได้ มีการขยายตัวมากขึ ้นและมี ความเป็ นเมืองมากขึ ้น (รูปที่ 18) ในส่วนของอุปทานสินค้ าเกษตรกลับพบว่า สภาวะอากาศที่แปรปรวนทำให้ เกิดความผันผวนในอุปทานสินค้ า ่ เกษตร ด้ วยเหตุตางๆ เหล่านี ้ จึงคาดว่าราคาสินค้ าเกษตรน่าจะยังคงทรงตัวในระดับสูงต่อไป กรอบที่ 2 ภาวะเศรษฐกิจของไทยเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมภาค1 ิ ่ ้ การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกซึงได้ รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจนันมีแนวโน้ มชะลอตัวลงอย่างเห็นได้ ้ ุ ้ ชัดตังแต่กลางปี พ.ศ. 2553 เป็ นต้ นมา โดยเศรษฐกิจไทยมีการชะลอตัวลงมากที่สด ทังนี ้ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (เทียบกับไตรมาส ก่อนหน้ าและปรับผลทางฤดูกาลแล้ ว) โดยเฉลียในไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2553 ของ 6 ประเทศที่ได้ รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยในปี ่ พ.ศ. 2551-2552 เท่ากับร้ อยละ -0.8 เทียบกับอัตราการขยายตัวที่ร้อยละ 3 ในช่วงครึ่งแรกของปี (รูปที่ 19) เกาหลีใต้ และไต้ หวันสามารถหลีก เลียงภาวะหดตัวของระบบเศรษฐกิจได้ ในไตรมาสที่ 3 ในขณะที่ไทยต้ องประสบภาวะเศรษฐกิจถดถอย (ที่ไม่รุนแรงมาก) อีกครังในช่วงกลางปีa ่ ้ ในทุกๆ ประเทศ การลดลงของอุปสงค์จากภายนอกเป็ นปั จจัยหลักที่ทำให้ เกิดการชะลอตัวของระบบเศรษฐกิจ ทว่า ในกรณีของประเทศไทย การลดลงของสินค้ าคงคลังเพียงเล็กน้ อยในไตรมาสที่ 2 ที่เกิดขึ ้นภายหลังจากช่วงการผลิตเพื่อสะสมสินค้ าคงคลังเกิดขึ ้นอย่างสูงในไตรมาสที่ 1 นันเป็ นก็ปัจจัยที่สำคัญอีกประการหนึงด้ วย b ้ ่ ้ ่ ้ ้ ้ ทว่า การส่งออกที่ลดลงนันเป็ นการลดลงเพียงชัวคราว (ยกเว้ นในการกรณีของฮ่องกง) เท่านันและได้ มีการฟื นตัวอย่างช้ าๆ ทังภูมิภาค ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานของอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 ลดลงไปเป็ นระดับที่ตํ่าสุดตังแต่ปี พ.ศ. ้ 2550 เป็ นต้ น ทังนี ้ อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยฟื นตัวขึ ้นเป็ นร้ อยละ 1.2 ในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 ซึงเป็ นอัตรา ้ ้ ่ ้ ุ ่ การฟื นตัวที่แข็งแกร่งที่สดรองจากประเทศมาเลเซีย (รูปที่ 19) อย่างไรก็ตาม การขยายตัวของเศรษฐกิจไทยยังคงต่ำกว่าค่าเฉลียในอดีต ่ ั ซึงมีอตราการขยายตัวในไตรมาส 4 ของปี พ.ศ. 2545-2550 โดยเฉลียเท่ากับร้ อยละ 1.8 ทังนี ้ การขยายตัวของการส่งออกและการบริ โภคภาค ่ ้ ้ เอกชนเป็ นปั จจัยที่ทำให้ เกิดการฟื นตัวของระบบเศรษฐกิจ ั เมื่อเปรี ยบเทียบระดับ GDP ในปั จจุบนกับระดับ GDP สูงสุดก่อนวิกฤติ พบว่า สิงคโปร์ เป็ นประเทศที่มีระดับ GDP ที่ดีที่สดในบรรดา ุ ่ ั ประเทศที่อยูในการพิจารณา (รูปที่ 20) โดยมีอตราการขยายตัวสะสมในปี พ.ศ. 2553 เท่ากับร้ อยละ 12 เมื่อเทียบกับเพียงร้ อยละ 4-6 ้ ในอีก 5 ประเทศที่เหลือ ทังนี ้ ระดับ GDP ของประเทศทัง้ 6 ประเทศสูงกว่าระดับสูงสุดก่อนวิกฤติประมาณร้ อยละ 3-10 (ร้ อยละ 4.3 สำหรับประเทศไทย) 1จัดทำโดยดร. วัชริ นทร์ ศิริมณีธรรม 12<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 19 เศรษฐกิจของประเทศต่ างๆ ที่ได้ รับผล ั รู ปที่ 20 ระดับผลผลิตปั จจุบนอยู่ต่ำกว่ าระดับที่ควรจะเป็ น กระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจมีการชะลอตัวลงในไตรมาสที่ 3 ี ในกรณีท่ ไม่ เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ้ ้ และมีการฟื ้ นตัวขึนหลังจากนัน Percent change Quarter-on-quarter, seasonally-adjusted GDP growth (percent) 10 HKG KOR SGP 8 MYS 6 SGP MYS TWN 4 THA KOR 2 TWN 0 THA -2 HKG -4 -6 -12 -9 -6 -3 0 3 6 9 12 08 Q2 Q3 Q4 09 Q2 Q3 Q4 10 Q2 Q3 Q4 % output level in Q4/10 surpassed the pre-crisis peak Q1 Q1 Q1 % 2010 actual output level below the "no crisis" scenario ที่มา Haver และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา Haver และการคำนวณของธนาคารโลก ู อย่างไรก็ตาม ไม่มีประเทศใดใน 6 ประเทศเหล่านี ้ที่เศรษฐกิจสามารถทำการผลิตเพื่อชดเชยโอกาสที่สญเสียไปอันเนื่องมาจากวิกฤติเศรษฐกิจ ้ ได้ (รูปที่ 20) โดยระดับ GDP ปี พ.ศ. 2553 ยังคงต่ำกว่าระดับที่ควรจะเป็ นในกรณีที่ไม่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ทังนี ้ ระดับ GDP ที่ควรจะเป็ นใน ั ่ กรณีไม่เกิดวิกฤติจะประมาณการโดยใช้ อตราการขยายตัวเฉลียในช่วงปี พ.ศ. 2545-2550 ตัวอย่างเช่น GDP ปี พ.ศ. 2553 ของไทยตํ่ากว่า ่ ่ ่ ้ ระดับที่ควรจะเป็ นในกรณีไม่มีวิกฤติเศรษฐกิจอยูร้อยละ 9 ซึงถือว่าอยูในระดับกลางๆ เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค ทังนี ้ เมื่อพิจารณา ถึงปั จจัยที่ทำให้ เศรษฐกิจไทยมีการขยายตัวได้ น้อยกว่าที่ควรจะเป็ นในกรณีไม่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ได้ มีการประมาณการองค์ประกอบของ ู ้ GDP ด้ านรายจ่ายในกรณีที่ไม่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจและพบว่าระดับผลผลิตที่สญเสียไปนันเกิดจากการส่งออกและการลงทุนในทรัพย์สนถาวร ิ ที่ตํ่ากว่าที่ควรจะเป็ นประมาณร้ อยละ 20-21 รู ปที่ 21 การลดลงของ GDP ของไทยในช่ วงกลางปี ทำให้ การเร่ งฟื ้ น ระดับผลผลิตที่สูญเสียไปจากวิกฤติของเศรษฐกิจไทยชะงักลงบ้ าง Actual and simulated GDP levels (sa) based on “no-crisis” assumption. Q1 2008=100 120 GDP level without the crisis (sa) 115 Actual GDP level (sa) 110 105 100 95 90 07 Q1 Q3 08 Q1 Q3 09 Q1 Q3 10 Q1 Q3 ้ ั หมายเหตุ ภาพทัศน์กรณีไม่มีวิกฤติเศรษฐกิจนัน แสดงระดับ GDP ที่ควรจะเป็ น ในกรณีที่อตรา ่ การขยายตัวเศรษฐกิจรายไตรมาสเท่ากับอัตราเฉลียของปี พ.ศ. 2545-2550 13<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ่ ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2553 การขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยมีภาวะชะงักเล็กน้ อย ซึงทำให้ GDP ที่เกิดขึ ้นจริ งกับ GDP ที่ควรจะเป็ นมี ้ ความแตกต่างกันมากขึ ้น (รูปที่ 21) ทังนี ้ ประเทศไทยจะสามารถเพิ่มระดับ GDP ขึ ้นไปจนถึงระดับที่ควรจะเป็ นในกรณีไม่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ่ ั ู ่ ่ ได้ ก็ตอเมื่อเศรษฐกิจมีอตราการขยายตัวที่สงกว่าอัตราเฉลียในอดีตติดต่อกันหลายๆ ไตรมาส ซึงได้ เกิดขึ ้นในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2552 ่ ้ และไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2553 (สูงกว่าอัตราเฉลียในอดีตประมาณ 1.9-2.3 หน่วย) อันเป็ นเวลาที่เศรษฐกิจโลกมีการเร่งฟื นตัวในระดับสูง เกินกว่าที่คาดการณ์ และในไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2553 GDP ที่ปรับตัวสูงขึ ้นชดเชย GDP ที่สญเสียไปได้ บางส่วนแต่ไม่ทงหมด อย่างไรก็ตาม ู ั้ ่ ้ ในกรณีที่เศรษฐกิจโลกมีการปรับตัวเข้ าสูแบบแผนปกติแนวใหม่ตามที่คาดนัน การจะดำรงอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้ เท่ากับในช่วง ั้ ่ ั ้ ก่อนวิกฤตินนเป็ นสิงที่ท้าทายอย่างมาก และถ้ าหากต้ องการให้ อตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจสูงกว่าอัตราในอดีตนัน จะต้ องมีการเปลียน ่ โครงสร้ างทางเศรษฐกิจใหม่ ้ การส่งออกของไทยมีแนวโน้ มการฟื นตัวที่ดีกว่าประเทศอื่นๆ (ที่ได้ รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจเหมือนกัน) เนื่องจากผลกระทบ ด้ านราคาที่เป็ นบวก (รูปที่ 22) ปริ มาณการส่งออกสินค้ าของไทยขยายตัวในอัตราที่ใกล้ เคียงกับประเทศอื่นๆ (รูปที่ 23) ในขณะที่มลค่า ู ่ การส่งออกสินค้ าของไทยไม่เคลือนไหวในทิศทางเดียวกับประเทศอื่นๆ เท่าไรนัก มูลค่าการส่งออกสินค้ าของไทยในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 (ปรับผลทางฤดูกาลอออกแล้ ว) สูงกว่ามูลค่าส่งออกในเดือนมกราคม 2550 ถึงร้ อยละ 70 (เทียบกับร้ อยละ 35 โดยเฉลียของประเทศอื่นๆ) ่ ้ มูลค่าการส่งออกของไทยที่ฟืนตัวอย่างแข็งแกร่งเป็ นเพราะราคาสินค้ าส่งออกของไทยที่ปรับตัวสูงขึ ้น ในขณะที่ปริ มาณการส่งออกสินค้ าของ ้ ่ ้ ่ ไทยขยายตัวต่ำกว่าประเทศอื่นๆ ยกเว้ นมาเลเซีย ทังนี ้ ราคาสินค้ าส่งออกของไทยอยูในแนวโน้ มขาขึ ้นตังแต่ชวงกลางปี พ.ศ. 2552 เป็ นต้ นมา ่ ขณะที่ราคาสินค้ าส่งออกของประเทศอื่นๆ คงที่ โดยราคาสินค้ าเกษตรซึงขยายตัวร้ อยละ 60 (ปรับผลของฤดูกาลแล้ ว) จากเดือนเมษายน 2552 ถึงมกราคม 2553 และร้ อยละ 30 จากเดือนพฤษภาคม 2553 ถึงกุมภาพันธ์ 2554 ถือเป็ นปั จจัยสนับสนุนที่สำคัญ รู ปที่ 22 มูลค่ าการส่ งออกของไทยมีการฟื ้ นตัวแข็งแกร่ งกว่ า รู ปที่ 23 ซึ่งช่ วงแรกเกิดจากการขยายตัวของปริมาณการส่ งออก ประเทศอื่นๆ ้ และในช่ วงหลังเกิดจากราคาสินค้ าส่ งออกปรั บตัวสูงขึน Goods export value in USD, rebased to Jan 2007=100 Goods export volume in USD, rebased to Jan 2007=100 170 HKG 170 KOR HKG MYS KOR SGP MYS 150 150 SGP THA TWN THA 130 130 TWN 110 110 90 90 70 70 50 50 2007M01 2007M04 2007M07 2007M10 2008M01 2008M04 2008M07 2008M10 2009M01 2009M04 2009M07 2009M10 2010M01 2010M04 2010M07 2010M10 2011M01 2007M01 2007M04 2007M07 2007M10 2008M01 2008M04 2008M07 2008M10 2009M01 2009M04 2009M07 2009M10 2010M01 2010M04 2010M07 2010M10 2011M01 ที่มา DECPG และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา DECPG และการคำนวณของธนาคารโลก. ้ ่ ่ ้ อย่างไรก็ตาม การส่งออกที่ฟืนตัวอย่างแข็งแกร่งไม่ได้ ชวยให้ ชองว่างระหว่าง GDP ที่เกิดขึ ้นจริ งกับ GDP ที่ควรจะเป็ นแคบลง ทังนี ้ เป็ นเพราะ ั ู ้ อุปสงค์ในประเทศที่ยงไม่แข็งแกร่งและมีการนำเข้ าในระดับที่สง ทังนี ้ ถึงแม้ วาประเทศไทยจะมีการฟื นตัวของการส่งออกที่แข็งแกร่งกว่า ่ ้ ้ ประเทศอื่นๆก็ตาม รูปที่ 20 ได้ ชี ้ให้ เห็นว่าขณะนี ้ระดับ GDP ของเกาหลีใต้ ไต้ หวันและสิงคโปร์ นันเข้ าใกล้ ระดับ GDP ที่ควรจะเป็ นในกรณี ้ ไม่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจมากกว่าประเทศไทย ทังนี ้ เป็ นเพราะประเทศไทยมีการนำเข้ าในระดับที่สง ดังนันการส่งออกสุทธิจงส่งผลต่อการขยาย ู ้ ึ ตัวของ GDP ในปี พ.ศ. 2553 น้ อยกว่าประเทศอื่นๆ การส่งออกสุทธิมีผลในการขยายตัวของเศรษฐกิจในเกาหลีใต้ และไต้ หวันในปี ที่ผานมา ่ ่ นอกจากนี ้ อุปสงค์ภายในประเทศที่ออนแอของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริ โภคและการลงทุนภาคเอกชน อัตราการขยายตัวของการบริ โภค และการลงทุนภาคเอกชนเทียบกับอัตราก่อนเกิดวิกฤติลดลงอย่างเห็นได้ ชดในประเทศไทย (เทียบกับประเทศอื่นๆ)d ั 14<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 หมายเหตุ a อัตราการขยายตัวสะสมในไตรมาสที่ 2 และ 3 ของปี พ.ศ. 2550 เท่ากับร้ อยละ -0.7 เทียบกับร้ อยละ -7.4 ระหว่างไตรมาสที่ 3 ปี พ.ศ. 2551 ถึงไตรมาสที่ 1 ปี พ.ศ. 2552 b ผลกระทบของการเปลียนแปลงสินค้ าคงคลังในเศรษฐกิจของ 6 ประเทศ ซึงเห็นได้ อย่างชัดเจนในวิกฤติครังนี ้ ค่อยๆ เบาบางลงหลังจากที่มีผลกระทบสูงสุดในไตรมาสที่ 1 ปี พ.ศ. ่ ่ ้ ั 2552 ทว่า สัดส่วนของสินค้ าคงคลังต่อ GDP เท่ากับร้ อยละ 3.6 ในครึ่งหลังของปี พ.ศ. 2553 ก็ยงคงสูงกว่าสัดส่วนช่วงก่อนวิกฤติ (พ.ศ. 2545-2550) ที่ร้อยละ 1.4 c ตัวอย่างเช่น ถ้ าประเทศไทยมีอตราการขยายตัวในไตรมาสที่ 3 ปี พ.ศ. 2553 เท่ากับร้ อยละ 1.5 ซึงเป็ นอัตราการขยายตัวเฉลียในไตรมาสที่ 3 ในช่วง พ.ศ. 2545-2550 โดย ั ่ ่ ้ ้ ่ ่ ่ เทียบกับอัตราการขยายตัวที่เกิดขึ ้นจริ งเท่ากับร้ อยละ -0.3 ทังนี การใช้ คามัธยฐานแทนค่าเฉลียไม่ได้ มีผลต่อการเปลียนแปลงการประมาณการแต่อย่างไร ยกเว้ นในกรณีประเทศสิงคโปร์ ่ ่ ่ ที่ความแตกต่างระหว่าง GDP ที่เกิดขึ ้นจริ งกับ GDP ที่ควรจะเป็ นเพิ่มจากร้ อยละ 7.7 ในกรณีใช้ คาเฉลีย เป็ นร้ อยละ 10.4 ในกรณีใช้ คามัธยฐาน d อัตราการขยายตัวโดยเฉลียของการบริ โภคภาคเอกชนในประเทศไทยลดลงจากร้ อยละ 0.6 ในระหว่างไตรมาสที่ 1 ปี พ.ศ. 2545 ถึงไตรมาสที่ 2 ปี พ.ศ. 2551 มาเป็ นร้ อยละ 0.3 ่ ั ่ ระหว่างไตรมาสที่ 3 ปี พ.ศ. 2551 ถึงไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 ในขณะที่อตราการขยายตัวเฉลียของการลงทุนภาคเอกชนในช่วงเวลาเดียวกันเท่ากับร้ อยละ 0.4 และ -0.1 ้ ่ ่ ้ ั ตามลำดับ ในทางตรงข้ าม ทังการบริ โภคภาคเอกชนและการลงทุนภาคเอกชนในไต้ หวันยังสามารถทรงตัวอยูได้ ทามกลางวิกฤติ ทังๆ ที่สดส่วนของอุปสงค์ภายในประเทศต่อ GDP ใน ั ประเทศเหล่านี ้ไม่ได้ มีความแตกต่างกันอย่างมีนยสำคัญ 2.2.2 การส่ งออกสินค้ า ้ การส่ งออกของไทยมีการขยายตัวอย่ างน่ าพอใจในไตรมาสที่ 2 ของปี พ.ศ. 2553 ทังๆ ที่คาดว่ าการส่ งออกจะชะลอตัวลงเนื่องจาก ผ่ านพ้ นช่ วงเศรษฐกิจเร่ งฟื ้ นตัวหลังวิกฤตไปแล้ ว และยังมีปัญหาเรื่ องค่ าเงินบาทที่แข็งขึน หลังจากผ่านพ้ นช่วงขาขึ ้นของวัฏจักรสินค้ าคง ้ ั ้ ่ คลังโลกแล้ ว การส่งออกของไทยมีการหดตัวลงอย่างเห็นได้ ชดในเดือนกรกฎาคม (รูปที่ 24) อย่างไรก็ตาม ทังๆ ที่เงินบาทมีคาแข็งขึ ้นและเกิด ้ อุทกภัยที่ทำให้ ผลผลิตทางการเกษตรลดน้ อยลง การส่งออกของไทยเริ่ มกลับมาขยายตัวอีกครังในเดือนสิงหาคม โดยมีอตราการขยายตัว ั เฉลียเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อนอยูที่ร้อยละ 20 ตลอดช่วงครึ่งหลังของปี พ.ศ. 2553 มูลค่าการส่งออกสินค้ า (ปรับผลของฤดูกาลแล้ ว) ่ ่ ในเดือนธันวาคม 2553 สูงกว่า 18 พันล้ านเหรี ยญดอลล่าร์ สหรัฐอเมริ กา และสูงกว่ามูลค่าการส่งออกในเดือนมิถนายน 2553 ซึงถือว่าเป็ น ุ ่ ู ้ เดือนที่มีมลค่าการส่งออกสูงสุดแล้ วในช่วงเวลาหลังการเร่งฟื นตัวของเศรษฐกิจ (รูปที่ 25) ในขณะที่การส่งออกชิ ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ชะลอตัวลง ั อย่างเห็นได้ ชดในช่วงปลายขาขึ ้นของวัฏจักรสินค้ าคงคลัง การส่งออกยานยนต์และสินค้ าเกษตรมีการขยายตัวและทำให้ การส่งออกโดยรวมขยาย ึ่ ่ ั ตัว มูลค่าสินค้ าออก (ยกเว้ นสินค้ าประเภทอัญมณีซงมีราคาผันผวน) เติบโตอย่างมันคงในปี พ.ศ. 2554 โดยมีอตราการขยายตัวเท่ากับร้ อยละ 22 ้ และร้ อยละ 24 ในเดือนมกราคมและเดือนกุมภาพันธ์ตามลำดับ ทังนี ้ การขยายตัวของการส่งออกโดยรวมมีปัจจัยสนับสนุน คือ การขยายตัวของ ู การส่งออกไปยังตลาดภายในภูมิภาคเอเชียตะวันออก การกระจายประเภทของสินค้ าออก (ที่มีมลค่าสูง) และการเพิ่มขึ ้นของปริ มาณผลผลิตเพื่อ การส่งออกในทุกภาคอุตสาหกรรม รู ปที่ 24 การส่ งออกมีความผันผวนในไตรมาสที่ 3 แต่ ขยาย รู ปที่ 25 หลังจากที่มูลค่ าการส่ งออกลดลงในเดือนกรกฎาคม ตัวอย่ างต่ อเนื่องในไตรมาสที่ 4 ้ ในไตรมาสที่ 4 มูลค่ าการส่ งออกมีการปรั บตัวสูงขึนจนอยู่ใน Percent USD billion ิ ระดับที่สูงสุดเป็ นประวัตการณ์ Export value Index (Jul 2008=100) 50 20 105.0 40 18 100.0 16 30 14 95.0 20 12 Q4 2010 90.0 10 10 85.0 0 8 6 80.0 -10 4 75.0 -20 2 70.0 -30 0 Export value Index 65.0 (2008=100) Sep Sep Sep Nov Nov Nov 08 Jan May 09 Jan May 10 Jan May Jul Jul Jul Mar Mar Mar 60.0 Growth (%YOY, nsa) Growth (% MoM, sa) Growth (%MoM, 3mma, sa) Export value (sa) (RHS) ที่มา กระทรวงพาณิชย์ ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก 15<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ การส่ งออกของภาคอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี ชินส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ และยานยนต์ กลับเข้ าสู่ระดับปกติก่อนวิกฤติ โดยอัตราการ ขยายตัวในภาคอุตสาหกรรมสำคัญเหล่ านีเ้ ริ่มชะลอตัวลง การขยายตัวในภาคอุตสาหกรรมหลักเหล่านี ้มีการชะลอตัวลง จนมีอตราใกล้ เคียง ั ่ กับอัตราการขยายตัวเฉลียก่อนวิกฤติ (พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2550) การส่งออกผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขยายตัวร้ อยละ 29 ในช่วงเดือนธันวาคม 2553 ่ ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2554 (เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี ก่อน) เทียบกับอัตราการขยายตัวเฉลียร้ อยละ 22 ในช่วงก่อนวิกฤติ การส่งออกที่ยง ั ี ู ่ ่ สามารถขยายตัวได้ ดเป็ นเพราะสินค้ าออกส่วนใหญ่ถกส่งออกไปยังประเทศในแถบเอเชียตะวันออกโดยเฉพาะอย่างยิงสินค้ าปิ โตรเคมี ซึงสองในสาม ึ่ ั ของการส่งออกสินค้ าปิ โตรเคมีไปยังประเทศแถบนี ้ (รูปที่ 27) สำหรับชิ ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ซงเป็ นสินค้ าส่งออกที่สำคัญของไทย พบว่า มีอตรา การขยายตัวของการส่งออกลดลงเหลือประมาณร้ อยละ 10 ต่อปี ซึงต่ำกว่าอัตราการขยายตัวก่อนวิกฤติที่ร้อยละ 14 ซึงสะท้ อนให้ เห็นถึงผลกระทบ ่ ่ ี่ ่ ่ ั ั้ ่ ่ ของอุปสงค์ทหดตัวลงจากกลุมประเทศทีพฒนาแล้ วสำหรับภาคอุตสาหกรรมยานยนต์นนมีการขยายตัวในอัตราทีตำกว่าอัตราการขยายตัวโดยเฉลีย ่ ่ ้ ก่อนวิกฤติ (ซึงเท่ากับร้ อยละ 31) มาตังแต่เดือนธันวาคมแล้ ว (อัตราการขยายตัวเหลือเพียงร้ อยละ 18 ในช่วงระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือน กุมภาพันธ์) ้ ทังนี ้ ู การชะลอตัวในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์เกิดจากการขยายตัวที่สงมากในช่วงก่อนหน้ า อย่างไรก็ตาม การส่งออกสินค้ ายานยนต์ในขณะนี ้ พบว่า มีมลค่าส่งออกสูงกว่าช่วงปี พ.ศ. 2550 ประมาณร้ อยละ 41 ในขณะที่มลค่าการส่งออกสินค้ าโดยรวม ู ู ้ ในขณะนี ้สูงกว่าในปี พ.ศ. 2550 แค่เพียงร้ อยละ 28 เท่านัน และเช่นเดียวกับอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี ตลาดส่งออกหลักของสินค้ ายานยนต์จากเมือง ไทยคือประเทศในกลุมอาเซียน ทว่า การที่นิสสันประสบความสำเร็จในการส่งออกรถยนต์กลับไปขายในประเทศญี่ปน อาจช่วยให้ มีการขยายตลาด ่ ุ่ ส่งออกมากขึ ้น และถือเป็ นการรับรองคุณภาพของรถยนต์ที่ผลิตจากประเทศไทยด้ วย อย่างไรก็ตาม คาดว่าภาคอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ ้นส่วน ่ อิเล็กทรอนิกส์นาจะได้ รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศญี่ปน และการส่งออกมีแนวโน้ มจะชะลอตัวลงอีกในไตรมาสที่สอง ุ่ รู ปที่ 26 การขยายตัวของการส่ งออกชะลอลง แต่ โดยรวมแล้ ว ิ รู ปที่ 27 การส่ งออกไปยังประเทศในภูมภาคเอเชียตะวันออกที่ ยังคงอยู่ในระดับที่สูงกว่ าค่ าเฉลี่ยในอดีต ้ ิ ้ สูงขึนและราคาวัตถุดบที่เพิ่มขึน เป็ นปั จจัยที่ทำให้ การส่ งออก 3-month moving average, year-on-year growth (percent) ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีขยายตัว Thailand's Petrochemical Export Share by Destination in 2010 (percent) Petrochemicals and Rubber Products 90 Automotive China E&E Malaysia 70 Total Exports - Jewlery 2003-2007 Average Growth Singapore Japan 50 USA 30 Viet Nam Philippines 10 Rep. of Korea China, Hong Kong SAR -10 India -30 Australia Myanmar -50 Other Asia, nes JAN JUL JAN JUL JAN JUL JAN 2008 2008 2009 2009 2010 2010 2011 0.0% 5.0% 10.0% 15.0% 20.0% 25.0% ที่มา กระทรวงพาณิชย์ ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก มูลค่ าการส่ งออกเพิ่มสูงขึน โดยส่ วนหนึ่งเป็ นเพราะราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ ท่ สูงขึน ราคาสินค้ าส่งออกของไทยเพิ่มสูงขึ ้นอย่างรวดเร็ว ้ ี ้ เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค (รูปที่ 28) ส่วนหนึงเป็ นผลมาจากราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ ้นประมาณ ่ ร้ อยละ 32.4 เทียบกับช่วยเดียวกันของปี ก่อน (นับจนถึงเดือนมกราคม) แต่เนื่องจากการส่งออกสินค้ าเกษตรคิดเป็ นเพียงแค่ร้อยละ 11.52 ้ ึ ั ของมูลค่าการส่งออกทังหมด ทำให้ ถงแม้ ปรับผลของการเพิ่มขึ ้นของราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ออกไปแล้ ว ก็ยงคงพบว่า มูลค่าสินค้ าส่งออก ้ ่ ้ ขยายตัวประมาณร้ อยละ 40 นับตังแต่ชวงวิกฤติเศรษฐกิจในเดือนพฤศจิกายน 2551 (รูปที่ 29) ทังนี ้ แสดงว่าราคาของสินค้ าส่งออกประเภท อื่นๆ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคยานยนต์และปิ โตรเคมี) ก็ปรับตัวสูงขึ ้นและส่งผลทำให้ ราคาสินค้ าออกโดยรวมสูงขึ ้นเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ่ ู ้ ู ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผานมา ราคาสินค้ าเกษตรที่สงขึ ้นนันเป็ นปั จจัยหลักที่ทำให้ มลค่าการส่งออกขยายตัว ซึงช่วยลดผลกระทบต่อดุลการค้ าอันเกิด ่ ู จากราคาน้ ำมันดิบที่สงขึ ้น 2ณ เดือนมกราคม 2554 16<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 28 ราคาสินค้ าส่ งออกของไทยสูงขึนเมื่อเทียบกับประเทศ ้ ี รู ปที่ 29 ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ ท่ สูงมีส่วนสนับสนุนให้ มูลค่ า อื่นๆ ในภูมภาค ิ การส่ งออกขยายตัวในช่ วงที่ผ่านมา Index of export prices (January 2007 = 100) Index of monthly export value adjusted for seasonal fluctuations. 140 Global recession (Nov 08) KOR 150 Global Recession (Nov 08) Ag Prices deflated 130 MYS 140 t=0 denotes THA the 120 beginning of 130 the global 110 recession 120 and is set to 100 100 110 90 100 90 80 80 t=0 t=2 t=4 t=6 t=8 t=10 t=12 t=14 t=16 t=18 t=20 t=22 t=24 t=-6 t=-2 t=-4 ที่มา DECDG และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา กระทรวงพาณิชย์ ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก ราคาสินค้ าส่ งออกที่สูงขึนเป็ นผลมาจากการกระจายการส่ งออกไปสู่สนค้ าที่ราคามีการปรั บตัวสูงขึน ประเทศไทยมีการกระจายประเภท ้ ิ ้ ของสินค้ าส่งออกนับตังแต่ชวงเวลาวิกฤติ (รูปที่ 30)3 ทังนี ้ ในภูมิภาคนี ้ ประเทศไทยเป็ นเพียงประเทศเดียวที่มีการกระจายประเภทสินค้ าส่งออก ้ ่ ้ ่ เพิ่มขึ ้นการส่งออกสินค้ าที่สามารถผลักภาระด้ านต้ นทุนการผลิตไปยังผู้บริ โภคได้ มากขึ ้น (รูปที่ 31) ในกรณีของภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ สิงที่ เกิดขึ ้นสะท้ อนให้ เห็นถึงการส่งออกรถยนต์โดยสาร (ซึงมีราคาสูง) ในสัดส่วนที่สงขึ ้นเมื่อเทียบกับการส่งออกรถปิ คอัพ ทังนี ้ การเปลียนแปลงใน ่ ู ้ ่ ุ โครงสร้ างการส่งออกเป็ นปั จจัยสำคัญที่ทำให้ ราคาสินค้ าส่งออกของไทยมีการปรับสูงขึ ้นมากที่สดในภูมิภาค ดูกรอบที่ 3 สำหรับรายละเอียดเกี่ยว กับความสัมพันธ์ระหว่างการเปลียนแปลงของราคาสินค้ าส่งออกกับการเปลียนแปลงในมูลค่าการส่งออกสำหรับสินค้ าบางประเภท ่ ่ รู ปที่ 30 ตะกร้ าสินค้ าส่ งออกของไทยมีความหลากหลายมาก รู ปที่ 31 ตะกร้ าสินค้ าส่ งออกของไทยมีการเพิ่มสัดส่ วนในสินค้ า ขึนในช่ วงที่เศรษฐกิจฟื ้ นตัว ้ ที่ราคามีการเปลี่ยนแปลงในทางที่เป็ นประโยชน์ ต่อผู้ส่งออก Herfindal Hirshchman Index for selected ASEAN countries Nominal THB Export Value Oct-Dec ’10 vs. 2007 40 Petro- 0.50 chemicals Thailand 35 Automotive 0.45 30 Medium to high Agricultural import content, Products 0.40 China Capital Intensive 25 0.35 Philippines 20 0.30 15 E&E 10 0.25 Textiles, Indonesia Garments, Low Import Content 5 0.20 Footware, Labor Intensive Malaysia Leatherwar 0 e, Furniture 0.15 0 5 10 15 20 -5 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 Export Price Changes (Oct-Dec '10 vs. Oct-Dec '09) ที่มา กระทรวงพาณิชย์ ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก 3 เป็ นการวัดการกระจายของตะกร้ าสินค้ าส่งออก โดยถ้ ามาตรวัดมีคาสูงแสดงถึงสินค้ าส่งออกค่อนข้ างกระจุกตัวอยูในสินค้ าไม่กี่ประเภท ่ ่ 17<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ ราคาสินค้ าส่ งออกที่ปรั บตัวดีขึนเป็ นผลมาจากการกระจายตลาดส่ งออกไปยังประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ ในระดับที่สูงขึนด้ วยเช่ นกัน ้ ั ่ ุ อุปสงค์จากประเทศที่พฒนาแล้ วต่อสินค้ าไทยได้ กลับไปสูระดับก่อนวิกฤติแล้ ว ในขณะที่อปสงค์จากประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคเอเชียตะวัน ่ ้ ออกมีแนวโน้ มสูงขึ ้นเรื่ อยๆ ซึงอุปสงค์จากประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการฟื นตัวของการส่งออกของประเทศไทย ้ ่ ั รูปที่ 32 แสดงให้ เห็นถึงสัดส่วนมูลค่าการส่งออกของไทยไปยังประเทศเหล่านี ้ในช่วงที่การส่งออกเริ่ มฟื นตัวในเดือนพฤศจิกายน 2552 ซึงมีสดส่วนที่ ่ ่ ่ สูงกว่าค่าเฉลียที่ประมาณร้ อยละ 45 ในช่วงปี พ.ศ. 2548-2550 ในทางกลับกัน การสังสินค้ าจากกลุมประเทศ 3G ลดน้ อยลงผิดปกติ อย่างไรก็ตาม ่ ่ ่ ความแตกต่างระหว่างสัดส่วนการส่งออกไปยังกลุมประเทศกำลังพัฒนาและกลุมประเทศ 3G ได้ คอยๆ ลดลงหลังจากเดือนพฤษภาคม 2553 และในเดือนธันวาคม 2553 สัดส่วนมูลค่าการส่งออกของไทยไปยังประเทศ 3G ก็ได้ กลับเข้ าสูระดับปกติ (ซึงเป็ นค่าเฉลียในช่วงเวลาที่ผานมา ่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ ก่อนเกิดวิกฤติ) ในขณะเดียวกัน สัดส่วนการส่งออกไปยังประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ก็คอยๆ เคลือนเข้ าสูระดับก่อนวิกฤติ แต่แล้ วก็กลับมีแนวโน้ ม ้ ึ่ สูงขึ ้นอีกตังแต่เดือนสิงหาคม 2553 และคาดว่าสัดส่วนของส่งออกของไทยจะเกิดระดับดุลยภาพใหม่ซงการส่งออกไปยังประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ ่ ู คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้ อยละ 50 และแสดงให้ เห็นว่าประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกมีสวนแบ่งตลาดในสินค้ าออกของไทยที่สงขึ ้น (รูปที่ 33) ู การขยายตัวของสัดส่วนการส่งออกไปยังตลาดส่งออกใหม่ๆ ยังสามารถเชื่อมโยงกับสัดส่วนของการส่งออกสินค้ าสำเร็จรูปที่สงขึ ้นในตะกร้ าการส่ง ่ ้ ู ออกของไทย ซึงสะท้ อนให้ เห็นถึงความต้ องการบริ โภคสินค้ าขันสุดท้ ายในระดับที่สงขึ ้นของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคนี ้ นอกเหนือไปจากการบริ โภค ้ ่ ุ สินค้ าขันกลางอันเป็ นส่วนหนึงของห่วงโซ่อปทานการผลิตในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (รูปที่ 34) ิ รู ปที่ 32 ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ ในภูมภาคเอเชียตะวันออก รู ปที่ 33 ออสเตรเลีย ประเทศสมาชิกแห่ งสหภาพยุโรปและ มีความสำคัญต่ อการขยายตัวของการส่ งออกของไทยมากขึน ้ ้ จีนมีสัดส่ วนในตลาดสินค้ าส่ งออกของไทยมากขึน Contribution to year-on-year export growth (percent) Changes average annual market shares (percent) 90 China ASEAN + EEA 80 US G3 70 EU-15 60 Middle East 50 Indus. East Asia 40 Japan 30 ……………… 20 2002-06 ASEAN 10 2009-2010 Australia 0 New EU 09 Nov Feb May Aug Nov -15 -10 -5 0 5 10 15 20 Percent ที่มา ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก หมายเหตุ ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก คือ จีน เกาหลีใต้ ที่มา ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก ไต้ หวัน และฮ่องกง หมายเหตุ ประเทศอุตสาหกรรมแห่งเอเชียตะวันออก คือ เกาหลีใต้ ไต้ หวัน และฮ่องกง ้ ้ รู ปที่ 34 สัดส่ วนของสินค้ าขันสุดท้ ายในโครงสร้ างสินค้ าส่ งออกสูงขึน Changes in share of export goods by type (percent) Final Good Exports 2005-2007 Capital Input Good Exports 1988-1996 Intermediate Good Exports 0 20 40 60 80 ที่มา กระทรวงพาณิชย์ ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก หมายเหตุ การจำแนกประเภทสินค้ าเป็ นไปตามหลักของ United Nations Broad Economic Categories 18<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ ในช่ วงปลายวัฏจักรสินค้ าคงคลังขาขึน (เดือนมิถุนายน 2553) ปริมาณการส่ งออกสินค้ ากลับเข้ าสู่ระดับก่ อนวิกฤติ ทว่ า การขยาย ้ ้ ตัวของการส่ งออกนันเป็ นการขยายตัวที่ครอบคลุมถึงสินค้ าหลายๆ ประเภท ดังนัน จึงเห็นปริมาณการส่ งออกสินค้ าส่ งออกแทบทุก ู ประเภทเข้ าสู่ระดับสูงสุดเป็ นประวัตการณ์ หลังจากที่ได้ ลดลงไปถึงร้ อยละ 70 เมื่อเทียบกับระดับที่สงสุดก่อนวิกฤติ ปริ มาณการส่งออกก็ฟิน ิ ้ ่ ้ ตัวจนกลับเข้ าสูระดับปกติในช่วงปลายวัฏจักรสินค้ าคงคลังขาขึ ้น (รูปที่ 35) ทังนี ้ ปริ มาณการส่งออกสินค้ าเกษตรต่ำลงมากเนื่องจากภาวะฝนแล้ ง ในครึ่งแรกของปี พ.ศ. 2553 ในขณะที่การส่งออกสินค้ าที่ใช้ แรงงานอย่างเข้ มข้ น(รวมสินค้ าอัญมณีและเครื่ องประดับที่ราคามีความผันผวนมาก) และสินค้ าที่ใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเข้ มข้ น (เช่น สินค้ าปิ โตรเคมี เป็ นต้ น) ได้ ขยายตัวจนสูงกว่าระดับสูงสุดก่อนวิกฤติ เนื่องจากมีการขยาย ตลาดส่งออกไปยังประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่มากขึ ้น ปริ มาณการส่งออกสินค้ าไฮเทคไม่ขยายตัวเท่าที่ควร อันเป็ นผลมาจากการหดตัวของการส่ง ้ ่ ออกในสินค้ าชิ ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ทัง้ ๆ ที่การส่งออกยานยนต์มีการขยายตัวอย่างสูง ทังนี ้ ถึงแม้ วาปริ มาณการส่งออกมีการลดต่ำลงอย่างมาก ั ่ ู ในเดือนกรกฏาคม แต่ก็ยงขยายตัวได้ อย่างต่อเนื่อง และในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 ปริ มาณการส่งออกสินค้ าแทบทุกประเภทอยูสงกว่าระดับสูงสุด ก่อนวิกฤติ อย่างไรก็ดี การส่งออกสินค้ าไฮเทคยังคงขยายตัวน้ อยกว่าการส่งออกสินค้ าประเภทอื่นๆ ในขณะที่การส่งออกสินค้ าเกษตรฟื นตัวอย่าง ้ ้ แข็งแกร่งหลังจากน้ ำท่วม ทังนี ้ การส่งออกสินค้ าเกษตรยังคงต่ำกว่าระดับสูงสุดก่อนวิกฤติ อันเป็ นผลมาจากภาวะน้ ำท่วมในครึ่งหลังของปี 2553 รู ปที่ 35 ปริมาณการส่ งออกมีการขยายตัวในสินค้ าแทบ รู ปที่ 36 การขยายตัวของมูลค่ าการส่ งออกเป็ นไปในทิศทาง ทุกประเภทหลังจากผ่ านช่ วงวัฎจักรการสะสมสินค้ าคงคลัง ิ เดียวกับประเทศในภูมภาคเอเชียตะวันออก ทว่ า ปริมาณ การส่ งออกมีการขยายตัวในอัตราที่ต่ำกว่ า Ratios based on indices of export volume, seasonally-adjusted. Changes in export value and volume from 9/2008 to 1/2011 (percent) 120 Thailand Labor Intensive Resource Based South Korea 110 June 2010 vs. Pre-Crisis Peak Singapore 100 High-tech All Products Philippines 90 Malaysia Value Volume Indonesia 80 Hong Kong SAR, China 70 China East Asia & Agriculture Pacific 60 60 80 100 120 140 0 20 40 60 80 Current Levels vs. June 2010 ที่มา กระทรวงพาณิชย์ ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา DECPG และการคำนวณของธนาคารโลก ิ การขยายตัวของปริมาณการส่ งออกของไทยยังคงต่ ำกว่ าประเทศในแถบภูมภาคนี ้ ทว่ า มูลค่ าสินค้ าออกมีการขยายตัวในระดับ ้ เดียวกันกับประเทศเหล่ านีโดยเป็ นผลมาจากราคาสินค้ าส่ งออกที่สูงขึน ้ ่ ทำให้ สวนแบ่งตลาดของสินค้ าส่งออกไทยในตลาดโลกสูงขึ ้น ้ ขณะที่การส่งออกของประเทศต่างๆ ในช่วงหลังวิกฤติเศรษฐกิจมีการขยายตัวของทังทางด้ านปริ มาณและมูลค่า ประเทศไทยเป็ นหนึงในไม่กี่ ่ ่ ้ ประเทศในแถบเอเชียตะวันออก (ซึงรวมถึงฮ่องกงด้ วย) ที่การขยายตัวของมูลค่าการส่งออกนันสูงกว่าการขยายตัวของปริ มาณการส่งออก ่ ่ ่ิ ู (รูปที่ 36) ซึงสอดคล้ องกับสภาวการณ์ที่โครงสร้ างสินค้ าออกเริ่ มเปลียนไปสูสนค้ าที่ผ้ ผลิตมีอำนาจในการกำหนดราคามากขึ ้น ซึงทำให้ ผ้ สงออก ่ ู่ สามารถรับมือกับปั ญหาการแข็งค่าของเงินสกุลท้ องถิ่นได้ ดีกว่าประเทศอื่นๆในภูมิภาคนี ้ จึงเป็ นผลให้ ประเทศไทยสามารถเพิ่มส่วนแบ่งตลาด ึ ้ ่ สินค้ าส่งออกในตลาดโลกได้ ถงร้ อยละ 15 ตังแต่ชวงที่วิกฤติเศรษฐกิจกำลังดำเนินอยู่ (รูปที่ 37) ทังนี ้ การเพิ่มส่วนแบ่งตลาดของไทยอยูในระดับที่ ้ ่ ่ ้ ใกล้ เคียงกับประเทศอื่นๆในภูมิภาค ซึงส่วนแบ่งตลาดสินค้ าส่งออกของภูมิภาคเอเชียตะวันออกทังภูมิภาคก็มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง 19<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 37 กลุ่มประเทศอาเซียนได้ ส่วนแบ่ งการส่ งออกใน ี ึ้ รู ปที่ 38 แนวโน้ มการส่ งออกสำหรั บปี พ.ศ. 2554 เริ่มดูดขน ตลาดโลกมากขึน ้ ้ ตังแต่ เดือนธันวาคมเป็ นต้ นมา Change in market share (percent) Market shares (percent) Forecast goods export value in 2011(billions US$). Horizontal axis shows months that surveys were conducted 35 12 11 30 10 250 Mean forecast 2011 9 25 8 7 230 20 6 15 5 210 4 10 3 5 2 190 1 0 0 170 150 Nov Dec Jun Feb Aug Sep 11 Jan Feb May 10 Jan Apr Jul Oct Mar % change in market share between Jun-Aug 08 and Dec 10 (left axis) Market share in December 2010 (right axis) Market Share in December 2000 (right axis) ที่มา กระทรวงพาณิชย์ ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา การประมาณการของนักวิเคราะห์และการคำนวณของธนาคารโลก ั การขยายตัวของการส่ งออกจะค่ อยๆ กลับเข้ าสู่ภาวะปกติ เนื่องจากเศรษฐกิจของประเทศที่พฒนาแล้ วเริ่มมีการฟื ้ นตัว อย่ างไรก็ตาม การขยายตัวของการส่ งออกในปี พ.ศ. 2554 คาดว่ าจะยังคงตํ่ากว่ าค่ าเฉลี่ย การขยายตัวของการส่งออกของไทยจะค่อยๆ กลับเข้ าสูภาวะปกติ ่ โดยคาดว่าการส่งออกจะขยายตัวร้ อยละ 7.3 ในปี พ.ศ. 2554 ซึงเป็ นการประมาณการที่สงขึ ้นจากประมาณการเดิม เนื่องจากสถานการณ์ใน ่ ู ้ ่ ตลาดโลกปรับตัวดีขึ ้นมากตังแต่เดือนธันวาคมที่ผานมา อันเป็ นผลมาจากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริ กาที่มีแนวโน้ มดีขึ ้น (รูปที่ 38) สถานการณ์เศรษฐกิจในสหรัฐอเมริ กาที่ดีขึ ้นหมายความว่าเศรษฐกิจของกลุมประเทศ 3G จะไม่เป็ นตัวถ่วงความต้ องการสินค้ านำเข้ าในตลาด ่ ุ่ ่ โลกมากนัก ทว่า เหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศญี่ปนคาดว่าจะมีผลกระทบทางลบต่อการส่งออก ถึงแม้ วาการขยายตัวของอุปสงค์จาก ่ ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ชวยพยุงการส่งออกเอาไว้ ไม่ให้ ลดต่ำลงมาก แต่ก็ไม่เพียงพอที่จะทดแทนอุปสงค์ที่ลดลงได้ ทงหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ั้ ั ในปั จจุบนที่การส่งออกไปยังประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเริ่ มชะลอตัวลงจากการที่รัฐบาลจีนได้ พยายามลดความร้ อนแรงทางเศรษฐกิจเพื่อรับ ้ ่ ่ มือกับแรงกดดันภาวะเงินเฟอ นอกจากนี ้ ปริ มาณการค้ าระหว่างประเทศ (ซึงเคลือนไหวในทิศทางเดียวกับการส่งออกของไทย) ซึงมีการขยายตัว่ ที่ดีขึ ้นแต่ก็ยงคงอยูตํ่ากว่าระดับเฉลีย แสดงให้ เห็นถึงเศรษฐกิจของกลุมประเทศที่พฒนาแล้ วที่ยงไม่ฟืนตัวเท่าไรนัก อย่างไรก็ตาม การส่งออกของ ั ่ ่ ่ ั ั ้ ประเทศไทยน่าจะมีการขยายตัวได้ เพิ่มขึ ้นจากการส่งออกไปยังตลาดส่งออกใหม่ๆ ในภูมิภาคอาเซียนและละตินอเมริ กา (ซึงมีข้อตกลงการค้ าเสรี ่ ่ ่ิ ระหว่างไทยและเปรูรองรับแล้ ว) นอกจากนี ้ การเปลียนแปลงสัดส่วนโครงสร้ างสินค้ าไปสูสนค้ าเกษตร ปิ โตรเคมี และรถยนต์ที่มากขึ ้นน่าจะมีสวน ่ ู ช่วยสนับสนุนการขยายตัวของมูลค่าการส่งออกของไทยและช่วยชดเชยเงินตราต่างประเทศที่สญเสียไปจากการที่ราคาน้ ำมันสูงขึ ้น 20<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 กรอบที่ 3 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้ าส่ งออก ู ้ ู ่ การจำแนกสินค้ าส่งออกตามภาคการผลิตโดยการทำดัชนีมลค่า ดัชนีปริ มาณ และดัชนีราคานัน เป็ นการพิสจน์ได้ อย่างดีวา มูลค่าการส่งออก สินค้ ายานยนต์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี และสินค้ าเกษตรสูงขึ ้นจากการที่ราคาปรับตัวสูงขึ ้น ในส่วนของสินค้ าเกษตรและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ู ั ดัชนีราคาของสินค้ าเหล่านี ้สูงขึ ้นตามราคาในตลาดโลกที่สงขึ ้น ในขณะที่ดชนีราคาสินค้ ายานยนต์มีการปรับตัวสูงขึ ้นจากการที่มีการส่งออก ่ ู ู รถยนต์โดยสาร (ซึงมีราคาที่สง) ในสัดส่วนที่สงขึ ้นเมื่อเทียบกับรถปิ คอัพ %YoY %YoY Automotive Export Volume %YoY 80 E&E Export Volume %YoY 100 Automotive Export Price %YoY 60 E&E Export Price %YoY 80 Automotive Export Value %YoY E&E Export Value %YoY 40 60 40 20 20 0 0 -20 -20 -40 -40 -60 -60 %YoY Petrochemical Export Volume %YoY %YoY Petrochemical Export Price %YoY Textiles Export Volume %YoY 80 Petrochemical Export Value %YoY Textiles Export Price %YoY Textiles Export Value %YoY 60 20 40 10 20 0 0 -10 -20 -20 -40 -60 -30 %YoY Agriculture Export Volume %YoY %YoY Total Export Volume %YoY 120 Total Export Price %YoY Agriculture Export Price %YoY 100 Total Export Value %YoY Agriculture Export Value %YoY 80 60 40 10 20 0 0 -10 -20 -20 -40 -30 -60 -40 21<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 2.2.3 การส่ งออกบริการ การท่ องเที่ยวเริ่มฟื ้ นตัวในปี 2553 หลังจากเกิดวิกฤติทางการเมืองในเดือนเมษายนและพฤษภาคม จำนวนนักท่องเที่ยวในเดือน กุมภาพันธ์ 2554 สูงถึง 1.57 ล้ านคน ซึงสร้ างสถิตสงที่สดเป็ นประวัตการณ์ (รูปที่ 39) โดยสูงขึ ้นกว่าร้ อยละ 74 จากจำนวนนักท่องเที่ยวใน ่ ิ ู ุ ิ ิ ู ุ ้ เดือนพฤษภาคม และสูงกว่าสถิตจำนวนนักท่องเที่ยวที่สงที่สดก่อนเกิดวิกฤติการเมืองราวๆ ร้ อยละ 12 ทังนี ้ ในขณะที่วิกฤติเศรษฐกิจและการปิ ด ่ ่ ิ สนามบินส่งผลให้ จำนวนนักท่องเทียวลดลงเป็ นระยะเวลายาวนานเกือบหนึงปี แต่วกฤติการเมืองในช่วงเดือนเมษายนและพฤษภาคมกลับไม่ได้ สงผล ่ กระทบต่อการท่องเที่ยวของประเทศไทยมากนัก (รูปที่ 40) อย่างไรก็ตาม การขยายตัวของการท่องเที่ยวเริ่ มชะลอตัวลงไปในทิศทางเดียวกับ ่ ้ ประเทศอื่นๆในภูมิภาคนี ้ ซึงมีการขยายตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ ามาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ร้อยละ 12 ทังนี ้ ในขณะที่สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศไทยเริ่ มมันคงขึ ้น อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวยังคงได้ รับผลกระทบจากอุทกภัยที่เกิดขึ ้นในภาคใต้ ของ ่ ่ ่ ประเทศ ซึงกระทบสถานที่ทองเที่ยวสำคัญ เช่น เกาะสมุย เป็ นต้ น รู ปที่ 39 นักท่ องเที่ยวเดินทางกลับเข้ ามาท่ องเที่ยวยัง รู ปที่ 40 ภาคการท่ องเที่ยวมีการการฟื ้ นตัวเร็วกว่ าวิกฤติ ประเทศไทยอย่ างต่ อเนื่องสูงสุดเป็ นประวัตการณ์ิ ้ ครั งก่ อนๆ Percent Million persons Movements in Tourist Arrivals, t=0 shows the peak crisis point (=100) 50 Growth ( YoY %) 1.7 160 Avian Flu (Jan. 2005) 1.6 Airport Closure (Dec. 2009) 40 MoM sa, 3mma May Turmoil (May 2010) 1.5 150 Number of tourists 30 (sa, RHS) 1.4 140 20 1.3 130 10 1.2 1.1 120 0 1.0 110 -10 0.9 -20 100 0.8 -30 0.7 90 08 Jan Jun Nov Apr Sep Feb Jul Dec t=-5 t=-4 t=-3 t=-2 t=-1 t=0 t=1 t=2 t=3 t=4 t=5 ที่มา ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก รายรั บต่ อหัวจากนักท่ องเที่ยวลดลงในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 และยังคงต่ ำกว่ าระดับที่เคยเป็ นในช่ วงก่ อนเกิดวิกฤติ ่ เศรษฐกิจโลก (รู ปที่ 14) แนวโน้ มการลดลงของรายรับต่อหัวจากนักท่องเที่ยวเกิดขึ ้นจากการเปลียนแปลงโครงสร้ างของนักท่องเที่ยวจากกลุม ่ ประเทศ OECD มาเป็ นนักท่องเที่ยวจากประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก การขยายตัวของรายรับจากนักท่องเที่ยวที่มีอตรา ั ้ ลดลงนันเกิดขึ ้นพร้ อมๆ กับการท่องเที่ยวที่ขยายตัวขึ ้นในประเทศเพื่อนบ้ าน (ลาว กัมพูชา พม่าและเวียดนาม) เนื่องจากนักท่องเที่ยวนิยมเดินทาง ท่องเที่ยวนอกประเทศไทยมากขึ ้น นอกจากนี ้ นักท่องเที่ยวมีแนวโน้ มใช้ เวลาเที่ยวในกรุงเทพฯ ลดลง จำนวนแขกต่างชาติที่เข้ าพักในโรงแรมใน เขตกรุงเทพฯ ลดลงร้ อยละ 34 ในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 แต่ก็ถกทดแทนโดยการขยายตัวของการท่องเที่ยวในจังหวัดภาคใต้ (กระบี่ ู ่ ภูเก็ต และเกาะพงัน) ซึงจำนวนแขกเข้ าพักในโรงแรมมีการปรับตัวสูงขึ ้นถึงร้ อยละ 15-40 เมื่อเทียบกับปี ที่แล้ ว การท่องเที่ยวในต่างจังหวัดก็มี การขยายตัวมากขึ ้น เนื่องจากการเดินทางไปต่างจังหวัดจากกรุงเทพฯ มีความสะดวกสบายมากขึ ้น โดยมีสายการบินต้ นทุนต่ำและโรงแรมที่พกที่ได้ ั มาตรฐานให้ เลือกมากมาย 22<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 41 รายรั บจากนักท่ องเที่ยวลดลงในไตรมาสที่ 4 รู ปที่ 42 โดยส่ วนหนึ่งเป็ นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงในโครง สร้ างของนักท่ องเที่ยว USD Percent Contribution to year-on-year tourist arrival growth (percent) Travel receipts per tourist, TRPT (sa, USD) 45.0 1,400 TRPT growth (YoY, RHS) 20 40.0 TRPT growth (QoQ sa, RHS) 15 35.0 ASEAN 1,300 Others 30.0 10 Emerging East Asia 25.0 1,200 Europe 5 20.0 Japan 1,100 0 15.0 -5 10.0 1,000 5.0 -10 0.0 900 -15 -5.0 800 -20 -10.0 08 Q2 Q3 Q4 09 Q2 Q3 Q4 10 Q2 Q3 Q4 -15.0 Q1 Q1 Q1 10 Jan Mar May J ul Sep Nov 11-Jan ที่มา ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก สอดคล้ องกับการลดลงของรายรั บจากนักท่ องเที่ยว จำนวนนักท่ องเที่ยวจากประเทศยุโรปซึ่งมีการใช้ จ่ายต่ อหัวสูงมีการขยายตัวใน ิ สัดส่ วนที่น้อยกว่ าเมื่อเทียบกับจำนวนนักท่ องเที่ยวจากประเทศในภูมภาคเอเชียตะวันออก ซึ่งมีระยะเวลาการเที่ยวที่สันกว่ าและมี้ ่ การใช้ จ่ายต่ อหัวที่ต่ำกว่ า (รู ปที่ 42) การขยายตัวที่ลดลงของจำนวนนักท่องเที่ยวจากยุโรปเกิดจากปั ญหาวิกฤติหนี ้สาธารณะของกลุมประเทศ ่ ยุโรปใต้ ซึงก่อให้ เกิดผลกระทบต่อรายได้ และความผันผวนของค่าเงินยูโรเมื่อเทียบกับเงินสกุลท้ องถิ่นในเอเชียตะวันออก การลดลงของจำนวนนัก ท่องเที่ยวจากยุโรปถูกทดแทนโดยการขยายตัวของนักท่องเที่ยวจากกลุมประเทศอาเซียน (โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาเลเซีย) และเอเชียตะวันออก ่ ุ่ ่ (ได้ แก่ ญี่ปนและเกาหลี) ซึงในเดือนมกราคม 2554 นักท่องเที่ยวจากสองภูมิภาคนี ้คิดเป็ นสัดส่วนมากกว่าร้ อยละ 40 ของการขยายตัวของ ่ จำนวนนักท่องเที่ยว อนึง นักท่องเที่ยวจากประเทศจีนได้ กลายเป็ นกลุมนักท่องเที่ยวสำคัญของไทยหลังจากที่ได้ มีการยกเว้ นค่าธรรมเนียมการขอ ่ ั ใบอนุญาตเข้ าประเทศให้ แก่นกท่องเที่ยวจากประเทศจีนในช่วงต้ นปี 2552 จำนวนนักท่องเที่ยวจากประเทศจีนเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 45 ในปี พ.ศ. 2553 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2552 อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ วาการเพิ่มขึ ้นของนักท่องเที่ยวจากประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกจะเป็ นประโยชน์ตอ ่ ่ ั ่ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย ราคาที่พกโดยเฉลียลดลงราวร้ อยละ 2 ในปี พ.ศ. 2553 จากอุปทานของโรงแรมที่เพิ่มขึ ้น ้ ิ ้ ถึงแม้จำนวนนักท่องเที่ยวจะสูงขึนเป็ นประวัตการณ์ และมีรายรับจากนักท่องเที่ยวมากขึนการส่งออกบริการโดยรวมหดตัวลงในไตรมาสสุดท้าย ของปี พ.ศ. 2553 ถึงแม้ การส่งออกสินค้ ามีการขยายตัวสูงขึ ้นและจำนวนนักท่องเที่ยวมีมากขึ ้น รายรับจากการบริ การคมนาคมขนส่งกลับลดลง ่ ในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 ซึงอาจมีสาเหตุจากการใช้ บริ การสายการบินต้ นทุนต่ำหรื อสายการบินต่างประเทศมากขึ ้น (รูปที่ 43) นอกจากนี ้ การแข็งค่าของเงินบาทยังส่งผลให้ รายรับในรูปของเงินบาทลดลง (ในขณะที่รายรับจากการบริ การในรูปของเงินดอลล่าร์ สหรัฐอเมริ กาสูงขึ ้นร้ อยละ ่ ้ 11 แต่มีคาคงที่หากวัดในรูปของเงินบาท) ทังนี ้ ภาคการบริ การมีความสามารถในการกำหนดราคาค่อนข้ างจำกัดและไม่สามารถผลักภาระอันเกิด จากค่าเงินที่แข็งตัวขึ ้นไปยังผู้บริ โภคได้ เนื่องจากมีการแข่งขันที่สงและความยืดหยุนของอุปสงค์จากนักท่องเที่ยวจากประเทศที่พฒนาแล้ วก็มีคา ู ่ ั ่ ่ ้ สูงขึ ้น การหดตัวของภาคการบริ การอื่นๆ (ซึงคิดเป็ นร้ อยละ 20 ของการส่งออกบริ การทังหมดของไทย) อีกราวร้ อยละ 18 ก็เป็ นส่วนหนึงที่ทำให้ การส่ง ่ ้ ้ ออกบริ การรวมของไทยหดตัวลง ทังนี ภาคการบริ การอื่นๆ ครอบคลุมถึงการบริ การทางวิชาชีพและเทคนิค เช่น การบริ การด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ปรึกษากฎหมายและงานสถาปนิก เป็ นต้ น ภาคเศรษฐกิจเชิงสร้ างสรรค์ กลายเป็ นแรงขับเคลื่อนใหม่ ในการขยายตัวของภาคการบริการส่ งออก รายรับจากค่าลิขสิทธิ์และค่า ธรรมเนียมต่างๆ สูงขึ ้นร้ อยละ 146 ในไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2553 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี ก่อน และรายรับในปี พ.ศ. 2552 และ ่ ่ 2553 เพิ่มสูงกว่าระดับเฉลียในช่วง พ.ศ. 2550-2551 ถึงร้ อยละ 88 ส่วนหนึงเป็ นสาเหตุมาจากการส่งออกรายการโทรทัศน์ไปยังประเทศจีน ทังนี ้้ อุตสาหกรรมบันเทิงของไทยดึงดูดความสนใจชาวจีนค่อนข้ างมาก เนื่องจากความคล้ ายคลึงกันของวัฒนธรรมของสองประเทศและความคุ้มค่า ของรายการโทรทัศน์จากเมืองไทย 23<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ รู ปที่ 43 รายรั บจากภาคการขนส่ งลดลง ทังๆ ที่การส่ งออกขยาย ้ ตัวและมีรายรั บจากการท่ องเที่ยวมากขึน Year-on-year growth (percent) 50 40 30 20 10 0 -10 -20 Transportation Travel -30 Other services -40 Q4/2008 p Q2/2009 p Q4/2009 p Q2/2010 p Q4/2010 p ที่มา ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก แนวโน้ มการขยายตัวของภาคการบริการส่ งออกยังคงดีอยู่ แต่ การแข่ งขันทางด้ านการท่ องเที่ยวจะมีสูงขึน ้ แนวโน้ มสำหรับ ั ้ ่ ั ่ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเริ่ มดีขึ ้น เนื่องจากเศรษฐกิจของประเทศที่พฒนาแล้ วเริ่ มฟื นตัว ซึงจะทำให้ นกท่องเที่ยวที่มีการใช้ จายต่อหัวสูงกลับมา ้ ั ท่องเที่ยวในประเทศไทยอีกครัง นอกจากนี ้การขยายตัวของนักท่องเที่ยวจากประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกก็ยงคงดำเนินต่อไป โดยเป็ นผลมา จากประชากรในปรเทศเหล่านี ้มีรายได้ มากขึ ้น อย่างไรก็ตาม การปรับปรุงโครงสร้ างพื ้นฐานและการคมนาคมที่เชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้ าน เช่น กัมพูชา อินโดนีเซียและลาว รวมไปถึงสถานการณ์ทางการเมืองที่เริ่ มสงบของประเทศพม่า น่าจะทำให้ แนวโน้ มของการท่องเที่ยวกลายเป็ นการ ่ ่ ท่องเที่ยวในหลายประเทศทัวภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มากกว่ามาท่องเที่ยวยังประเทศใดประเทศหนึง นอกจากนี ้ ปั ญหาเรื่ องสิงแวด ่ ล้ อมกลายเป็ นปั จจัยที่มีผลต่อแนวโน้ มของการท่องเที่ยวมากขึ ้น ดังจะเห็นได้ จากเหตุการณ์น้ำท่วมในภาคใต้ และการปิ ดอุทยานแห่งชาติทางทะเล ้ ้ เพื่อให้ ปะการังฟื นตัว ทังนี ้ ประเทศไทยควรพิจารณาสนับสนุนการเติบโตของภาคการบริ การส่งออกอื่นๆ อันรวมถึงภาคเศรษฐกิจเชิงสร้ างสรรค์ เช่น งานด้ านสถาปั ตยกรรม ดนตรี ภาพยนตร์ และรายการโทรทัศน์ เป็ นต้ น 2.3 อุปสงค์ ภายในประเทศ อุปสงค์ ภายในประเทศเป็ นปั จจัยขับเคลื่อนให้ เศรษฐกิจไทยมีการขยายตัวอย่ างต่ อเนื่ องเมื่อผ่ านพ้ นช่ วงการเร่ งฟื ้ นตัวหลังวิกฤติ ้ แล้ ว การบริ โภคภาคเอกชนสุทธิ (หักการนำเข้ าสินค้ าบริ โภคแล้ ว) ขยายตัวร้ อยละ 3 ในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 ทังนี ้ ยอดขายยาน ้ ู พาหนะมีการขยายตัวในระดับสูงที่ร้อยละ 18 ในช่วงไตรมาสนัน การลงทุนภาคเอกชนชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้ า แต่มลค่าเพิ่มที่เกิดขึ ้น ู ภายในประเทศมีสงขึ ้น เนื่องจากการนำเข้ าสินค้ าทุนชะลอตัวลงมากกว่าการลงทุนในอุปกรณ์เครื่ องจักรโดยรวม ยอดขายยานพาหนะและอุปกรณ์ เครื่ องจักรในประเทศที่เพิ่มสูงขึ ้นทำให้ การผลิตภาคอุตสาหกรรมโดยรวมขยายตัว อันเป็ นการทดแทนการลดลงของอุปสงค์จากต่างประเทศ ้ ่ นอกจากนี ้ ภาคการก่อสร้ าง (ทังภาครัฐและภาคเอกชน) ที่ขยายตัวถึงร้ อยละ 10 ก็ชวยกระตุ้นให้ เกิดอุปสงค์ภายในประเทศอีกด้ วย โดยรวมแล้ ว ่ มูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ ้นภายในประเทศ (ไม่วาเพื่อใช้ ในการบริ โภคหรื อการลงทุน) มีการขยายตัวอย่างมันคงที่ร้อยละ 8 ในไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. ่ ้ ้ 2553 ทังนี ้ ในสามไตรมาสหลังจากช่วงการเร่งฟื นตัวหลังวิกฤติ อุปสงค์ภายในประเทศคิดเป็ นสัดส่วนต่อการขยายตัวของ GDP ราวๆ ร้ อยละ 180 (กล่าวคือ ช่วยชดเชยการลดลงของอุปสงค์จากต่างประเทศด้ วย) เปรี ยบเทียบกับสัดส่วนร้ อยละ 34 ในช่วงการเร่งฟื นตัวหลังวิกฤติ และร้ อยละ ้ 21 ในช่วงปี พ.ศ. 2549-2551 อุปสงค์ภายในประเทศคาดว่าจะยังคงมีทิศทางที่สดใสอย่างต่อเนื่องในปี พ.ศ. 2554 เนื่องจากราคาสินค้ าเกษตร ้ ่ (และรายได้ ชนบท) ที่ทรงตัวในระดับสูง รวมทังนโยบายการคลังและนโยบายการเงินที่ชวยสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจ ถึงแม้ วาจะมีความ่ ่ ้ ู เสียงที่เกิดจากเงินเฟอที่สงขึ ้นก็ตาม 24<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 2.3.1 การบริโภคภาคครั วเรื อน การบริโภคภาคครั วเรื อนยังคงขยายตัวอย่ างต่ อเนื่องในไตรมาสที่ส่ ีของปี พ.ศ. 2553 โดยเป็ นผลมาจากราคาสินค้ าเกษตรที่ทรง ตัวในระดับสูง ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่สูงขึน และอัตราดอกเบียที่ทรงตัวในระดับตํ่า การขยายตัวของการบริ โภคภาคครัวเรื อน ้ ้ สัมพันธ์กบยอดขายยานพาหนะในประเทศที่สงสุดเป็ นประวัตการณ์ ในเดือนธันวาคม 2553 ยอดขายรถยนต์โดยสารขยายตัวในอัตราร้ อยละ 76.5 ั ู ิ ่ ู ุ ้ ู เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน ซึงเป็ นอัตราการขยายตัวที่สงที่สด ทังนี ้ รายได้ ในภาคเกษตรที่สงขึ ้นนอกจากจะช่วยเพิ่มอำนาจในการใช้ จายของ ่ ั ประชากรในชนบทแล้ ว ยังทำให้ อตราค่าจ้ างแรงงานในภาคเศรษฐกิจที่ต้องแข่งขันกับภาคเกษตรในการดึงดูดแรงงานเพิ่มสูงขึ ้น นอกจากนี ้ จาก ั ่ ัิ ิ ่ ่ การที่อตราดอกเบี ้ยอยูในระดับต่ำและการอนุมตสนเชื่อรถยนต์ที่ไม่เข้ มงวด ทำให้ อำนาจการใช้ จายที่เพิ่มขึ ้นนำไปสูการขยายตัวของอุปสงค์ตอ ่ ้ ู รถยนต์โดยสาร (รูปที่ 44) ทังนี ้ ราคาสินค้ าเกษตรที่สงขึ ้นยังสร้ างแรงจูงใจให้ ครัวเรื อนในชนบทลงทุนซื ้อรถปิ คอัพมากขึ ้น เพื่อช่วยในการขนส่ง ่ ่ ่ ผลผลิตทางการเกษตรไปสูตลาด นอกจากนี ้ยอดขายของสินค้ าคงทนอื่นๆ ก็ขยายตัวสูงขึ ้นเช่นเดียวกัน ซึงนำไปสูปริ มาณการใช้ ไฟฟาของภาคครัว ้ ่ ู ้ ้ เรื อนที่เพิ่มขึ ้นสูระดับที่สงสุดในปี พ.ศ. 2553 ทังนี ้ การสำรวจการใช้ พลังงานภาคครัวเรื อนบ่งชี ้ว่า ปริ มาณการใช้ ไฟฟาภาคครัวเรื อนที่เพิ่มขึ ้นเป็ น ้ ผลมาจากการใช้ เครื่ องใช้ ไฟฟาที่มากขึ ้น (โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่ องปรับอากาศและตู้เย็น) ในครัวเรื อนไทย รู ปที่ 44 การบริโภคขยายตัวเนื่องจากรายได้ ภาคเกษตรสูง รู ปที่ 45 อัตราค่ าจ้ างในภาคเกษตรมีความสัมพันธ์ กับอัตรา ขึนและอัตราดอกเบียอยู่ในระดับต่ ำ ้ ้ ค่ าจ้ างแรงงานไร้ ฝีมือ Year-on-year growth rate (percent) Interest rate (percent) Real wages (overall) Real wages (agriculture) (percent change from the previous year) 8.0 20.0 65.0 7.5 Consumer interest rate 15.0 55.0 6.0 (right axis) 7.0 10.0 45.0 4.0 5.0 35.0 6.5 2.0 0.0 25.0 0.0 -5.0 15.0 6.0 -10.0 5.0 -2.0 -15.0 -5.0 5.5 -4.0 -20.0 -15.0 -6.0 -25.0 Car sale index Auto loans -25.0 5.0 Consumer confidence Farm income -8.0 overall Agriculture (right axis) -30.0 ที่มา มหาวิทยาลัยหอการค้ า ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก ิ ที่มา สำนักงานสถิตแห่งชาติ กระทรวงพาณิชย์ และการคำนวณของธนาคารโลก ราคาสินค้ าเกษตรที่ทรงตัวในระดับสูง ้ อัตราค่ าจ้ างที่สูงขึน และนโยบายการคลังและการเงินที่ช่วยสนับสนุนการเติบโตของ ่ เศรษฐกิจ จะช่ วยสนับสนุนการขยายตัวของการบริโภคภาคครัวเรือนในปี พ.ศ. 2554 ถึงแม้ วาปริมาณผลผลิตทางการเกษตรจะมีความผันผวน ่ มากขึ ้นจากสภาพภูมิอากาศที่ไม่เป็ นไปตามฤดูกาล ซึงรวมไปถึงสภาวะฝนแล้ งที่คาดว่าจะเกิดขึ ้นอีกในปี พ.ศ. 2554 ก็ตาม ปริ มาณผลผลิตทางการ ่ เกษตรไม่นาจะหดตัวลงมากไปกว่าที่เป็ นอยู่ เนื่องจากปี ที่แล้ วปริ มาณผลผลิตมีการหดตัวลดลงอย่างมาก ขณะเดียวกัน ราคาสินค้ าเกษตรคาด ่ ่ ่ ว่าจะยังคงทรงตัวในระดับสูง (ดูสวนที่ 2.2.1) ซึงนำไปสูการขยายตัวของรายได้ ในภาคเกษตรและอัตราค่าจ้ างแรงงาน นอกจากนี ้ การที่รัฐบาล ่ ประกาศเพิ่มราคากลางในโครงการประกันราคาสินค้ าเกษตรก็มีสวนช่วยสนัยสนุนการขยายตัวของรายได้ ในภาคเกษตรอีกด้ วย รายได้ ภาคเกษตร ู ่ ่ ที่สงขึ ้นส่งผลให้ คาจ้ างแรงงานไร้ ฝีมือเพิ่มสูงขึ ้นด้ วย (รูปที่ 45) ในขณะที่ตลาดแรงงานมีความตึงตัว (ดูสวนที่ 3.1) ทำให้ รายได้ ของแรงงานสูงขึ ้น ้ ทังนี ้ ในขณะที่แนวโน้ มปี พ.ศ. 2554 ค่อนข้ างสดใส การบริ โภคภายในประเทศยังคงอ่อนไหวต่อค่าครองชีพที่สงขึ ้น เนื่องจากค่าครองชีพที่สงขึ ้น ู ู ่ ้ ทำให้ รายได้ ที่แท้ จริ งลดลง ดัชนีความเชื่อมันผู้บริ โภคลดลงเล็กน้ อยเป็ นครังแรกในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 โดยเป็ นผลมาความไม่แน่นอนอันเกิด ู จากราคาน้ ำมันที่สงขึ ้น ความขัดแย้ งระหว่างไทยและกัมพูชา และเหตุการณ์น้ำท่วมที่ภาคใต้ นอกจากนี ้ การบริ โภคยังอาจได้ รับผลกระทบจาก ่ ึ ุ การคาดการณ์วาธนาคารแห่งประเทศไทยจะดำเนินนโยบายการเงินที่ตงตัวขึ ้น ท้ ายที่สด สภาพภูมิอากาศที่ผิดปกติเช่นเดียวกับปี ที่แล้ วซึงอาจเกิด ่ ขึ ้นในปี นี ้อีก ก็จะส่งผลกระทบทางลบต่อการบริ โภคภายในประเทศเช่นเดียวกัน 25<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 2.3.2 การลงทุนภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชนค่ อนข้ างทรงตัวในช่ วงครึ่งหลังของปี พ.ศ.2553 สอดคล้ องกับการชะลอตัวลงของการส่ งออก การขยายตัวของการลงทุน ั ภาคเอกชนชะลอตัว โดยมีอตราการขยายตัวเท่ากับร้ อยละ 9.2 ในไตรมาสสุดท้ ายของปี พ.ศ. 2553 หลังจากที่มีการขยายตัวสูงถึงร้ อยละ 17.8 และ 14.6 ในไตรมาสที่ 2 และ 3 ตามลำดับ (เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน) การขยายตัวของการลงทุนในอุปกรณ์เครื่ องจักรและการลงทุนในสิง ่ ก่อสร้ างล้ วนแต่มีการชะลอตัวลงในไตรมาสที่ 4 เท่ากับร้ อยละ 9.2 และ 9.4 ตามลำดับ เทียบกับอัตราการขยายตัวในไตรมาสที่ 3 ที่ร้อยละ 15.2 และ ้ 12.8 ทังนี ้ การลงทุนภาคเอกชนจะขึ ้นกับการลงทุนในอุปกรณ์เครื่ องจักร ซึงคิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 78 ของการลงทุนภาคเอกชนโดยรวม เป็ นสำคัญ ่ การลงทุนในอุปกรณ์เครื่ องจักรเริ่ มชะลอตัวลง อันเป็ นผลมาจากการชะลอตัวของการส่งออกสินค้ าอุตสาหกรรมในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. ่ 2553 ซึงสะท้ อนโดยอัตราการใช้ เครื่ องจักรที่ลดลงในภาคการผลิตเพื่อการส่งออก (รูปที่ 46) การก่อสร้ างฟื นตัวขึ ้นในช่วงครึ่งแรกของปี พ.ศ. 2553 ้ ้ ก่อนที่จะชะลอตัวลงในไตรมาสที่ 3 และ 4 ทังนี ้ ขณะที่มาตรการทางด้ านภาษี อากรช่วยกระตุ้นอุปสงค์ในตลาดอสังหาริ มทรัพย์ในช่วงสองไตรมาส ่ แรกของปี การกวดขันทางด้ านการปล่อยสินเชื่อนำไปสูการชะลอตัวลงของอุปสงค์ในครึ่งหลังของปี พ.ศ. 2553 (รูปที่ 47) นอกจากนี ้ การลงทุนใน ิ ภาคการก่อสร้ างอาจชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่องโดยเป็ นผลมาจากราคาวัตถุดบในการก่อสร้ างในตลาดโลกที่สงขึ ้น ู รู ปที่ 46 การใช้ กำลังการผลิตในภาคการผลิตเพื่อส่ งออกมี รู ปที่ 47 การขยายตัวในภาคอสังหาริมทรั พย์ ชะลอตัวลงใน แนวโน้ มลดลงหลังผ่ านพ้ นช่ วงการฟื ้ นตัวของเศรษฐกิจ ้ ไตรมาสที่ 4 เนื่องจากการควบคุมการปล่ อยสินเชื่อที่เข้ มงวดขึน Capacity utilization rate (percent) New Housing Index (Q3 2008 = 100) Year-on-year growth (percent) 450 18 75 400 16 Exports > 350 14 70 30 percent Average 300 12 (2002-2008) 250 10 65 Overall 200 8 60 150 6 100 4 55 50 2 0 0 50 Q1/2008 Q 3/2008 Q 1/2009 Q 3/2009 Q 1/2010 Q 3/2010 Bangkok Housing Project 45 Bangkok Apartment and Condominium Bangkok Self Built Housing Jan-07 Jan-08 Jan-09 Jan-10 Jan-11 Personal Housing Credit (RHS) ที่มา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก การขยายตัวของการลงทุนคาดว่ าจะชะลอตัวลงในปี พ.ศ. 2554 ทว่ า อาจจะมีแนวโน้ มที่ดขนในช่ วงครึ่งหลังของปี การใช้ กำลังการผลิตใน ี ึ้ ู ่ ภาคการผลิตเพื่อการส่งออกในอัตราที่สงและอุปสงค์ตอสินค้ าออกที่ชะลอตัวลง ู ทำให้ คาดว่าการลงทุนน่าจะขยายตัวในอัตราที่ไม่สงนัก ในปี พ.ศ. 2554 การลงทุนใหม่ที่จะเกิดขึ ้นน่าจะมาจากภาคอุตสาหรรมยานยนต์ ซึงมีการประกาศโครงการลงทุนใหม่ๆ ออกมาแล้ ว ่ ่ และจากภาคอุตสาหกรรมอาหาร ซึงมีการยื่นขอการส่งเสริ มการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุนที่มากขึ ้น นอกจากนี ้ การลงทุนใน ุ่ ่ อุตสาหกรรมที่มงเน้ นตลาดในประเทศและการบริ โภคภายในประเทศก็นาจะเกิดขึ ้น เนื่องจากการใช้ กำลังการผลิตในภาคอุตสาหกรรมเหล่านี ้อยูใน ่ ู ้ ้ อัตราที่สงกว่าภาคการผลิตเพื่อการส่งออก อีกทังยังคาดว่าการบริ โภคภายในประเทศจะยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องในปี นี ้ ทังนี ้ มีความเป็ นไปได้ ั ้ ุ ที่นกลงทุนจะรอดูผลการเลือกตังใหญ่ที่จะเกิดขึ ้นในช่วงเดือนมิถนายนหรื อกรกฎาคมนี ้ ดังนัน ถ้ าผลการเลือกตังส่งสัญญาณว่าภาคการเมืองจะมี ้ ้ ่ ่ ่ ้ ความมันคงมากขึ ้น ก็นาจะนำไปสูแนวโน้ มการลงทุนที่มากขึ ้นในช่วงครึ่งหลังของปี พ.ศ. 2554 นี ้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากการฟื นตัวของเศรษฐกิจ โลกยังคงดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง 26<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 48 การลงทุนโดยตรงจากต่ างประเทศหดตัว ้ รู ปที่ 49 แต่ การลงทุนในต่ างประเทศของคนไทยสูงขึน ในไตรมาสที่ 4 Index (Q1 2008 = 100), four quarter moving average NEER USD million, four-quarter moving average Finance, Investment & Real Estate 2,000 E&E, Auto 250 102 Other Industry Other Total non-bank private FDI 101 1,500 Total FDI (BoP) 200 100 1,000 99 150 98 500 100 97 Thai Direct Investment Abroad 96 0 50 (outflows) NEER 95 -500 0 94 Q1/2008 Q 3/2008 Q 1/2009 Q 3/2009 Q 1/2010 Q 3/2010 ที่มา ธปท. ที่มา ธปท. และการคำนวณของธนาคารโลก การลงทุนโดยตรงจากต่ างประเทศ (FDI) ที่ไม่ ใช่ การลงทุนในธนาคาร หดตัวลงร้ อยละ 66 ในไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2553 เนื่องจาก ่ มีการชำระหนีเ้ งินกู้จำนวนมากในภาคอสังหาริมทรั พย์ และภาคการเงิน ในปี ที่ผานมา FDI ที่ไม่รวมการลงทุนในธนาคาร มีการหดตัวลง ร้ อยละ 1.1 (รูปที่ 48) มีความเป็ นไปได้ ที่เงินบาทที่แข็งค่าขึ ้นและสถานการณ์ในตลาดการปล่อยสินเชื่อของไทย ทำให้ สาขาของบริ ษัทต่างชาติ ่ ในประเทศไทยทำการกู้เงินภายในประเทศเพื่อมาลงทุนมากกว่านำเงินกำไรสะสมมาลงทุนหรื อพึงพาเงินลงทุนจากบริ ษัทแม่ มูลค่าการลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศโดยรวม (รวมการลงทุนในธนาคาร) สูงกว่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ไม่รวมการลงทุนในธนาคาร เพียง 1.3 พันล้ านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สนับสนุนแนวคิดที่วาการลงทุนของบริ ษัทต่างชาติในไทยพึงพาการกู้เงินผ่านธนาคารพาณิชย์ในประเทศ ่ ่ (รวมสาขาของธนาคารต่างประเทศในประเทศไทย) ในทางตรงกันข้ าม การลงทุนของไทยไปยังต่างประเทศขยายตัวสูงขึ ้นเป็ นผลสืบเนื่องมาจาก ้ ค่ า เงิ น บาทที่ แ ข็ ง ตั ว ขึ น และการผ่ อ นคลายกฎระเบี ย บเกี่ ย วกั บ การนำเงิ น ทุ น ไปลงทุ น ในต่ า งประเทศโดยธนาคารแห่ ง ประเทศไทย ทำให้ การลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศมีมลค่าเกิน 5 พันล้ านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา (รูปที่ 49) ทังนี ้ การลงทุนของบริ ษัทไทย ู ้ ในต่างประเทศที่สำคัญๆ เช่น การลงทุนในบ่อน้ ำมันที่ประเทศแคนาดาของบริ ษัท ปตท มูลค่า 2.3 พันล้ านเหรี ยญดอลล่าร์ สหรัฐอเมริ กา และการลงทุนซื ้อเหมืองถ่านหินคอนเทนเนียลในออสเตรเลียของกลุมบริ ษัทบ้ านปู มูลค่า 1.68 พันล้ านเหรี ยญดอลล่าร์ สหรัฐอเมริ กา ่ ู การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในปี พ.ศ. 2554 คาดว่าจะมีมลค่าสูงขึ ้นจากการลงทุนโครงการใหญ่ๆ ในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ ้ ทังนี ้ การลงทุนในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ ้นน่าจะเป็ นการลงทุนของบริ ษัทผู้ผลิตรถยนต์จากประเทศสหรัฐอเมริ กาและญี่ปน ุ่ ่ ซึงมีแผนการขยายการผลิตในประเทศไทยที่แน่นอนเพื่อรองรับการเกิดของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ซึงทังมิตซูบชิและ ่ ้ ิ ฟอร์ ดได้ มีการประกาศแผนการลงทุนในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2554 แล้ ว ในทางกลับกัน การลงทุนของบริ ษัทสัญชาติไทยในต่างประเทศ ่ ่ คาดว่าจะขยายตัวสูงขึ ้นอีกในปี พ.ศ. 2554 โดยกลุมบริ ษัทขนาดใหญ่ เช่น กลุมปูนซีเมนต์ไทยและบริ ษัท ปตท เคมีคล จำกัด ั จะมีการขยายการลงทุนในภูมิภาค โดยจะเข้ าลงทุนเพิ่มเติมในพม่า (ดูกรอบที่ 4 เกี่ยวกับโครงการท่าเรื อน้ ำลึกทวาย) กัมพูชาและอินโดนีเซีย ่ การที่เศรษฐกิจมีความผันผวนน้ อยลงน่าจะนำไปสูการมีบทบาทที่ลดลงของการลงทุนในสินค้ าคงคลังต่อระบบเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2554 การ ่ ั ั ่ เปลียนแปลงในสินค้ าคงคลังมีสดส่วนถึงร้ อยละ 42 ในการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจที่อตราร้ อยละ 7.28 ต่อปี ในปี พ.ศ. 2553 ซึงต่อเนื่องมาจากปี ่ ่ พ.ศ. 2551 และ 2552 ที่การเปลียนแปลงในสินค้ าคงคลังมีผลต่อเศรษฐกิจมากผิดปกติ (รูปที่ 50) ซึงสะท้ อนถึงความผันผวนของ GDP ในช่วง ่ ้ ่ ่ 3 ปี ที่ผานมา ทังนี ้ ในอดีตที่ผานมา การเปลียนแปลงในสินค้ าคงคลังมีผลต่อการขยายตัวของ GDP น้ อยมาก เนื่องจากการขยายกำลังการ ผลิตโดยส่วนใหญ่เกิดขึ ้นพร้ อมๆ กับระดับดุลยภาพของสินค้ าคงคลังที่สงขึ ้น (ถึงแม้ วาความก้ าวหน้ าในการบริ หารสินค้ าคงคลังจะพยายาม ู ่ ่ นำไปสูทิศทางและแนวโน้ มที่ตรงกันข้ ามก็ตาม) อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2554 คาดว่า บทบาทของสินค้ าคงคลังต่อการขยายตัวของ GDP น่า ่ ้ ่ จะกลับไปสูระดับต่ำเช่นเดียวกับในอดีต เนื่องจากระบบเศรษฐกิจน่าจะมีความผันผวนลดลง ทังนี ้ การเปลียนแปลงในสินค้ าคงคลังปี พ.ศ. 2554 ู น่าจะส่งผลลบต่อการขยายตัวของ GDP อันเป็ นผลมาจากฐานของการลงทุนในสินค้ าคงคลังที่สงในปี พ.ศ. 2553 เนื่องจากผู้ประกอบการสะสม สินค้ าคงคลังมากเป็ นพิเศษเพื่อชดเชยการลดลงของสินค้ าคงคลังที่เกิดขึ ้นในปี พ.ศ. 2552 27<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 50 บทบาทของการเปลี่ยนแปลงในสินค้ าคงคลังต่ อการขยายตัวของ เศรษฐกิจที่ลดลงสะท้ อนให้ เห็นถึงความผันผวนทางเศรษฐกิจที่ลดลง . Contributions to GDP growth (percentage points) 10.0 8.0 6.0 4.0 2.0 3.3 1.6 0.0 0.1 -0.5 -2.0 -3.7 -4.0 2000-2007 2008 2009 2010 2011 f average Contribution from other demand components Contribution from Inventories GDP Growth ที่มา สศช. และการคำนวณประมาณการของธนาคารโลก กรอบที่ 4 ท่ าเรื อทวาย ั ้ บริษทสัญชาติไทยได้เริ่มมีการลงทุนครังใหญ่ ในบริเวณท่าเรือน้ ำลึกทวายซึ่งอยู่ในประเทศพม่าเพื่อเป็ นหนทางในการลดต้นทุนค่าขนส่ ง ั ้ ในการส่ งออกสินค้ าไปยังซีกตะวันตกของประเทศ เส้ นทางการขนส่งสินค้ าทางทะเลปั จจุบนเริ่ มตังต้ นจากแหล่งการผลิตสินค้ าในบริ เวณ ชายฝั่ งทะเลตะวันออกของประเทศไทย การขนส่งสินค้ าไปทางทิศตะวันตกจำเป็ นต้ องผ่านช่องแคบมะละกา ซึงมีความเสียงจากโจร่ ่ สลัดและมีการเดินเรื อที่พลุกพล่าน ่ ่ ่ ท่าเรื อทวายซึงมีสวนสำคัญสำหรับการเปิ ดประตูทางเศรษฐกิจระหว่างลุมแม่น้ำโขงและประเทศ ้ ่ อินเดีย (จากทวายถึงโฮจิมินห์) นัน อยูทางตอนใต้ ของพม่าและอยูหางจากกรุงเทพฯ ไม่ถง 500 กิโลเมตร เมื่อการพัฒนาท่าเรื อทวายเสร็จ ่ ่ ึ สมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2563 บริ เวณนี ้จะกลายเป็ นแหล่งการผลิตสินค้ าใหม่ของประเทศไทยสำหรับการส่งออกไปยังประเทศในแถบเอเชียใต้ ้ แอฟริ กาและยุโรป (รูปที่ 51) ทังนี ้ ท่าเรื อทวายและเขตเศรษฐกิจพิเศษบริ เวณท่าเรื อทวายเป็ นโครงการความร่วมมือระหว่างไทยและพม่าที่มี อายุ 10 ปี และใช้ เงินลงทุนถึง 58 พันล้ านเหรี ยญดอลล่าร์ สหรัฐอเมริ กา โดยในส่วนแรกจะใช้ เงินลงทุน 8 พันล้ านเหรี ยญดอลล่าร์ สหรัฐ อเมริ กา รู ปที่ 51 การเติบโตของทางเศรษฐกิจของประเทศต่ างๆ ในปี พ.ศ. 2563 ่ กรณีเกิดประตูทางเศรษฐกิจลุมนํ ้าโขง-อินเดียเทียบกับกรณีที่ไม่มี 28<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ รั ฐบาลไทยให้ ความสำคัญเป็ นอันดับแรกกับการพัฒนาโครงสร้ างพืนฐานสำหรั บสนับสนุนท่ าเรื อทวาย โดยถนนและทางรถไฟที่ ้ เชื่อมระหว่ างกาญจนบุรีและท่ าเรื อทวายมีกำหนดแล้ วเสร็จในปี พ.ศ. 2554 ทังนี ้ การพัฒนาในส่วนต่อไปจะเป็ นการพัฒนาในส่วน ของตัวท่าเรื อน้ ำลึกโดยมีการทำสัญญาระหว่างบริ ษัท อิตาเลียนไทย จำกัด (มหาชน) และการท่าเรื อแห่งประเทศพม่า โดยมีเม็ดเงินลงทุนทังสิ ้น ้ 6.73 พันล้ านเหรี ยญดอลล่าร์ สหรัฐอเมริ กา ในขณะที่เป็ นที่สงสัยว่าโครงการนี ้จะเกิดขึ ้นได้ จริ งหรื อไม่ เนื่องจากมีความไม่แน่นอนทางการ เมืองสูงและการขาดการสนับสนุนจากบริ ษัทเดินเรื อยักษ์ ใหญ่ของโลก รัฐบาลไทยยังคงสนับสนุนการดำเนินโครงการนี ้โดยเห็นว่าจะก่อให้ ่ เกิดผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจต่อกลุมประเทศอาเซียน ้ การก่อสร้ างท่าเรือนําลึกทวายยังเป็ นจุดเริ่มต้นของการลงทุนของนักลงทุนไทยในประเทศพม่าเนื่องจากปั ญหาทางด้านสิ่งแวดล้ อมและ ต้ นทุนการผลิตที่สูงเป็ นอุปสรรคต่ อการพัฒนาอุตสาหกรรมหนักขึนในประเทศไทย บริ ษัทสัญชาติไทย เช่น บริ ษัท ปตท ้ ั ่ ปิ โตรเคมิคลจำกัด กลุมบริ ษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด และบริ ษัทผู้ผลิตเหล็กต้ นน้ ำอีกหลายๆ บริ ษัท ล้ วนแล้ วแต่แสดงความประสงค์ที่จะทำ ่ การลงทุนในบริ เวณท่าเรื อทวายหลังจากที่ได้ เผชิญกับปั ญหาด้ านสิงแวดล้ อมที่บริ เวณมาบตาพุด (ระยอง ประเทศไทย) และบริ เวณภาคใต้ ่ ของไทย นอกจากนี ้ ปริ มาณก๊ าซธรรมชาติและสินแร่เหล็กซึงมีจำนวนมหาศาลในพม่า รวมไปถึงการที่จีนมีโครงการสร้ างทางรถไฟเชื่อม ระหว่างภาคใต้ ของจีนและท่าเรื อทวาย ก็เป็ นปั จจัยดึงดูดนักลงทุนเหล่านี ้เช่นเดียวกัน นอกจากนี ้ ในภาพรวมของภูมิภาคอาเซียน การโยกย้ ายการผลิตไปยังประเทศพม่าจะช่วยสนับสนุนให้ ข้อตกลงการค้ าเสรี ระหว่างไทยและอินเดีย รวมไปถึงประเทศอื่นๆ ในอ่าวเบงกอล ่ (ซึงตอนนี ้การเจรจาหยุดชะงัก) สามารถเกิดขึ ้นได้ จริ ง ู เนื่องจากการค้ าระหว่างไทยและอนุภมิภาคเอเชียใต้ มีประสิทธิภาพมากขึ ้น ่ ่ อย่างไรก็ตามถึงแม้ วาโครงการท่าเรื อทวายจะก่อให้ เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจก็ตาม ประเด็นทางด้ านสิงแวดล้ อมและมาตรฐานแรงงาน ่ ก็เป็ นสิงที่ต้องให้ ความสำคัญด้ วย ิ่ นักอนุรักษ์ สงแวดล้ อมในภูมิภาคเริ่ มตังคำถามถึงการควบคุมดูแลการลงทุนจากประเทศไทย ทังนี ้ ้ ้ ่ กฎเกณฑ์ทางด้ านสิงแวดล้ อมในพม่าไม่เข้ มงวดเท่ากับประเทศไทย นอกจากนี ้ แนวทางและวิธีการประเมินผลกระทบทางด้ านสิงแวดล้ อม ่ ่ สุขภาพและสังคมก็ไม่เป็ นที่เปิ ดเผย ในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผานมา ได้ เกิดการประท้ วงของแรงงานก่อสร้ างชาวพม่าเกี่ยวกับระยะเวลาการทำ ัิ งานที่ยาวนานกว่าและได้ รับการเลือกปฏิบตเมื่อเทียบกับแรงงานชาวไทย 2.3.3 การลงทุนภาครั ฐ ้ การลงทุนภาครั ฐในไตรมาสที่ 4 ของปี 2553 หดตัวต่ อเนื่องเป็ นไตรมาสที่ 3 นับตังแต่ ช่วงกลางปี จากการลงทุนของรั ฐวิสาหกิจใน อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ลดลง การลงทุนภาครัฐในปี 2553 หดตัวร้ อยละ 2.2 ต่อปี เทียบกับการขยายตัวในปี ก่อนหน้ าที่ร้อยละ 3.7 ต่อปี (รูปที่ ู 52) เนื่องมาจากการหดตัวที่ลดลงอย่างมากของการลงทุนในอุปกรณ์และเครื่ องมือถึงร้ อยละ 13.4 ต่อปี หรื อมีมลค่าการลงทุนลดลง 19,600 ้ ล้ านบาท สะท้ อนให้ เห็นถึงการชะลอตัวลงจากการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ทังนี ้ ภาพรวมการลงทุนจากรัฐวิสาหกิจหดตัวลงร้ อยละ 16.0 ต่อปี มา จากการลงทุนที่ชะลอตัวลงของบริ ษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) และบริ ษัท การปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทย จำกัด (มหาชน) (ปตท.) ซึงในปี ่ 2553 มูลค่าการลงทุนจากรัฐวิสาหกิจ 2 แห่งนี ้ลดลงเป็ นจำนวน 27,000 ล้ านบาทจากปี 2552 1 การลงทุนลดลงของบริ ษัทการบินไทยในปี 2553 เป็ นผลพวงมาจากการประสบปั ญหาขาดทุนจากวิกฤติเศรษฐกิจโลกประกอบกับเหตุการณ์การปิ ดสนามบินสุวรรณภูมิทำให้ มีความต้ องการเพิ่ม ้ ่ ทุนในปี 2552 และการชะลอแผนการลงทุนเพื่อพลิกฟื นสภาพคล่องของบริ ษัทฯให้ กลับมาสูสภาวะปกติ ในส่วนของการลงทุนที่ลดลงของปตท. ในปี 2553 สาเหตุหลักมาจากปั ญหากรณีมาบตาพุดที่มีคำสังศาลให้ ระงับโครงการการลงทุนที่สงผลกระทบต่อสิงแวดล้ อมและคุณภาพชีวิตของ ่ ่ ่ ั ่ ่ ้ ประชาชนในเขตพื ้นที่ดงกล่าวเป็ นการชัวคราวซึงจำนวน 1 ใน 3 ของทังหมด 76 โครงการเป็ นโครงการลงทุนของบริ ษัทในเครื อปตท. โดยบริ ษัท ่ ู ่ ปตท. ซึงเป็ นบริ ษัทแม่มีการลงทุนโดยตรงใน 2 โครงการที่ถกระงับชัวคราวถึง 25,000 ล้ านบาท ั ิ แผนกระตุ้นเศรษฐกิจในระยะ 2 (โครงการลงทุนภายใต้ แผนปฏิบตการไทยเข้ มแข็ง) มีส่วนช่ วยชดเชยงบรายจ่ ายลงทุนที่ลดลงใน ปี 2553 และนอกจากนันยังช่ วยสนับสนุนการขยายตัวของการลงทุนภาครั ฐในด้ านก่ อสร้ าง ในไตรมาสที่ 4 ปี 2553 การลงทุนภาครัฐใน ้ ด้ านก่อสร้ างขยายตัวขึ ้นถึงร้ อยละ 3.6 ต่อปี (จากอัตราร้ อยละ 0.1 ต่อปี ในไตรมาสก่อนหน้ า) ส่งผลให้ ทงปี 2553 มีการขยายตัวร้ อยละ 3.2 ต่อปี ั้ ่ ปั จจัยที่สงผลต่อการขยายตัวมาจากโครงการลงทุนไทยเข้ มแข็ง โดยเฉพาะโครงการบริ หารจัดการแหล่งน้ ำ โครงการบำรุงซ่อมทางหลวง และโครง ้ ่ การขนส่งมวลชนระบบรางในกรุงเทพมหานคร ทังนี ้การใช้ จายผ่านโครงการลงทุนไทยเข้ มแข็งมีบทบาทในการช่วยสนับสนุนการขยายตัวของการ ุ ัิ ้ ลงทุนภาครัฐมากที่สดในปี 2553 (รูปที่ 53) จากวงเงินกู้ที่ได้ รับการอนุมตและจัดสรรสำหรับโครงการไทยเข้ มแข็ง 350 พันล้ านบาทนัน2 แบ่งเป็ นวง ั เงินงบประมาณที่จดสรรสำหรับโครงการภายใต้ 7 สาขาย่อย3 เป็ นจำนวน 301 พันล้ านบาท ส่วนที่เหลืออีก 49 พันล้ านบาทได้ จดสรรสำหรับ ั ้ โครงการประกันรายได้ เกษตรกรและงบกลาง อย่างไรก็ตาม เม็ดเงินลงทุนที่แท้ จริ งคิดเป็ นประมาณร้ อยละ 40 ของวงเงินลงทุนทังหมด จากข้ อมูล ณ วันที่ 1 เมษายน 2554 ตัวเลขเบิกจ่ายจริ งของโครงการไทยเข้ มแข็งอยูที่ร้อยละ 76 หรื อ คิดเป็ น 229 พันล้ านบาท (จากวงเงินจัดสรร 301 ่ พันล้ านบาท รูปที่ 54 ) ในปี 2554 การลงทุนภาครัฐ (รวมองค์กรปกครองส่วนท้ องถื่น แต่ไม่รวมโครงการไทยเข้ มแข็ง) ลดลงจากปี ก่อนหน้ าร้ อยละ 20 อย่างไรก็ตาม เมื่อรวมการลงทุนของโครงการไทยเข้ มแข็งเข้ าไปด้ วยแล้ ว การลงทุนภาครัฐได้ มีการเพิ่มจากปี ก่อนหน้ าถึงร้ อยละ 6.0 ซึงส่วน ่ ่ หนึงสะท้ อนถึงการชดเชยการลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่ลดลง 29<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 52. การลงทุนในอุปกรณ์ และเครื่ องมือที่หดตัวจาก รู ปที่ 53. แผนไทยเข้ มแข็งช่ วยชดเชยงบรายจ่ ายลงทุน การลงทุนของรั ฐวิสาหกิจที่ลดลง ที่ลดลงในปี 2553 Year-on-year growth rate (percent) Share of total public investment (percent) 40.0 Construction Equipment 100.0 Public investment 90.0 19.3 18.8 21.7 Others 30.0 80.0 1.4 1.7 16.2 5.1 20.0 70.0 1.3 SP2 0.8 60.0 38.6 10.0 34.7 50.0 SP1 33.4 0.0 40.0 30.0 SOEs Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3r Q4 -10.0 20.0 39.0 37.8 2007 2008 2009p 2010p 30.8 10.0 Capital budget -20.0 (incl. carry-over) - -30.0 CY2009 2010 2011F ที่มา: สศช. และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา: สศค. สบน. สงป. และการคำนวณของธนาคารโลก ่ การลงทุนภาครั ฐจะขยายตัวในปี 2554 จากการฟื ้ นตัวของการ ลงทุนของรั ฐวิสาหกิจ แม้ วางบลงทุนประจำปี 2554 (ต.ค. ่ ู 53 – ก.ย. 54) จะเพิ่มขึ ้นถึงร้ อยละ 75 จากปี ก่อนหน้ า แต่การใช้ จายผ่านโครงการไทยเข้ มแข็งในปี 2554 คาดว่าจะไม่สงเท่าในปี ก่อน และจะเพิ่มขึ ้นเพียงเล็กน้ อยในปี 2555 ซึงการใช้ จายผ่านโครงการไทยเข้ มแข็งของทังปี 2554 และ 2555 ได้ มีการประเมินการใช้ จายจาก ่ ่ ้ ่ ิ ่ ่ แผนเงินกู้จากต่างประเทศที่คดเป็ นวงเงินประมาณ 300 ล้ านเหรี ยญสหรัฐเข้ าไว้ ด้วยแล้ ว อย่างไรก็ตาม จะเห็นได้ วา แม้ วาจะรวมแผนเงินกู้จาก ต่างประเทศเข้ าไว้ ด้วยแต่ก็ไม่สามารถทดแทนเงินลงทุนผ่านโครงการฯ ที่ลดลงจากปี ก่อนหน้ าได้ ดังนัน ตัวขับเคลือนหลักของการลงทุนภาครัฐ ้ ่ จะมาจากการลงทุนจาก อปท. และ รัฐวิสาหกิจที่งบลงทุนเพิ่มขึ ้นประมาณร้ อยละ 26.0 จากปี ก่อนหน้ า นอกจากโครงการลงทุนใหม่จาก ปตท. ้ และการบินไทยแล้ ว การไฟฟาฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ยังมีโครงการลงทุนในโรงไฟฟาถ่านหิน ซึงมีมลค่าโครงการ 3 หมื่นล้ านบาท ้ ่ ู ้ ้ ่ นอกจากนี ้การไฟฟาส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ยังมีโครงการการลงทุนในโครงข่ายไฟฟาอัจฉริ ยะ (Smart grid) ในระยะ 15 ปี ข้ างหน้ า ซึงมีวงเงินลงทุนถึง 1.3 หมื่นล้ านเหรี ยญสหรัฐ 1การเปลียนแปลงในส่วน “รายจ่ายสำหรับที่ดน สิงปลูกสร้ าง เครื่ องจักร และวัสดุ อุปกรณ์” จากงบการเงินของบริ ษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)และบริ ษัท การปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทย ่ ิ ่ จำกัด (มหาชน) 2“โครงการไทยเข้ มแข็ง” เป็ นโครงการที่ได้ รับเงินจัดสรรจาก พรฎ. เงินกู้ ที่อนุมตให้ สบน. กู้เงินได้ ในเพดานวงเงิน 4 แสนล้ านบาท โดยจำนวนเงิน 50 ล้ านบาทเป็ นการกู้เพื่อชดเชยเงิน ัิ ้ คงคลัง ทังนี ้ ตัวเลขเงินลงทุนในโครงการไทยเข้ มแข็ง 350 พันล้ านบาท นับรวมเฉพาะแหล่งเงินที่เป็ นเงินกู้ตาม พรฎ. ซึงไม่ได้ นบรวมแหล่งเงินจากงบของรัฐวิสาหกิจโดยตรง ตลอดจนเงิน ่ ั กำไรสะสมของรัฐวิสาหกิจ 3โครงการภายใต้ แผนปฏิบตการไทยเข้ มแข็ง (TKK) ประกอบไปด้ วย 7 วัตถุประสงค์ ได้ แก่ (i) ความมันคงทางด้ านอาหารและพลังงาน, (ii) บริ การสาธารณะขันพื ้นฐาน เช่น การขนส่ง, ัิ ่ ้ ่ ่ พลังงาน, การสือสาร และสิงแวดล้ อม, (iii) ยกระดับรายได้ จากการท่องเที่ยว, (iv) สร้ างฐานรายได้ ใหม่ของประเทศจากเศรษฐกิจเชิงสร้ างสรรค์, (v) ยกระดับคุณภาพการศึกษา, (vi) ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณะสุข และ (vii) สร้ างอาชีพรายได้ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในระดับชุมชน 30<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 54. การลงทุนในโครงการไทยเข้ มแข็งชดเชยกับงบรายจ่ าย ลงทุนที่ลดลงและสนับสนุนการขยายตัวของการลงทุนภาครั ฐ Baht billion Disbursement rate (percent) 350,000 90% 100% 96% 84% 90% 300,000 75% 77% 80% 78% 76% 250,000 70% 63% 60% 200,000 50% 150,000 Budget 40% 100,000 Disbursement 30% 26% 20% 50,000 10% 0 0% ที่มา: กรมบัญชีกลาง และการคำนวณของธนาคารโลก (ณ วันที่ 1 เม.ย. 54) 2.4 นโยบายการคลัง การขาดดุลการคลังในปี งบประมาณ 2553 (ต.ค. 52 – ก.ย. 53) ตํ่ากว่ าที่ประมาณการไว้ (รู ปที่ 55) จากผลการจัดเก็บรายได้ ที่ดีกว่าที่คาด ่ ่ ้ ประกอบกับการเบิกจ่ายของโครงการไทยเข้ มแข็งที่ลาช้ าทำให้ ชวยชดเชยรายจ่ายการลงทุนจากงบลงทุนที่ลดลงได้ เพียงบางส่วนเท่านัน (รูปที่ 56) ั รายได้ จดเก็บของรัฐบาลเพิ่มขึ ้นประมาณร้ อยละ 21 จากปี ก่อนหน้ า เป็ นผลมาจากการฟื นตัวของเศรษฐกิจไทย (ในปี งบประมาณ 2553 GDP ณ ้ ั ่ ่ ราคาปั จจุบน ขยายตัวที่ร้อยละ 12 จากปี งบประมาณก่อนหน้ า) อย่างไรก็ตาม แม้ วาอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณจะอยูในระดับสูงที่ร้อยละ 94 ่ ั รวมถึงงบเหลือมปี ก็มีอตราการเบิกจ่ายที่สงเช่นกัน รายจ่ายภาครัฐยังคงขยายตัวได้ เพียงร้ อยละ 3.7 เนื่องจากการเบิกจ่ายที่ลาช้ าของโครงการ ู ่ ้ ้ ่ ึ่ ไทยเข้ มแข็ง ทังนี ้ ภายใต้ พรบ. หนี ้สาธารณะกำหนดให้ วงเงินงบประมาณตังอยูบนฐานการประมาณการรายได้ ซงมีการประมาณการล่วงหน้ า 1 ปี และในช่วงของการเตรี ยมงบประมาณได้ มีประมาณการรายได้ ของปี 2553 ไว้ ที่ 1.35 ล้ านล้ านบาท ในขณะที่รายได้ จดเก็บจริ งอยูที่ 1.7 ั ่ ่ ล้ านล้ านบาท หรื อประมาณร้ อยละ 3.5 ของ GDP จึงส่งผลให้ การขาดดุลการคลังอยูที่ร้อยละ 2.5 ของ GDP (ในช่วงต้ นปี 2552 ที่มีการเตรี ยม ้ ่ จัดทำงบประมาณสำหรับปี 2553 นัน ได้ มีการคาดการณ์วา การขาดดุลการคลังจะสูงถึงร้ อยละ 6.0 ของ GDP) เทียบกับร้ อยละ 3.5 ของ GDP ในปี ก่อนหน้ า (ตํ่ากว่าถึงร้ อยละ 24.0) รู ปที่ 55. ผลทางการคลังออกมาดีกว่ าที่คาดจากผลการ รู ปที่ 56. การขาดดุลการคลังลดลงมาจากการขยาย ี จัดเก็บรายได้ ท่ เพิ่มขึน ้ ั ตัวของรายได้ จดเก็บ Percent of GDP Percentage points 25.0 Expenditures Revenues Balance 0.5 Decomposition of Change in Deficit - FY10-FY09 21.1 20.3 Expenditure 19.5 20.0 Growth, 0.3 17.1 0.0 15.9 14.4 15.0 -0.5 Revenue Growth, - 10.0 1.4 -1.0 6.0 5.0 GDP 3.7 -1.5 Growth, - 2.5 0.1 0.0 FY 09 FY 10 (budget) FY 10 (actual) -2.0 ที่มา: สศค. และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา: สศค. และการคำนวณของธนาคารโลก 31<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ ้ ช่ องว่ างทางการคลังที่มีมากขึนมาจากการขาดดุลการคลังที่ต่ำกว่ าที่คาดในปี 2553 ประกอบกับการเลือกตังที่จะเกิดขึนในปี 2554 ้ ส่ งผลให้ มีการคาดการณ์ ว่ารั ฐบาลจะมีการเพิ่มใช้ จ่ายภาครั ฐในปี 2554 การขาดดุลการคลังในปี 2554 คาดว่าจะเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนหน้ า จากการเพิ่มการใช้ จายทังในโครงการลงทุนและโครงการใช้ จายทางด้ านสังคม รายจ่ายภาครัฐในปี 2554 รวมรายจ่ายจากโครงการไทยเข้ มแข็ง ่ ้ ่ ่ ่ แล้ ว คาดว่าจะขยายตัวที่ประมาณร้ อยละ 10-12 จากปี 2554 แม้ วารัฐบาลจะมีการปรับประมาณการรายได้ เพิ่มเป็ นร้ อยละ 4.0 แล้ ว ซึงคาดว่า ั ่ รายได้ จดเก็บจริ งอาจจะสูงกว่านี ้แต่ก็ไม่นาจะเกินร้ อยละ 21.0 ในปี 2553 นอกจากนี ้ ในปี 2553 รัฐบาลได้ มีการจัดทำรายจ่ายงบประมาณเพิ่มเติม อีก 1 แสนล้ านบาท โดยวงเงิน 8.4 หมื่นล้ านบาทเป็ นงบชำระคืนเงินคงคลัง ในขณะที่อีก 6 พันล้ านบาทเป็ นเงินโอนให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น และที่เหลืออีก 10 ล้ านบาทเป็ นงบจัดสรรให้ ผ้ ประสบอุทกภัยน้ ำท่วม ู โครงสร้ างงบประมาณประจำปี 2554 สะท้ อนให้ เห็นถึงการปรั บเปลี่ยนงบประมาณรายจ่ ายไปสู่โครงการทางสังคมมากขึน (ตารางที่ ้ ่ 3) รายจ่ายงบประมาณด้ านสาธารณสุข การศึกษา และการคุ้มครองทางสังคมซึงคิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 37 ของงบประมาณทังหมด และ ้ ่ คาดว่าจะมีการขยายตัวถึงร้ อยละ 15.0 ซึงสูงกว่าการขยายตัวของวงเงินงบประมาณประจำปี เล็กน้ อย ส่วนหนึงมาจากโครงการที่เคยอยูภาย ่ ่ ่ ใต้ แผนไทยเข้ มแข็งได้ มีการโยกมาไว้ เป็ นส่วนหนึงของงบประมาณประจำปี เช่น โครงการที่เกี่ยวกับการเกษตรคาดว่าจะเพิ่มขึ ้นถึงร้ อยละ 51 ่ จากงบประมาณของปี ก่อนหน้ า อย่างไรก็ตาม เมื่อรวมโครงการชลประทาน และโครงการประกันรายได้ เกษตรกรที่อยูภายใต้ แผนไทยเข้ มแข็งเข้ า ไว้ ด้วยแล้ วพบว่า งบประมาณรายจ่ายสำหรับโครงการที่เกี่ยวข้ องกับการเกษตรเพิ่มขึ ้นเพียงร้ อยละ 11.0 ตัษกว่างบประมาณที่จดสรรสำหรับโครง ๋ ั ้ ั การทางสังคม ทังนี ้ การจัดสรรงบประมาณภายใต้ ลกษณะงานเดียวกันแต่แยกส่วนออกเป็ นหลายงบประมาณทำให้ การวิเคราะห์ภาพรวมของการ จัดสรรงบประมาณตามลักษณะงานมีความยากและอาจจะให้ ผลที่คลาดเคลือนไป ่ ตารางที่ 3. โครงสร้ างงบประมาณประจำปี 2554 แสดงให้ เห็นถึงการปรั บเปลี่ยนงบประมาณรายจ่ ายไปสู่โครงการทางสังคมมากขึน้ Million baht FY2010 % FY2011 % Defense, Public Order and Safety 265,882 13.8 292,645 13.4 Health, Education and Social Protection 706,870 36.8 816,182 37.3 Agriculture, Fishery, Forestry, Env. Protection 154,697 8.1 172,201 7.9 Irrigation 66,728 68,306 Price Insurance 39,513 52,179 Other Agriculture, Fishery, Forestry, Env. 48,457 51,717 Transport, Fuel and Energy 101,758 5.3 100,841 4.6 Local Government 247,080 12.9 275,519 12.6 Others 443,553 23.1 528,132 24.2 Total, budget plus TKK actual 1,919,840 2,185,520 of which budget envelope 1,700,000 2,070,000 of which TKK actual / budget 219,840 115,520 ที่มา: สงป., www.tkk2555.com และการคำนวณของธนาคารโลก วงเงินรายจ่ ายภายใต้ โครงการไทยเข้ มแข็งในปี 2554 ที่มาจากแหล่ งเงินกู้ยังคงเป็ นตัวแปรที่สำคัญในการประเมินการขาดดุล การคลังสำหรั บปี 2554 ซึ่งโดยเบืองต้ นคาดว่ า จะขาดดุลที่ร้อยละ 2.6 ของ GDP ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554 การเบิกจ่ายงบ ้ ่ ประมาณภายใต้ โครงการไทยเข้ มแข็งอยูที่ 3.38 หมื่นล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 97 ของวงเงินอนุมตเงินกู้ทงสิ ้น 350 พันล้ านบาท โดยจำนวน ัิ ั้ 234 พันล้ านบาทเป็ นการเบิกจ่ายในปี 2552-2553 และที่เหลืออีก 104 พันล้ านบาทคาดว่าจะเป็ นการเบิกจ่ายในปี 2554 โดยประมาณ 30 พัน ล้ านบาทคาดว่าจะเบิกจ่ายในช่วง 4 เดือนแรกของปี งบประมาณ 2554 สำหรับในปี งบประมาณ 2555 คาดว่าจะไม่มีการเบิกจ่ายเงินภายใต้ โครงการ ัิ ู ัิ ไทยเข้ มแข็ง เนื่องจากการอนุมตก้ ยืมเงินได้ มีการสิ ้นสุดไปแล้ วในเดือนธ.ค. 2553 อย่างไรก็ตาม รัฐบาลได้ มีการขออนุมตก้ เู งินจากต่างประเทศทัง้ ้ จากธนาคารโลกและธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชียเป็ นวงเงินทังสิ ้น 40 พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ ซึงรายจ่ายจากแหล่งเงินกู้ดงกล่าวนี ้ไม่ปรากฎในราย ่ ั ้ ่ ละเอียดของเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปี ดังนัน เมื่อรวมการขาดดุลจากการใช้ จายเงินกู้จากต่างประเทศร้ อยละ 1.1 ของ GDP เข้ าไว้ ด้วย ่ กับการขาดดุลงบประมาณที่ร้อยละ 2.7 ของ GDP ทำให้ การขาดดุลการคลังในภาพรวมของปี งบประมาณ 2555 จะอยูในช่วงร้ อยละ 1.9-3.8 ของ GDP โดยมีคากลางที่ร้อยละ 2.6 ของ GDP ่ ่ 6 ซึงนับว่าสูงขึ ้นเล็กน้ อยจากการขาดดุลการคลังในปี ก่อนหน้ า อย่างไรก็ตาม การคาดการณ์การขาดดุล การคลังดังกล่าวไม่ได้ รวมผลจากการปรับลดภาษี สรรพสามิตของนำมันดีเซลเข้ าไว้ ในการคำนวณด้ วย 6 การประเมินในกรณีตำ ได้ แก่ (1) ประมาณการรายได้ ตอ GDP อยูที่ร้อยละ 17.2 (เทียบกับประมาณการที่เป็ นทางการอยูที่ร้อยละ 16.7); (2) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณอยูที่ร้อยละ 93 ่ ่ ่ ่ ่ ่ (รวมโครงการไทยเข้ มแข็ง); และ (3) การเบิกจ่ายเงินกู้ตางประเทศที่ 10 พันล้ านบาท 32<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 กรอบงบประมาณรายจ่ ายประจำปี 2555 ชีให้ เห็นถึงทิศทางการปรั บเข้ าสู่สมดุลของฐานะการคลัง กรอบวงเงินรายจ่ายงบประมาณประ ้ ่ ู จำปี 2555 ที่ได้ นำเสนอครม.ในช่วงเดือนม.ค. 2554 ขยายตัวเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 3.0 จากปี งบประมาณก่อนหน้ า ซึงน่าจะเป็ นอัตราที่สงกว่าการขยาย ตัวของรายได้ ประมาณการ ประกอบกับการประเมินว่าในปี 2555 จะไม่มีเงินกู้เพิ่มเติมสำหรับโครงการไทยเข้ มแข็ง และสมมติฐานอัตราการเบิก ่ ้ ่ ้ ้ จ่ายอยูที่ร้อยละ 98 ดังนัน การขาดดุลการคลังคาดว่าจะอยูในช่วงระหว่าง 1.3-2.9 ของ GDP ทังนี ้ประมาณการรายได้ ที่ใช้ เป็ นตัวตังในการกำหนด วงเงินรายจ่ายงบประมาณประจำปี คำนวณจากสมมติฐานการขยายตัวของ GDP ในระดับปานกลางที่ร้อยละ 4.5 ต่อปี และอัตราเงินเฟอที่ร้อยละ ้ ่ 3.5 ต่อปี ชี ้ให้ เห็นถึงทิศทางการปรับตัวเข้ าสูสมดุลของงบประมาณตามเจตนารมณ์ของรัฐบาลที่ได้ มีการลงนามบันทึกความเข้ าใจระหว่าง กระทรวงการคลังและสำนักงบประมาณในการจัดทำงบประมาณเบื ้องต้ นแบบสมดุล(ไม่รวมรายจ่ายดอกเบี ้ยเงินกู้) ภายในปี งบประมาณ 2559 รายจ่ ายลงทุนภาครั ฐคาดว่ าจะลดลงในปี งบประมาณ 2555 ภายใต้ สมมติฐานว่ ารั ฐบาลไม่ มีการกู้เงินเพิ่มเติมเพื่อการลงทุนนอก ่ เหนือไปจากงบรายจ่ ายลงทุนประจำปี (รู ปที่ 57) สัดส่ วนรายจ่ ายลงทุนในปี 2553 อยูที่ร้อยละ 17.6 ของรายจ่ายภาครัฐและคาดว่าจะ ่ ้ ่ อยูที่ร้อยละ 17.3 และ 17.1 ในปี 2554 และ 2555 ตามลำดับ ทังนี ้ ตัวเลขดังกล่าวไม่ได้ สะท้ อนให้ เห็นถึงผลจากการใช้ จายผ่านโครงการไทยเข้ ม ่ ่ แข็งที่ลดลง แม้ วางบรายจ่ายโครงการไทยเข้ มแข็งโดยมากจะเป็ นงบประจำ แต่บางส่วนที่เป็ นงบลงทุนก็มีสวนช่วยให้ รายจ่ายภาครัฐในการลงทุน เพิ่มขึ ้น ดังจะเห็นได้ จากสัดส่วนรายจ่ายลงทุน (รวมโครงการไทยเข้ มแข็ง) ต่อรายจ่ายภาครัฐโดยรวมในปี 2553 และ 2554 ที่สงกว่าในปี 2555 ที่ ู รายจ่ายผ่านโครงการไทยเข้ มแข็งที่ใช้ เงินนอกงบประมาณเริ่ มลดลง อย่างไรก็ตาม การลดลงดังกล่าวสอดคล้ องกับความพยายามของรัฐบาลที่จะ ่ เน้ นการลงทุนภาครัฐไปในรูปแบบของความร่วมมือระหว่างรัฐกับเอกชน (Public-Private Partnership) แทนที่จะพึงพิงรายจ่ายจากงบประมาณ เพียงอย่างเดียว 7 รู ปที่ 57. งบประมาณรายจ่ ายประจำปี 2555 ชีให้ เห็นถึงทิศทาง ้ รู ปที่ 58. รายจ่ ายประจำคิดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้ อยละ 80 การปรั บเข้ าสู่สมดุลของฐานะการคลัง ้ ของรายจ่ ายทังหมด Baht billion Percent 20.0 100 15.0 90 22.6 18.5 Revenues 28.9 10.0 80 17.1 16.7 16.7 70 5.0 Off-Budget 1/ 60 0.0 50 -5.0 -2.5 Capital -3.8 -2.9 Expenditures 40 81.5 77.4 71.1 -10.0 (budget) 30 -13.9 -16.0 -15.9 Current -15.0 -3.4 Expenditures 20 -2.2 -3.6 -3.4 -20.0 10 -1.1 -0.3 Fiscal Balance 0 -25.0 FY 2010 Actual FY 2011 Budget FY 2012 Budget FY 2010 Actual FY 2011 FY 2012 Capital Expenditures (incl. off-budget) Budget Budget Current Expenditures ที่มา: สศค. กรมบัญชีกลาง และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา: สศค. กรมบัญชีกลาง และการคำนวณของธนาคารโลก ่ 1/ รวมโครงการไทยเข้ มแข็ง และเงินกู้ตางประเทศ 7 ในเดือนมี.ค. 54 รัฐบาลได้ เสนอพรบ. ร่ วมทุน (PPP) เพื่อทำประชาพิจารณ์ ทังนี ้ สาระสำคัญประการหนึงของ พรบ. ดังกล่าวได้ แก่ การเสนอให้ สวนราชการพิจารณาความเป็ นไปได้ ใน ้ ่ ่ การจัดการโครงการลงทุนในรูปแบบ PPP ก่อนที่จะมีการเสนอของบประมาณรายจ่ายลงทุน 33<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 2.5 นโยบายการเงินและเงินทุนเคลื่อนย้ าย ้ 2.5.1 เงินเฟอและนโยบายการเงิน แม้ ว่าราคาปั จจัยการผลิตเพิ่มสูงขึน ้ ้ ั ็ แต่ ภาวะเงินเฟอในปั จจุบนยังไม่ รุนแรงและแรงกดดันจากด้ านอุปสงค์ กอยู่ในระดับปาน ้ ่ ้ ่ กลาง เงินเฟอทัวไปทรงตัวที่ประมาณร้ อยละ 3 ในปี 2553 ในขณะที่เงินเฟอพื ้นฐานอยูที่ร้อยละ 1.4 (รูปที่ 59) สาเหตุหลักที่ทำให้ อตราเงิน ั ้ ่ ้ ่ เฟอทัวไปแตกต่างจากอัตราเงินเฟอพื ้นฐานคือราคาอาหารสด ซึงเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 6 ในปี 2553 (รูปที่ 60) เป็ นผลจากอุปทานที่หดตัวอย่างรุน ่ ้ ่ ่ แรงและเป็ นกระแสทัวโลก ในช่วง 3 เดือนแรกของปี 2554 เงินเฟอยังอยูในระดับที่ควบคุมได้ แม้ วาราคาอาหารสดและพลังงานได้ เพิ่มขึ ้นเกือบ ้ ่ ้ ่ ่ ร้ อยละ 6 ในเดือนมีนาคมก็ตาม โดยอัตราเงินเฟอทัวไปและอัตราเงินเฟอพื ้นฐานอยูที่ร้อยละ 3.1 และ 1.6 ตามลำดับ ซึงยังอยูภายในกรอบเปา ่ ้ ้ ่ หมายอัตราเงินเฟอพื ้นฐานระหว่างร้ อยละ 0.5 – 3 ของธนาคารแห่งประเทศไทย และอยูในระดับเดียวกับช่วงก่อนวิกฤติ ระดับราคาที่ยงไม่เพิ่ม ั ่ ขึ ้นมากนี ้ ส่วนหนึงเป็ นผลจากการที่กระทรวงพาณิชย์ควบคุมการขึ ้นราคาสินค้ าอุปโภคบริ โภคหลายรายการ นอกจากนี ้ รัฐบาลก็จดการกับ ั ุ่ ราคานํ ้ามันที่พงสูงขึ ้นโดยการให้ เงินอุดหนุน (และการลดอัตราภาษี สรรพสามิตเมื่อไม่นานนี ้) เพื่อตรึงราคานํ ้ามันดีเซล ซึงส่งผลกระทบต่อราคา ่ ั ้ สินค้ าหลายรายการจากต้ นทุนค่าขนส่ง ในขณะที่รัฐบาลก็ยงให้ เงินอุดหนุนค่าไฟฟาและค่าขนส่งต่อไป12 ั รายการที่มกถูกมองข้ าม คือ ั ั ค่าเช่าที่พกอาศัย (น้ ำหนักประมาณร้ อยละ 15 ของตะกร้ าดัชนีราคาผู้บริ โภค) ก็ทรงตัวอย่างเห็นได้ ชด (เพิ่มขึ ้นเพียงร้ อยละ 1.2 ในเดือน มีนาคม เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน) เนื่องจากอุปทานที่เพิ่มขึ ้น และสุดท้ าย การใช้ กำลังการผลิตที่ตำกว่าค่าเฉลียในภาคอุตสาหกรรม ่ ่ ่ ั ที่ผลิตเพื่อจำหน่ายภายในประเทศ แม้ วาจะมีสญญาณว่าตลาดแรงงานมีความตึงตัว (อ่านหัวข้ อ 3.1) ชี ้ให้ เห็นว่าแรงกดดันจากด้ านอุปสงค์ยง ั ไม่เร่งตัวขึ ้น (รูปที่ 61) ้ รู ปที่ 59. เงินเฟอทั่วไปและเงินเฟอพืนฐานทรงตัว ้ ้ ้ รู ปที่ 60. แม้ ว่าราคาอาหารสดเพิ่มขึนพอสมควร ่ ดัชนีราคาผู้บริ โภค, อัตราการเปลียนแปลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อน ่ การเปลียนแปลงของดัชนีราคาจากปี ก่อน (ร้ อยละ) ่ ่ และค่าเฉลียเคลือนที่ 12 เดือน (ร้ อยละต่อปี ) 45.0 10.0 7.5 35.0 5.0 25.0 2.5 15.0 0.0 Core 5.0 -2.5 Average CPI Headline in 2006 and 2007 CPI (m/m, 12-mo MA, FOOD AND BEVERAGES -5.0 -5.0 annualized) RICE EGGS AND DAIRY PRODUCTS VEGETABLES AND FRUITS -15.0 MEATS, POULTRY AND FISH 2008Jan 2008Oct 2009Jul 2010Apr 2011Jan ที่มา: กระทรวงพาณิชย์และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ที่มา: กระทรวงพาณิชย์และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก 12 ่ ่ ่ แม้ วารายการสินค้ าซึงราคาถูกควบคุมทางอ้ อมจะไม่มีการเผยแพร่ แต่สวนใหญ่ก็เป็ นอาหาร โดยมีนํ ้าหนักประมาณ 1 ใน 3 ของตะกร้ าดัชนีราคาผู้บริ โภค นอกจากนี ้ ราคาพลังงานและ ู ้ ค่าขนส่งก็ถกตรึงไว้ เป็ นผลจากการอุดหนุนค่าไฟฟาฟรี ค่าโดยสารรถโดยสารประจำทางและรถไฟ และราคานํ ้ามันดีเซล ซึงรายการเหล่านี ้ก็มีนํ ้าหนักอีก 1 ใน 3 ของตะกร้ าดัชนีราคาผู้บริ โภค ่ ่ ่ ั้ ้ ค่าใช้ จายด้ านการศึกษาซึงมีนํ ้าหนักประมาณร้ อยละ 5 ในตะกร้ าดัชนีราคาผู้บริ โภค ก็ได้ รับการอุดหนุนเป็ นส่วนใหญ่ตงแต่ปี 2552 ดังนัน ร้ อยละ 70 ของตะกร้ าดัชนีราคาผู้บริ โภค จึงเป็ น ู สินค้ าที่ถกควบคุมราคาหรื อได้ รับการอุดหนุนไม่มากก็น้อย 34<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 61. แรงกดดันด้ านกำลังการผลิตในอุตสาหกรรมที่ผลิต ้ ้ รู ปที่ 62. เงินเฟอคาดการณ์ เพิ่มสูงขึน เพื่อจำหน่ ายภายในประเทศยังคงไม่ รุนแรง ่ อัตราการเปลียนแปลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน (ร้ อยละ) ่ ร้ อยละ อัตราการเปลียนแปลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน 75 4 5.0 Forecast Range Median 2011 Inflation Forecast 4.5 3 70 4.0 2 65 3.75 3.5 3.55 1 3.0 3.20 60 3.00 3.15 3.20 0 2.5 55 Capacity Utilization of Non-Exporters, SA -1 Average CU 2005-2008 2.0 Core Inflation 50 -2 1.5 200001 200107 200301 200407 200601 200707 200901 201007 Jun-10 Sep-10 Dec-10 Mar-11 ที่มา: กระทรวงพาณิชย์ สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ที่มา: ธปท. และประมาณการของหน่วยงานต่าง ๆ และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ่ แต่มีการคาดการณ์วาราคาจะเพิ่มสูงขึ ้นในอนาคตมากขึ ้น ่ เพราะเห็นว่าปั จจัยที่สงผลให้ ราคายังไม่เพิ่มขึ ้นในขณะนี ้หลายประการเป็ น ่ ้ ั ้ ปั จจัยชัวคราว เงินเฟอคาดการณ์เพิ่มขึ ้นอย่างเห็นได้ ชดในปี 2554 เนื่องจากราคาที่เพิ่มขึ ้นนันไม่ได้ สะท้ อนแรงกดดันด้ านต้ นทุนออกมาทัง้ ุ่ หมด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ราคาที่เพิ่มขึ ้นจากผลของราคาน้ ำมันที่พงสูงขึ ้นในช่วงก่อนหน้ าของปี (รูปที่ 62) โดยสังเกตได้ จากความแตกต่างระหว่าง ่ ่ อัตราการขยายตัวของราคาผู้ผลิตและราคาผู้บริ โภค ซึงสูงถึงร้ อยละ 4.6 ในเดือนกุมภาพันธ์ สูงกว่าสองเท่าของค่าเฉลียตามปกติที่ร้อยละ 1.8 (รูปที่ ้ ่ ่ 63) เงินเฟอคาดการณ์ปรับสูงขึ ้น เนื่องจากผู้บริ โภคตระหนักดีวาการควบคุมราคาจะไม่สามารถดำเนินต่อไปได้ ตอเนื่องยาวนาน และราคาสินค้ า หลายรายการก็ได้ เริ่ มปรับสูงขึ ้นบ้ างแล้ วในช่วงปลายเดือนมีนาคม ้ ุ 13 นอกจากนี ยังมีการตกลงกันว่า ในที่สดแล้ ว จะยกเลิกหรื อลดการอุดหนุนราคา ่ ่ น้ ำมันดีเซลลง เงินกองทุนน้ ำมันเชื ้อเพลิงซึงใช้ ในการอุดหนุนราคาน้ ำมันดีเซลกำลังจะหมดลงอย่างรวดเร็วเป็ นผลจากราคาน้ ำมันยังคงเพิมสูงขึ ้นใน เดือนมีนาคม ในขณะที่ราคาน้ ำมันก็มีแนวโน้ มที่จะยังอยูในระดับที่ต้องการเงินอุดหนุนเพื่อตรึงราคาไว้ ไม่เกินลิตรละ 30 บาท ่ ้ รู ปที่ 63. ราคาปั จจัยการผลิตที่เพิ่มสูงขึนยังไม่ แสดงในตัวเลข ้ รู ปที่ 64. การขยายตัวของสินเชื่อพุ่งสูงขึน เนื่องจากธนาคารรั บ เงินเฟอ ้ ้ มือกับอัตราดอกเบียนโยบายที่ปรั บเพิ่มขึน ้ อัตราการขยายตัวของสินเชื่อ (ร้ อยละ) ่ อัตราการเปลียนแปลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน (ร้ อยละ) ิ อัตราดอกเบี ้ยเงินให้ สนเชื่อ – อัตราดอกเบี ้ยนโยบาย (ร้ อยละ) 25.0 16 6 CPI Loans on Private Sector (Excl. Accrued Interest) 20.0 14 PPI Lending Rate minus Policy Rate 5 15.0 2006-2007 Average 12 10.0 4 7.5 10 5.0 5.2 3.4 8 3 2.9 0.0 6 -5.0 2 4 -10.0 1 2 -15.0 0 0 2005Jan 2006Jan 2007Jan 2008Jan 2009Jan 2010Jan 2011Jan ที่มา: กระทรวงพาณิชย์ และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก 13 อ่านคำอธิบายเรื่ องกองทุนน้ ำมันเชื ้อเพลิงโดยสังเขปได้ ในกรอบข้ อความที่ 2 ของ Thailand Economic Monitor ฉบับเดือนพฤศจิกายน 2552 35<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ่ การขยายตัวของสินเชื่อเพิ่มสูงกว่าอัตราในช่วงก่อนวิกฤต เป็ นผลจากการที่ธนาคารปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยเงินกู้ช้า แม้ วาอัตราดอกเบี ้ยจะปรับ เพิ่มขึ ้นเมื่อไม่นานนี ้ อัตราการขยายตัวของสินเชื่อ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อนยังคงไม่ชะลอลงในเดือนกุมภาพันธ์ โดยอยูที่ร้อยละ 15 ่ ้ ึ (รูปที่ 64) เปรี ยบเทียบกับอัตราการขยายตัวสูงสุดครังก่อนที่ไม่ถงร้ อยละ 12 เนื่องจากอัตราดอกเบี ้ยเงินกู้มีแนวโน้ มปรับลดลงและเพิ่มขึ ้นได้ ช้ า จึงมีโอกาสที่ระยะเวลาระหว่างการขยายตัวของสินเชื่อและการดำเนินนโยบายการเงินแบบเข้ มงวดจะทอดยาวออกไปยิ่งขึ ้น ในขณะเดียวกัน ดู ้ ่ เหมือนว่าการขยายตัวของสินเชื่อในอัตราสูงก็ไม่ได้ กระตุ้นให้ เกิดเงินเฟอจากราคาสินทรัพย์ ราคาที่อยูอาศัยและตราสารทุนยังคงขยายตัวสอด ่ ่ ่ ่ ั ่ คล้ องกับภาวะเศรษฐกิจ ซึงชี ้ให้ เห็นว่าความเสียงจากฟองสบูราคาสินทรัพย์มีอยูจำกัด (รูปที่ 65) และสุดท้ าย การกู้ยืมก็ยงอยูในระดับปานกลาง ้ ่ ิ โดยถูกควบคุมด้ วยมาตรการปองกันและรักษาเสถียรภาพที่ปรับปรุงให้ เข้ มงวดขึ ้นเมื่อไม่นานนี ้ ซึงรวมถึงการกำหนดอัตราส่วนเงินให้ สนเชื่อต่อ มูลค่าหลักประกันสูงสุด ทังนี ้ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ สงสัญญาณว่าหากมีความจำเป็ น ก็สามารถเพิ่มความเข้ มงวดของมาตรการปองกันและ ้ ่ ้ รักษาเสถียรภาพขึ ้นได้ อีก ้ รู ปที่ 65. ตลาดหุ้นทะยานขึน แต่ ราคาที่พกอาศัยที่แท้ จริงยังไม่ ั ้ รู ปที่ 66. นโยบายการเงินเข้ มงวดขึน แต่ ยังคงผ่ อนปรนอยู่ ้ ปรั บเพิ่มขึน ้ อัตราดอกเบี ้ยที่แท้ จริ ง (อัตราดอกเบี ้ยนโยบายลบอัตราเงินเฟอ) ร้ อยละ ้ ดัชนีของตัวแปรต่าง ๆ หักด้ วยอัตราเงินเฟอ (ไตรมาส 1 ปี 2547 = 100) 2 120 120 1.5 Average: 115 100 1 May 2000 - Jun 2008 110 0.5 80 0 105 -0.5 100 60 -1 95 40 -1.5 90 -2 Housing Prices 20 85 Real GDP -2.5 Real Policy Rate (expectations-based) Equity Prices -3 80 0 Real Policy Rate (current headline inflation) -3.5 Real Policy Rate (current core inflation) Apr-10 Jul-10 Oct-10 Jun-10 Aug-10 Sep-10 Nov-10 Dec-10 Jan-11 Jan-10 Mar-10 Mar-11 Feb-10 Feb-11 May-10 ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ้ ้ ความกังวลว่ าเงินเฟอคาดการณ์ กำลังปรั บสูงขึนทำให้ ธนาคารแห่ งประเทศไทย (ธปท.) ดำเนินนโยบายการเงินที่เข้ มงวดขึนต่ อไป ้ ่ ในปี 2554 แม้ วาประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคจะใช้ เครื่ องมือ เช่น การดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง เพื่อดูแลสภาพคล่องภายในประเทศ แต่ ธปท.ส่ง สัญญาณว่าจะยังคงดำเนินนโยบายการเงินผ่านอัตราดอกเบี ้ยนโยบาย ทังนี ้ นับตังแต่เดือนกรกฎาคม 2553 ธปท.ได้ ปรับอัตราดอกเบี ้ยนโยบาย ้ ้ ้ ้ ้ ้ ั ขึ ้นครังละร้ อยละ 0.25 รวม 5 ครัง โดยเป็ นการปรับขึ ้นในปี 2554 สองครัง (ครังล่าสุดในเดือนมีนาคม) ทำให้ อตราดอกเบี ้ยนโยบายในปั จจุบนอยูที่ ั ่ ้ ั ้ ร้ อยละ 2.50 อัตราดอกเบี ้ยนโยบายที่แท้ จริ งปรับเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 2 นับตังแต่เดือนมกราคม 2553 แต่ยงคงเป็ นลบอยู่ (รูปที่ 66) แม้ จะใช้ เงินเฟอพื ้น ั ่ ฐานเป็ นเกณฑ์เปรี ยบเทียบ อัตราดอกเบี ้ยนโยบายก็ยงคงต่ำกว่าค่าเฉลียในช่วงปี 2543 – 2551ที่ประมาณร้ อยละ 1.5 ซึงแสดงให้ เห็นว่านโยบาย ่ การเงินยังคงผ่อนปรนอยู่ ้ ขณะที่การปรั บอัตราดอกเบียเข้ าสู่ระดับปกติมีความเหมาะสม เนื่องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจกลับสู่ภาวะปกติ แต่ ความท้ าทาย ้ ู ของภาวะเงินเฟอในขณะนีมีความซับซ้ อน เงินเฟอได้ กลายเป็ นประเด็นหลักที่ผ้ กำหนดนโยบายในภูมิภาคกังวล ตามที่จะขยายความโดยละ ้ ้ ้ ั ้ ้ เอียดในกรอบข้ อความที่ 5 แรงกดดันเงินเฟอในปั จจุบนนันมีประเด็นความซับซ้ อนที่ไม่ปกติเข้ ามาเกี่ยวข้ องหลายประเด็น กล่าวคือ การฟื นตัวทาง ้ เศรษฐกิจของระบบเศรษฐกิจแบบเปิ ดของประเทศไทยนัน อาศัยการขยายตัวอย่างแข็งแกร่งของอุปสงค์ภายในประเทศ เพื่อช่วยชดเชยอุปสงค์ ั ้ ่ ้ ภายนอกประเทศที่ยงฟื นตัวตามหลังอยู่ อย่างไรก็ดี การขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศก็ออนไหวกับนโยบายการเงิน ดังนัน ช่วงระยะเวลาที่ ่ ึ ้ แนวโน้ มอัตราดอกเบี ้ยเป็ นขาขึ ้นเข้ าสูระดับในภาวะปกติจงเป็ นช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมที่จะตรึงเงินเฟอคาดการณ์ไว้ โดยการกำหนดความเร็ว ในการปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยต้ องคำนึงถึงผลกระทบต่อเศรษฐกิจที่แท้ จริ งด้ วยความระมัดระวัง เพื่อไม่ให้ การฟื นตัวของเศรษฐกิจแผ่วลงก่อนที่ ้ ้ เศรษฐกิจจะฟื นตัวเต็มที่ 36<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ ิ กรอบที่ 5. พัฒนาการของเงินเฟอในภูมภาค ราคาผู้บริโภคเพิ่มขึนทั่วทังภูมภาคและเงินเฟอได้ กลายเป็ นประเด็นหลักที่ผ้ ูกำหนดนโยบายกังวล (รู ปที่ 67) การจัดการกับสถาน ้ ้ ิ ้ ้ การณ์ความท้ าทายในขณะนี ้เกี่ยวข้ องกับอุปสรรคความยากลำบากที่ไม่ปกติหลายเรื่ อง ประการแรก ภาวะเงินเฟอในขณะนี ้เกิดจากแรงกด ้ ดันทังด้ านต้ นทุนและด้ านอุปสงค์ในระดับที่แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ประการที่สอง การปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ย ซึงเป็ นเครื่ องมือมาตรฐาน ่ ้ ้ ่ ในการแก้ ไขปั ญหาเงินเฟอจะมีประสิทธิผลน้ อยมากสำหรับเงินเฟอจากแรงกดดันด้ านต้ นทุน นอกจากนี ้ ยังดึงดูดเงินทุนเคลือนย้ ายให้ ไหลเข้ า มา และบันทอนอุปสงค์ภายในประเทศ ในขณะที่อปสงค์ภายนอกประเทศยังไม่ฟืนตัวกลับเข้ าสูระดับก่อนวิกฤติ ประการที่สาม จากข้ อเสียของ ่ ุ ้ ่ การปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยและฐานะการคลังโดยรวมที่มนคง หน่วยงานที่รับผิดชอบด้ านการคลังจึงจัดการกับปั ญหาราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ที่สงขึ ้น ั่ ู ่ ้ ่ เมื่อไม่นานนี ้ โดยการให้ เงินอุดหนุนในหลากหลายรูปแบบ ซึงการดำเนินการดังกล่าวช่วยบรรเทาปั ญหาเงินเฟอลงชัวคราว แต่กลับทำให้ เงิน ้ เฟอคาดการณ์เพิ่มขึ ้น เนื่องจากราคาในตลาดโลกยังสูงอยู่ และต้ นทุนของการให้ เงินอุดหนุนก็เพิ่มมากขึ ้น ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ ในตลาดโลกที่เพิ่มขึนต่ อเนื่องเป็ นปั จจัยหลักที่ผลักดันเงินเฟอ ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ประเภทเชื ้อเพลิงพุงทะยาน ้ ้ ่ ขึ ้น เป็ นผลจากสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมืองในภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริ กเหนือ (MENA) และแผ่นดินไหวที่ประเทศญี่ปน ุ่ เนื่องจากคาดว่าญี่ปนจะทดแทนพลังงานนิวเคลียร์ ด้วยเชื ้อเพลิงฟอสซิล ุ่ ุ่ ้ นอกจากนี ้ ราคาอาหารในตลาดโลกที่พงสูงขึ ้นตังแต่กลางปี ้ ่ ่ 2553 แม้ จะปรับลดลงบ้ างเมื่อไม่นานนี ้ ก็ทำให้ ราคาอาหารเพิ่มขึ ้นสูงกว่าอัตราเงินเฟอทัวไปมาโดยต่อเนื่องตลอดปี ที่ผานมา (รูปที่ 68) ราคาข้ าวสาลีเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 67 นับตังแต่กลางปี 2553 และแนวโน้ มราคาในอนาคตก็ยงไม่แน่นอน มีสาเหตุจากความแห้ งแล้ งในมณฑลที่ ้ ั ้ ปลูกข้ าวสาลีที่สำคัญของจีน ส่วนราคาข้ าวนันเพิ่มสูงขึ ้นน้ อยกว่า อย่างไรก็ดี เนื่องจากมากกว่าร้ อยละ 50 ของผลผลิตข้ าวในตลาดโลกมา ้ จากประเทศไทยและเวียดนาม ดังนัน ราคาข้ าวจึงมีโอกาสสูงที่จะปรับเพิ่มขึ ้น ราคาผู้ผลิตพุงสูงขึ ้นเป็ นผลจากต้ นทุนที่สงขึ ้น (รูปที่ 69) แม้ ่ ู ว่าราคาสินค้ าโภคภัณฑ์บางประเภทจะเพิ่มสูงขึ ้นชัวคราว แต่ราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ก็ยงอยูในขาขึ ้นตลอดช่วงระยะเวลา 10 ปี ที่ผานมา เนื่อง ่ ั ่ ่ จากอุปสงค์ที่เพิ่มขึ ้นจากเศรษฐกิจกำลังพัฒนาที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศจีน ประกอบกับอุปทานที่หยุดชะงักบ่อยขึ ้น ่ ่ จากลักษณะอากาศที่พยากรณ์ยากขึ ้น ซึงอาจเป็ นภาพสะท้ อนของการเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปั จจัยเหล่านี ้น่าจะคงอยูตอไป และหมาย ่ ่ ่ ความว่าแนวโน้ มราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ที่แพงขึ ้นยังไม่นาจะพลิกผันได้ ้ ้ ิ รู ปที่ 67. เงินเฟอเพิ่มขึนทั่วภูมภาคเอเชียตะวันออก ้ รู ปที่ 68. ราคาอาหารเพิ่มขึนมากกว่ าดัชนีราคาผู้บริโภค ้ ่ ่ เงินเฟอทัวไป (เปลียนแปลงจากปี ก่อน, ร้ อยละ) ความแตกต่างระหว่างราคาอาหารและดัชนีราคาผู้บริ โภค (ร้ อยละ) 8.0 10.0 Indonesia Malaysia 6.0 8.0 Thailand Region Average 4.0 6.0 2.0 4.0 0.0 2.0 China Indonesia -2.0 Malaysia 0.0 Thailand Region Average -4.0 -2.0 Aug-09 Nov-09 Feb-10 May-10 Aug-10 Nov-10 Feb-11 Aug-09 Nov-09 Feb-10 May-10 Aug-10 Nov-10 Feb-11 ที่มา: CEIC ที่มา: CEIC 37<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 69. ราคาผู้ผลิตเร่ งตัวขึน ้ รู ปที่ 70. สินเชื่อยังคงขยายตัวอย่ างแข็งแกร่ ง ดัชนีราคาผู้ผลิต (เปลียนแปลงจากไตรมาสก่อน, ร้ อยละต่อปี ) ่ ่ การขยายตัวของสินเชื่อ (เปลียนแปลงจากปี ก่อน, ร้ อยละ) 25.0 China 30.0 2004-2007 Average Indonesia 20.0 Latest Korea 25.0 Malaysia 15.0 20.0 Philippines Thailand 10.0 15.0 5.0 10.0 0.0 5.0 -5.0 0.0 -10.0 Jul-10 Sep-10 Nov-10 Jan-11 Mar-11 ที่มา: CEIC ที่มา: CEIC ็ แม้ ว่าปั จจัยด้ านต้ นทุนจะมีบทบาทสำคัญ แต่ ปัจจัยด้ านอุปสงค์ กมีบทบาทในระบบเศรษฐกิจหลายแห่ ง เนื่องจากช่ องว่ างการผลิต ปิ ดตัวลงในขณะที่การดำเนินนโยบายการเงินยังไม่ เข้ มงวด การขยายตัวของสินเชื่อในประเทศจีนได้ ชะลอลงจากระดับที่เคยสูงมาก แต่ ยังคงสูงกว่าระดับในช่วงก่อนวิกฤต อัตราการขยายตัวของสินเชื่อในประเทศไทย สิงคโปร์ และอินโดนีเซียต่างก็สงกว่าระดับในช่วงก่อนวิกฤติและ ู ั ้ ยังคงเร่งตัวขึ ้น (รูปที่ 70) ในขณะเดียวกัน การปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยนโยบายก็ยงตามหลังเงินเฟอที่เพิ่มสูงขึ ้น ส่งผลให้ อตราดอกเบี ้ยนโยบายที่ ั ่ แท้ จริ งลดลงตลอดปี ที่แล้ ว (รูปที่ 71) ในขณะที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจได้ กลับสูภาวะปกติในหลายประเทศ และช่องว่างการผลิตในประเทศส่วน ่ ใหญ่ในภูมิภาคได้ ปิดตัวลง การกลับสูภาวะปกติของนโยบายการเงินกลับล่าช้ าออกไป การใช้ กำลังการผลิตของอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อจำหน่าย ภายในประเทศมีแนวโน้ มสูงขึ ้น และส่วนใหญ่ก็สงกว่าระดับในช่วงก่อนวิกฤติไปแล้ ว สะท้ อนถึงช่องว่างการผลิตที่ปิดตัวลง (รูปที่ 72) ู ิ รู ปที่ 71. ประเทศส่ วนใหญ่ ในภูมภาคเอเชียตะวันออกประสบ รู ปที่ 72. การใช้ กำลังการผลิตในอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อจำ ้ กับอัตราดอกเบียที่ หน่ ายในประเทศกลับมาสูงกว่ าระดับในช่ วงก่ อนวิกฤติ แท้ จริ งในปี 2554 ที่ลดลงต่ำกว่าเมื่อปี 2553 อัตราดอกเบี ้ยนโยบายที่แท้ จริ ง การใช้ กำลังการผลิต (ดัชนี: 2550 = 100) 5.00 110 4.00 3.00 105 104.0 2.00 102.1 101.9 1.00 100 98.0 0.00 97.4 -1.00 95 -2.00 Indonesia 90 -3.00 Malaysia -4.00 Philippines End-2009 Current (Feb. 7, 2011) Difference 85 -5.00 Thailand Korea 80 Jan-08 Jul-08 Jan-09 Jul-09 Jan-10 Jul-10 Jan-11 ที่มา: Datastream CEIC และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ที่มา: CEIC และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก 38<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ การฟื นตัวของเศรษฐกิจที่มีระดับการเปิ ดสูงกว่า ได้ แก่ ประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย อาศัยการกระตุ้นอุปสงค์ภายในประเทศมากกว่า ั ้ ั เนื่องจากเศรษฐกิจที่พฒนาแล้ ว หรื อก็คือการขยายตัวของอุปสงค์ภายนอกประเทศ ยังไม่ฟืนตัวเต็มที่ ในขณะที่เศรษฐกิจที่พฒนาแล้ วยังอยู่ ้ ั ่ ่ ิ ้ ระหว่างการฟื นตัว อัตราดอกเบี ้ยในประเทศเหล่านี ้ก็ยงอยูในระดับที่ตำเป็ นประวัตการณ์ ดังนัน ธนาคารกลางในภูมิภาคจึงลังเลที่จะปรับขึ ้น ่ ่ ส่วนต่างอัตราดอกเบี ้ย เพราะส่วนต่างอัตราดอกเบี ้ยที่มากขึ ้นจะดึงดูดเงินทุนให้ ไหลเข้ ามากยิ่งขึ ้น ซึงจะสร้ างแรงกดดันต่ออัตราแลกเปลียน ่ อัตราดอกเบี ้ยที่ตำในต่างประเทศจะลดความมีประสิทธิผลของการดำเนินนโยบายการเงินแบบเข้ มงวดในประเทศลง เนื่องจากเงินทุนจากต่าง ั ประเทศทำให้ อตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลลดต่ำลง และธนาคารก็สามารถระดมทุนจากต่างประเทศได้ ิ รั ฐบาลในภูมภาคเอเชียตะวันออกจำนวนมากจัดการกับราคาอาหารและพลังงานที่สูงขึน โดยการใช้ นโยบายการคลังเพื่อเป็ นกัน ้ ชนปกปองผู้บริโภคและภาคธุรกิจ ้ ประเทศไทยขยายระยะเวลาการอุดหนุนน้ ำมันดีเซลต่อไป และจะยังตรึงราคาก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว สำหรับการใช้ ในภาคครัวเรื อนและขนส่ง (คิดเป็ นร้ อยละ 55 ของปริ มาณการใช้ ทงหมด) ประเทศจีนจัดการกับปั ญหาความแห้ งแล้ งเมื่อเร็ว ๆ นี ้ ั้ ้ ในมณฑลสำคัญที่ปลูกข้ าวสาลีโดยการให้ เงินอุดหนุนโดยตรงแก่เกษตรกร การตรึงราคาค่าไฟฟาและน้ ำมันเชื ้อเพลิงในช่วงครึ่งแรกของปี 2554 ่ ่ ้ เป็ นหนึงในบรรดามาตรการที่รัฐบาลเกาหลีใช้ ผู้กำหนดนโยบายของอินโดนีเซียไม่มีแผนจะปรับขึ ้นภาษี คาไฟฟาในปี 2554 และมีการหารื อ เพื่อชะลอแผนการลดการใช้ เชื ้อเพลิงที่ได้ รับการอุดหนุน ซึงได้ รับการอนุมตเมื่อปี กลายและมีกำหนดจะเริ่ มดำเนินการในเดือนเมษายนนี ้ออกไป ่ ัิ ่ ้ ก่อน ประเทศมาเลเซียก็ให้ การอุดหนุนราคาเชื ้อเพลิง และมีความเสียงที่รัฐบาลอาจจะไม่ขึ ้นราคาเชื ้อเพลิงภายในประเทศ ดังนัน ราคาเชื ้อเพลิง ั และค่าขนส่งในหลายประเทศจึงยังไม่ปรับเพิ่มขึ ้น (รูปที่ 73) เป็ นผลจากการให้ เงินอุดหนุน อย่างไรก็ดี ราคาในตลาดโลกที่ยงคงสูงอยู่ ทำให้ เงิน ้ ่ เฟอคาดการณ์ปรับเพิ่มขึ ้นจากการคาดการณ์วาการควบคุมราคาและการอุดหนุนจะไม่สามารถดำเนินการต่อไปได้ ตลอดทังปี (รูปที่ 74) ้ รู ปที่ 73. ราคาเชือเพลิงและค่ าขนส่ งในประเทศที่มีการให้ เงิน ้ ้ ้ รู ปที่ 74. คาดการณ์ เงินเฟอมีแนวโน้ มขาขึนในปี 2554 อุดหนุนไม่ สอดคล้ องกับราคาพลังงานในตลาดโลก ้ ่ ประมาณการเงินเฟอปี 2554 (เปลียนแปลงจากปี ก่อน, ร้ อยละ) ่ ราคาเชื ้อเพลิงและค่าขนส่ง (เปลียนแปลงจากไตรมาสก่อน, ร้ อยละต่อปี ) 25 100 7.00 80 6.50 20 6.00 60 15 5.50 China Indonesia 40 5.00 Malaysia 10 Thailand 4.50 20 Region average 4.00 5 0 3.50 0 3.00 -20 Average of Thailand, Malaysia and Indonesia 2.50 Average of Singapore, Korea and the Philippines -5 -40 2.00 Crude Oil Prices (Dubai; right axis) Jan-10 Apr-10 Jul-10 Oct-10 Jan-11 Jun-10 Aug-10 Oct-10 Dec-10 Feb-11 ที่มา: CEIC และ US Energy Information Administration ที่มา: Consensus Economics 39<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 2.5.2 อัตราแลกเปลี่ยนและเงินทุนเคลื่อนย้ าย การนำเข้ าที่พ่ ุงสูงขึนจากการฟื ้ นตัวของเศรษฐกิจทำให้ การเกินดุลบัญชีเดินสะพัดลดลงในปี 2553 บัญชีเดินสะพัดเกินดุลลดลงจาก ้ ู ร้ อยละ 8.3 ของ GDP ในปี 2552 เหลือร้ อยละ 4.8 ในปี 2553 (ตารางที่ 4) หลังจากที่มลค่าการนำเข้ าในรูปดอลลาร์ สหรัฐฯ หดตัวร้ อยละ 25 ในปี 2552 มูลค่าการนำเข้ ากลับเพิ่มขึ ้นถึงร้ อยละ 37 ในปี 2553 จากการส่งออกที่เพิ่มขึ ้น (สินค้ าส่งออกที่ใช้ วตถุดบนำเข้ าในสัดส่วนที่สง) ั ิ ู และการลงทุนในอุปกรณ์ (ร้ อยละ 85 เป็ นอุปกรณ์ที่นำเข้ า) นอกจากนี ้ สินค้ าคงคลังของอุตสาหกรรมการผลิตส่วนหนึงก็เป็ นปั จจัยการผลิตที่นำ ่ ้ ่ ู เข้ า ดังนัน การลงทุนในสินค้ าคงคลังก็สนับสนุนการขยายตัวของการนำเข้ า แม้ วาการเกินดุลบัญชีเดินสะพัดจะลดลง แต่มลค่าการเกินดุลยังคงสูง ู เนื่องจากสินค้ าส่งออกมีมลค่าเพิ่มภายในประเทศสูง (ประมาณร้ อยละ 50) และขยายตัวอย่างแข็งแกร่งในปี 2553 ดุลบริ การก็เกินดุลมากขึ ้น ้ ่ เป็ นผลจากรายได้ จากนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ฟืนตัว แม้ วาจะเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองในเดือนพฤษภาคมก็ตาม อย่างไรก็ดี การเกิน ดุลดังกล่าวถูกหักกลบด้ วยการขาดดุลบัญชีรายได้ จำนวนมาก ซึงแสดงถึงกำไรของบริ ษัทต่างชาติที่เพิ่มสูงขึ ้น คาดว่าบัญชีเดินสะพัดจะยังเกิน ่ ่ ั ่ ดุลต่อไป แต่การเกินดุลจะลดลงในปี 2554 ซึงสะท้ อนลักษณะการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี นี ้ว่าเป็ นการขยายตัวที่ขบเคลือนโดยอุปสงค์ภายใน ประเทศ ตารางที่ 4. ประมาณการบัญชีเดินสะพัดจะยังเกินดุลลดลงต่ อไป ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ 2552 2553 2554p 2555p สินค้ าออก 150,743 193,662 216,017 243,829 ่ (อัตราการเปลียนแปลง, ร้อยละ) -14.0 28.5 11.5 12.9 สินค้ าเข้ า 131,356 179,632 205,645 236,441 ่ (อัตราการเปลียนแปลง, ร้อยละ) -25.2 36.8 14.5 15.0 ดุลการค้ า 19,387 14,031 10,372 7,388 ร้ อยละของ GDP 21.4 13.9 9.6 6.3 ดุลบริ การ รายได้ และเงินโอน 2,478 753 932 1,911 ดุลบัญชีเดินสะพัด 21,865 14,784 11,303 9,300 ร้ อยละของ GDP 24.2 14.6 10.4 7.9 ดุลบัญชีเงินทุนและความคลาดเคลือนสุทธิ ่ 2,261 16,210 9,480 8,839 ดุลการชำระเงิน 24,126 30,993 20,783 18,138 สินทรัพย์เงินสำรองระหว่างประเทศ (สิ ้นปี ) 138,418 172,129 192,912 211,050 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทยและประมาณการโดยธนาคารโลก แม้ ว่าการเกินดุลบัญชีเดินสะพัดจะลดลง แต่ การเกินดุลการชำระเงินกลับเพิ่มขึน ้ เป็ นผลจากการเกินดุลบัญชีเงินทุนจาก เงินทุนที่ไหลเข้ ามาจำนวนมาก ่ แม้ วาการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศจะลดลง เพราะการลงทุนของไทยในต่างประเทศเพิ่มมากขึ ้น ่ แต่เงินทุนไหลเข้ ากลับพุงสูงถึง 14.7 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ ในปี 2553 ซึงสูงที่สดนับตังแต่วิกฤติทางการเงินในเอเชีย (รูปที่ 75 และตารางที่ 5) ่ ุ ้ ่ ่ เงินทุนที่ไหลเข้ าในช่วงครึ่งแรกของปี 2553 ส่วนหนึงมาจากผู้มีถิ่นที่อยูในประเทศไทยนำเงินลงทุนที่ไปลงทุนไว้ ในต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศเกาหลี ตังแต่ปี 2552 กลับประเทศ ในช่วงครึ่งหลังของปี เงินลงทุนจากต่างประเทศฟื นตัวขึ ้นอย่างมากและรวดเร็ ว เนื่องจากสถานการณ์ ้ ้ ่ ความไม่สงบทางการเมืองคลีคลาย เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้ มการขยายตัวที่สดใส และส่วนต่างอัตราดอกเบี ้ยที่เพิ่มมากขึ ้น เป็ นผลจากการที่ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เริ่ มปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยนโยบายในเดือนกรกฎาคม นักลงทุนต่างชาติซื ้อพันธบัตรรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ั พันธบัตรที่มีอายุ 5 ปี จนเมื่อรัฐบาลออกมาตรการยกเลิกสิทธิประโยชน์ทางภาษี อากรที่เคยให้ แก่นกลงทุนต่างชาติที่ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล นัก ึ ่ ั้ ลงทุนต่างชาติจงเปลียนมาซื ้อตราสารของ ธปท.ที่มีอายุสนลงและตราสารทุนแทน (รูปที่ 76) คาดว่าเงินทุนที่ไหลเข้ ามาลงทุนในตลาด พันธบัตรรัฐบาลไทยในปี 2553 มีจำนวนเกือบ 4 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ โดยมากกว่า 1.6 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ เป็ นการลงทุนในไตรมาสที่สาม (รูปที่ 77) โดยรวมแล้ ว การถือครองพันธบัตรโดยนักลงทุนต่างชาติในตลาดพันธบัตรรัฐบาลในประเทศมีมลค่าถึง 6.2 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ ู ้ ณ สิ ้นเดือนธันวาคม หรื อสูงกว่าร้ อยละ 7 ของมูลค่าพันธบัตรรัฐบาลคงค้ างทังหมด หากเปรี ยบเทียบกับประเทศอื่นในภูมิภาค เงินทุนที่ไหลเข้ ามา ่ ในตลาดตราสารหนี ้ยังตามหลังประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคจนกระทังเดือนกรกฎาคม ในเดือนสิงหาคม ดูเหมือนว่านักลงทุนจัดสรรเงินลงทุนมายัง ประเทศไทยสูงขึ ้นอย่างเป็ นนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับอีกสองประเทศ (รูปที่ 78) 40<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 75. เกินดุลบัญชีเดินสะพัดลดลง แต่ เงินทุนไหลเข้ าจาก รู ปที่ 76. เงินทุนจากต่ างประเทศไหลเข้ ามาลงทุนในตราสารหนี ้ ต่ างประเทศทำให้ เกินดุลการชำระเงินมากขึน ้ ของรั ฐบาลเป็ นหลัก ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ 25,000 10,000 Inflows Equities 20,000 15,424 18,176 8,000 Government Debt 15,000 6,000 13,148 7,198 10,000 Non-resident Portfolio Investment 8,702 4,000 5,000 0 2,000 -5,000 0 Residents' Investments Abroad Foreigner's investments in Thailand -10,000 Net FDI Outflows -2,000 Current Account Change in Reserves -15,000 -4,000 H1 2009 H2 2009 H1 2010 H2 2010 2010 vs. 2009 2008 2009 2010 ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ้ ตารางที่ 5. การลงทุนในตราสารทุนจากต่ างประเทศฟื ้ นตัวขึน ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ 2552 2553 2552 2553 H1 H2 Q1 Q2 Q3 Q4 1. ธนาคารกลาง -206 1,687 591 -16 771 1,317 1,481 2,662 2. รัฐบาล -198 787 751 387 1,850 291 590 3,279 3. รัฐวิสาหกิจ -740 -1,872 31 452 1,928 440 -2,612 2,851 4. ธนาคาร -1,190 9,036 1,428 2,098 2,870 3,391 7,846 9,788 5. ธุรกิจที่มิใช่ธนาคาร -3,765 -6,317 976 -1,823 535 -2,353 -10,082 -2,664 การลงทุนโดยตรง 2,066 2,429 1,536 909 1,503 497 4,495 4,444 - เงินลงทุน 2,729 2,561 1,763 1,062 1,330 832 5,291 4,988 - เงินกู้ -663 -133 -228 -154 173 -335 -796 -544 การลงทุนในหลักทรัพย์ -3,377 -4,323 1,372 -438 -57 331 -7,700 1,208 - ต่างประเทศ 441 833 190 -1088 699 753 1,274 554 - ตราสารทุน 448 581 394 -964 785 1744 1,029 1,959 - ตราสารหนี ้ -7 252 -204 -124 -86 -991 245 -1405 - ประเทศไทย -3,818 -5,156 1,182 650 -756 -422 -8,974 654 สินเชื่อ (ต่างประเทศ) -131 -1,141 449 -554 258 -68 -1,272 85 สินเชื่อการค้ า -1,238 -1723 -2,177 -1,134 -741 63 -2,961 -3,989 เงินทุนอื่น -2,323 -3,281 -2,381 -1,740 -1,168 -3,112 -5,604 -8,401 เงินทุนไหลเข้ ารวม -6,099 3,322 3,777 1,098 7,953 3,087 -2,777 15,915 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย 41<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ี รู ปที่ 77. เงินทุนจากต่ างชาติท่ ไหลเข้ ามาลงทุนในพันธบัตร รู ปที่ 78. แต่ นักลงทุนต่ างชาติยังเข้ ามาลงทุนในตลาด ้ ้ รั ฐบาลเร่ งตัวขึนตังแต่ เดือนสิงหาคม ้ ตราสารหนีของไทยน้ อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ เงินทุนจากต่างประเทศที่เข้ ามาลงทุนในตลาดพันธบัตรรัฐบาลไทย (พันล้ านบาท) สัดส่วนการถือครองพันธบัตรรัฐบาลโดยชาวต่างชาติ (ร้ อยละ) 60 35 Indonesia 50 30 Malaysia Korea 40 25 Thailand 20 30 15 20 10 10 5 0 0 -10 Mar-08 Sep-08 Mar-09 Sep-09 Mar-10 Sep-10 ที่มา: ธนาคารพัฒนาเอเซีย ที่มา: ธนาคารพัฒนาเอเซีย แรงกดดันของเงินทุนไหลเข้ าต่ ออัตราแลกเปลี่ยนเป็ นประเด็นหลักที่สร้ างความกังวลในปี 2553 ทำให้ มีการออกมาตรการหลายอย่ าง ่ เพื่อจัดการปั ญหาดังกล่ าว ในไตรมาสที่สามของปี 2553 เงินทุนไหลเข้ าจำนวนมหาศาลได้ ทำให้ เงินบาทแข็งค่า และผู้สงออกเรี ยกร้ องให้ ทาง ่ การออกมาตรการเพื่อบรรเทาการแข็งค่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อดูเหมือนว่าค่าเงินบาทที่แท้ จริ งแข็งค่าขึ ้นมากกว่าประเทศอื่น ๆ ในกลุมอาเซียน (รูปที่ 79) เงินบาทแข็งค่าขึ ้นร้ อยละ 9 เมื่อเทียบกับดอลลาร์ สหรัฐฯ ในระหว่างเดือนสิงหาคมและต้ นเดือนพฤศจิกายน ซึงเป็ นช่วงที่เงินบาทแข็ง ่ ุ ่ ่ ค่ามากที่สด โดยแข็งค่าขึ ้นมากกว่าสกุลเงินอื่นในภูมิภาคซึงแข็งค่าขึ ้นเฉลียร้ อยละ 2 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จัดการปั ญหานี ้โดยการ ่ ออกมาตรการชุดใหม่เพื่อส่งเสริ มเงินทุนไหลออก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ ซึงเพิ่มขึ ้นมากในปี 2553 นอกจากนี ้ธปท.ยัง ่ ่ ่ ้ ปล่อยให้ คาเงินบาทเคลือนไหวตามกลไกตลาดแม้ จะแทรกแซงบ้ างก็เพือชะลอไม่ให้ เงินบาทแข็งค่าขึ ้นเร็วไปดังนันณสิ ้นปี ประเทศไทยมีสนทรัพย์เงิน ิ ้ สำรองระหว่างประเทศ 172 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ หรื อเกือบเท่ากับมูลค่าการนำเข้ าของทังปี 2553 จำนวน 180 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ และ ั ั ่ สุดท้ ายกระทรวงการคลังก็จดเก็บภาษี เงินได้ หก ณ ที่จาย จากผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอน ผลประโยชน์จากการโอน และดอกเบี ้ยที่ได้ รับจากการลง ่ ั ทุนในพันธบัตร ซึงเดิมเคยยกเว้ นให้ กบนักลงทุนต่างชาติ ้ รู ปที่ 79. ค่ าเงินบาทที่แท้ จริงแข็งค่ าขึนสอดคล้ องกับประเทศ รู ปที่ 80. เงินทุนที่ไหลเข้ ามาลงทุนในหลักทรั พย์ ในช่ วง ิ อื่นในภูมภาคอาเซียน ต้ นปี 2554 ถูกหักกลบด้ วยเงินทุนไหลออก ่ ดัชนีคาเงินบาทที่แท้ จริ ง (สิงหาคม 2551 = 100) เงินทุนไหลเข้ า (พันล้ านบาท) ่ ดัชนีคาเงินบาท 2,500 118 110 2,000 117 105 1,500 116 100 1,000 115 95 90 500 114 85 Thailand Other ASEAN 0 113 Korea China 80 -500 112 Equity Government -1,000 BoT NEER 111 Aug-10 Oct-10 Dec-10 Feb-11 ที่มา: BIS และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก 42<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ประเด็นเรื่ องเงินทุนเคลื่อนย้ ายผ่ อนคลายลงในเดือนพฤศจิกายน ส่ งผลให้ อัตราแลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพ แรงกดดันต่ออัตราแลก ่ ่ เปลียนเริ่ มผ่อนคลายลงในเดือนพฤศจิกายน และเมื่อสิ ้นเดือนมีนาคม 2554 เงินบาทได้ ออนค่าลงร้ อยละ 2 จากระดับที่เคยแข็งค่ามากที่สดใน ุ เดือนพฤศจิกายน 2553 (รูปที่ 80) ในเดือนมกราคม นักลงทุนต่างชาติขายหุ้นเพื่อทำกำไร และยังมีเงินทุนที่ไหลออกจากการขายกิจการในประ ู ั ๊ เทศไทยของคาร์ ฟร์ให้ กบบิกซี และการที่รัฐวิสาหกิจไปลงทุนในต่างประเทศมากขึ ้น (ตัวอย่าง เช่น ปตท.ลงทุนในโครงการท่าเรื อน้ ำลึกทวาย) เงิน ทุนที่ไหลออกเหล่านี ้ช่วยหักกลบกับเงินทุนที่ยงไหลเข้ ามาในตลาดตราสารหนี ้อย่างต่อเนื่อง และทำให้ เงินบาทอ่อนค่าลง เนื่องจากนโยบายการ ั ั ่ ่ เงินในเศรษฐกิจที่พฒนาแล้ วยังผ่อนปรนเป็ นพิเศษ สภาพคล่องจำนวนมากจึงยังคงอยู่ ซึงหมายความว่ายังมีความเสียงสูงจากเงินทุนไหลเข้ าที่มี ่ ความผันผวนรอบใหม่ ดังจะเห็นได้ จากรายงานว่ามีเงินทุนไหลเข้ ามารอบใหม่ ซึงเป็ นผลจากส่วนต่างอัตราดอกเบี ้ยที่เพิ่มมากขึ ้น หลังจากการ ้ ่ ั ้ ้ ปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยครังล่าสุด ความผันผวนในลักษณะนี ้จะทุเลาลงก็ตอเมื่อเศรษฐกิจที่พฒนาแล้ วฟื นตัวถึงขันที่เส้ นอัตราผลตอบแทนพันธบัตร รัฐบาลเริ่ มปรับสูงขึ ้น 2.6 พัฒนาการในภาคการเงินและภาคธุรกิจ 2.6.1 ภาคการเงิน ้ ธนาคารพาณิชย์ ปล่ อยสินเชื่อมากขึนในปี 2553 เนื่องจากเศรษฐกิจฟื ้ นตัวและผู้บริโภคอาศัยจังหวะกู้ในขณะที่ต้นทุนการกู้ยืมอยู่ใน ระดับตํ่า ในปี 2553 สินเชื่อขยายตัวร้ อยละ 11.8 มาอยูที่ 7.8 ล้ านล้ านบาท สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริ โภคขยายตัวร้ อยละ 15.2 โดยมีสนเชื่อ ่ ิ ึ่ ่ รถยนต์ซงขยายตัวถึงร้ อยละ 29.5 ในไตรมาสสีเป็ นตัวผลักดัน และยังช่วยชดเชยสินเชื่ออสังหาริ มทรัพย์ที่หดตัวลง (รูปที่ 81) สินเชื่อธุรกิจขยายตัวร้ อยละ 5.7 เนื่องจากกิจการต้ องการเงินทุนหมุนเวียนและเงินลงทุนมากขึ ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สินเชื่อร่วมจากสถาบันการ ่ เงินหลายแห่ง (syndicated loans) ซึงมีความต้ องการสูงมาก สอดคล้ องกับการลงทุนของกิจการเอกชนขนาดใหญ่ สินเชื่อในปี 2553 ยังสะท้ อน ั ่ ถึงการขยายตัวของสินเชื่อที่ธนาคารพาณิชย์ปล่อยให้ กบผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ซึงเป็ นกลยุทธ์ตามแนวปฏิบตในการ ัิ ่ บริ หารความเสียงที่มีความเข้ มงวดขึ ้น อย่างไรก็ดี ในปี 2554 การขยายตัวของสินเชื่อมีแนวโน้ มชะลอลง แต่ยงขยายตัวได้ อย่างแข็งแกร่ง แม้ จะมี ั ่ การคาดการณ์วาอัตราดอกเบี ้ยจะปรับขึ ้นก็ตาม ในภาวะเศรษฐกิจที่สดใส การปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยนโยบายถูกส่งผ่านไปยังอัตราดอกเบี ้ยเงินกู้ ลูกค้ ารายใหญ่ชนดี (minimum lending rate หรื อ MLR) อย่างค่อนข้ างเชื่องช้ า ในช่วงเศรษฐกิจขาขึ ้นครังนี ้ (รูปที่ 82) ซึงหมายความว่า เงื่อนไข ั้ ้ ่ ิ การให้ สนเชื่อน่าจะยังคงดึงดูดใจอยู่ เมื่อเทียบกับช่วงก่อนวิกฤต นอกจากนี ้ ความต้ องการสินเชื่อที่สถาบันการเงินหลายแห่งร่วมกันปล่อยสำหรับ โครงการลงทุนขนาดใหญ่ และสินเชื่อเพื่อใช้ คืนเงินกู้ จะยังช่วยสนับสนุนการขยายตัวของสินเชื่อในปี 2554 รู ปที่ 81. สินเชื่อรถยนต์ ขยายตัวสูงมากในปี 2553 ้ ้ รู ปที่ 82. การปรั บขึนอัตราดอกเบียนโยบายถูก ฉุดอัตราการขยายตัวของสินเชื่อโดยรวม ้ ส่ งผ่ านไปยังอัตราดอกเบีย MLR เพียงครึ่งเดียว อัตราการขยายตัว เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน (ร้ อยละ) ้ ร้ อยละ (ทังสองแกน) Growth of credit to businesses MLR 20.0 Growth of credit to individuals 35 Automobile Loan Growth 6.60 15.0 30 6.50 25 10.0 6.40 y = 0.4474x + 5.4724 20 5.0 6.30 15 0.0 6.20 10 -5.0 5 6.10 -10.0 0 6.00 Q1- Q3- Q1- Q3- Q1- Q3- 1.00 1.50 2.00 2.50 2008 2008 2009 2009 2010 2010 Policy Rate ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก 43<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ๋ เงินฝากที่ขยายตัวได้ น้อย ถูกทดแทนบางส่วนด้ วยการขยายตัวของตลาดตัวแลกเงินที่เติบโตอย่างรวดเร็ว แต่โดยรวมแล้ วสภาพคล่องลดลง ๋ เงินฝากขยายตัวร้ อยละ 4.9 ในปี 2553 ในขณะที่การออกตัวแลกเงิน (B/E) เร่งตัวขึ ้นร้ อยละ 40 จาก 699 พันล้ านบาทในปี 2552 เป็ น 981 ั พันล้ านบาท ในปี 2553 โดยมีสดส่วนร้ อยละ 13 ของการระดมเงิน การเติบโตของตลาดตัวแลกเงินถูกกระตุ้นโดยการปรับปรุงคุณลักษณะของ ๋ ั๋ ั ้ ้ ่ ผลิตภัณฑ์ตวแลกเงินให้ ไม่ซบซ้ อน และลดเพดานมูลค่าการลงทุนขันต่ำลง โดยมีเปาหมายที่กลุมนักลงทุนรายย่อย รวมทังการคุ้มครองเงินฝาก ้ แบบจำกัดจำนวนที่จะมีผลใช้ บงคับ โดยรวมแล้ วอัตราส่วนเงินให้ สนเชื่อต่อเงินฝากและตัวแลกเงินเพิ่มขึ ้นจากร้ อยละ 86 ในปี 2552 เป็ นร้ อยละ ั ิ ๋ ่ ู 88 ในปี 2553 ซึงแสดงว่าสภาพคล่องลดลงเล็กน้ อย นอกจากนี ้ การปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยนโยบายที่ถกส่งผ่านไปยังอัตราดอกเบี ้ยเงินฝากอย่าง รวดเร็ วกว่าการส่งผ่านไปยังอัตราดอกเบี ้ยเงินให้ สนเชื่อ ที่ดำเนินไปอย่างเชื่องช้ า ก็เป็ นเครื่ องยืนยันถึงการแข่งขันระดมเงินฝากที่เพิ่มมากขึ ้น โดย ิ ้ อัตราดอกเบี ้ยเงินฝากประจำประเภท 6 เดือน เพิ่มขึ ้นมากกว่าเท่าตัวนับตังแต่เริ่ มมีการปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยนโยบายในเดือนกรกฎาคมที่ผานมา ่ ้ ้ิ ้ แม้ ว่าอัตราดอกเบียในต่ างประเทศจะอยู่ในระดับต่ ำ และธนาคารจะมีหนีสนสกุลเงินตราต่ างประเทศเพิ่มขึน การระดมเงินจากต่ าง ่ ประเทศก็ยังไม่ ได้ เป็ นแหล่ งเงินทุนที่สำคัญของธนาคาร หนี ้สินสกุลเงินตราต่างประเทศของธนาคารเพิ่มขึ ้น (รูปที่ 83) แม้ วาจะถูกชดเชย ้ ่ ด้ วยสินทรัพย์สกุลเงินตราต่างประเทศและการปองกันความเสียงในขา “ซื ้อ” ที่เพิ่มขึ ้นเช่นกัน ทำให้ ฐานะเงินตราต่างประเทศสุทธิของธนาคารเพิ่ม ่ ่ ขึ ้นเพียงเล็กน้ อย แม้ วาขอบเขตและความเสียงของการระดมเงินจากต่างประเทศจะถูกจำกัดโดยเพดานฐานะเงินตราต่างประเทศที่เข้ มงวดของ ั ่ ่ ธนาคารแห่งประเทศไทย แต่โดยเปรี ยบเทียบแล้ ว ฐานะเงินตราต่างประเทศสุทธิในปั จจุบนถือว่าอยูในระดับต่ำ ซึงหมายความว่าธนาคารยัง สามารถมีฐานะเงินตราต่างประเทศสุทธิเพิ่มขึ ้นได้ อีก ส่วนต่างอัตราดอกเบี ้ยที่เพิ่มมากขึ ้นอาจเพิ่มแรงจูงใจในการระดมเงินทุนในตลาดต่าง ่ ประเทศ ซึงอาจจะยิ่งทำให้ การปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยนโยบายถูกส่งผ่านไปยังอัตราดอกเบี ้ย MLR ช้ าลงไปอีก ้ิ ้ รู ปที่ 83. หนีสนสกุลเงินตราต่ างประเทศของธนาคารไทยเพิ่มขึน รู ปที่ 84. สินเชื่อที่ไม่ ก่อให้ เกิดรายได้ (NPLs) ยังลดลงต่ อเนื่อง ิ แต่ สนทรั พย์ สกุลเงินตราต่ างประเทศก็เพิ่มขึนเช่ นกัน ้ ในขณะที่ฐานะเงินกองทุนก็แข็งแกร่ ง พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ ฐานะสุทธิ (ร้ อยละ) ล้ านล้ านบาท ร้ อยละ 40.0 Assets 1.8 2.50 Commercial Banks-Capital and NPL 60 Liabilities 1.6 35.0 Capital Funds- Net Position (% of Liquid Assets) 1.4 LHS 50 30.0 2.00 Gross NPL - LHS 1.2 40 25.0 % CAR - RHS 1.50 1.0 20.0 % NPL to total 30 0.8 1.00 loan - RHS 15.0 20 0.6 10.0 0.50 0.4 10 5.0 0.2 0.00 0 0.0 0.0 Jul-08 Jul-09 Jul-10 Sep-08 Nov-08 Jan-09 Sep-09 Nov-09 Jan-10 Sep-10 Nov-10 Jan-08 Jan-11 Mar-08 Mar-09 Mar-10 May-08 May-09 May-10 ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก 14 ตามพระราชบัญญัตสถาบันคุ้มครองเงินฝาก พ.ศ.2551 จำนวนเงินฝากที่ได้ รับความคุ้มครองจะลดลงเหลือไม่เกิน 50 ล้ านบาทในเดือนสิงหาคม 2554 และเหลือไม่เกิน 1 ล้ านบาทต่อ ิ ั๋ ่ ั๋ สถาบันการเงินในเดือนสิงหาคม 2555 เนื่องจากผลิตภัณฑ์ตวแลกเงินไม่ได้ รับความคุ้มครอง ธนาคารจึงสามารถเสนอเงื่อนไขที่ดีกว่าเงินฝากได้ ซึงทำให้ ตวแลกเงินได้ รับความสนใจอย่างมาก ึ่ จากผู้ลงทุนรายใหญ่ซงเงินฝากอาจได้ รับความคุ้มครองเพียงบางส่วน 15 คุณภาพสินทรัพย์กลับมาสูงเท่ากับระดับที่เคยสูงเป็ นประวัตการณ์ในอดีต ทำให้ ธนาคารพาณิชย์สามารถขยายสินเชื่อได้ อีกมาก อัตราส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ (NPL) เบื ้องต้ น ิ ่ ่ ุ ต่อสินเชื่อรวมลดลงเหลือร้ อยละ 3.9 ซึงเป็ นระดับที่ตำที่สดนับตังแต่ปี 2540 ในขณะที่อตราส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ (NPL) สุทธิตอสินเชื่อรวมในปี 2553 ลดลงจนทำสถิตใหม่ที่ร้อยละ ้ ั ่ ิ ่ ้ ิ 2.1 (รูปที่ 84) สินเชื่อที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ ลดลงในทุกกลุม ทังสินเชื่อธุรกิจและสินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริ โภค การที่สนเชื่อที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ ลดลงอย่างต่อเนื่องและกำไรสุทธิขยายตัวติดต่อ ้ ่ กันนันทำให้ เงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ไทยเพิ่มขึ ้นเป็ น 1.17 ล้ านล้ านบาทในปี 2553 หรื อคิดเป็ นอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสียงที่เพิ่มขึ ้นจากร้ อยละ 15.8 เป็ นร้ อยละ 16.1 โดย ้ ่ ่ ัิ ณ เดือนธันวาคม 2553 เงินกองทุนชันที่ 1 อยูที่ร้อยละ 11.9 ซึงแสดงว่าธนาคารไทยแทบจะไม่มีปัญหาในการปฏิบตตามมาตรฐานบาเซิล III ที่มีความเข้ มงวดขึ ้นเลย 44<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ิ ุ ้ ่ แนวโน้ มที่สนทรัพย์มีคณภาพดีขึ ้นนัน ได้ รับแรงสนับสนุนจากความสามารถในการทำกำไรที่ดีของกลุมธุรกิจธนาคาร กำไรสุทธิของกลุมธุรกิจ ่ ธนาคารในปี 2553 เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 33.7 เป็ น 123 พันล้ านบาท (รูปที่ 85) การขยายตัวดังกล่าวได้ รับการสนับสนุนจากรายได้ ดอกเบี ้ยที่ขยายตัวร้ อย ่ ละ 13.7 ซึงสะท้ อนการขยายตัวของสินเชื่ออย่างแข็งแกร่ง และรายได้ ที่ไม่ใช่ดอกเบี ้ยที่ขยายตัวร้ อยละ 24.9 อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (Return ่ on Assets หรื อ ROA) เพิ่มขึ ้นจากร้ อยละ 0.95 ในปี 2552 เป็ นร้ อยละ 1.2 ในปี 2553 (รูปที่ 86) คาดว่ารายได้ คาธรรมเนียมของธนาคารจะลด ลง เป็ นผลจากโครงสร้ างค่าธรรมเนียมบริ การธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ของธนาคารแห่งประเทศไทย นอกจากนี การแข่งขันระดมเงินฝากอาจส่งผล ้ ั ่ กระทบต่อรายได้ ที่ไม่ใช่ดอกเบี ้ย เนื่องจากธนาคารต่างโหมนำเสนอ “บัญชีเงินฝากปลอดค่าธรรมเนียม” ให้ กบลูกค้ า ผู้สงออกที่พยายาม ้ ่ จะปองกันความเสียงจากการแข็งค่าของเงินบาท จะทำสัญญา “ขาย” รายรับเป็ นสกุลเงินดอลลาร์ ในอนาคตไว้ ลวงหน้ าในอัตราแลกเปลียน ่ ่ ้ ึ ิ ่ ู ที่กำหนดไว้ ตายตัว ดังนัน ฐานะการซื ้อล่วงหน้ าสุทธิจงเท่ากับการมีสนทรัพย์สกุลเงินตราต่างประเทศ ซึงจะมีมลค่าเพิ่มขึ ้นในกรณีที่เงินบาทอ่อน ค่า ดังนัน จึงหักกลบกับมูลค่าหนี ้สินสกุลเงินตราต่างประเทศที่เพิ่มขึ ้นเช่นเดียวกัน ้ คุณภาพสินทรั พย์ กลับมาสูงเท่ ากับระดับที่เคยสูงเป็ นประวัตการณ์ ในอดีติ ทำให้ ธนาคารพาณิชย์ สามารถขยายสินเชื่อได้ อีกมาก อัตราส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ (NPL) เบื ้องต้ นต่อสินเชื่อรวมลดลงเหลือร้ อยละ 3.9 ซึงเป็ นระดับที่ตำที่สดนับตังแต่ปี 2540 ในขณะที่อตรา ่ ่ ุ ้ ั ่ ิ ส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ (NPL) สุทธิตอสินเชื่อรวมในปี 2553 ลดลงจนทำสถิตใหม่ที่ร้อยละ 2.1 (รูปที่ 84) สินเชื่อที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ ลด ่ ้ ลงในทุกกลุม ทังสินเชื่อธุรกิจและสินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริ โภค การที่สนเชื่อที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ ลดลงอย่างต่อเนื่องและกำไรสุทธิขยายตัวติดต่อ ิ ้ กันนันทำให้ เงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ไทยเพิ่มขึ ้นเป็ น 1.17 ล้ านล้ านบาทในปี 2553 หรื อคิดเป็ นอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสียงที่เพิ่ม ่ ้ ่ ่ ขึ ้นจากร้ อยละ 15.8 เป็ นร้ อยละ 16.1 โดย ณ เดือนธันวาคม 2553 เงินกองทุนชันที่ 1 อยูที่ร้อยละ 11.9 ซึงแสดงว่าธนาคารไทยแทบจะไม่มีปัญหา ัิ ในการปฏิบตตามมาตรฐานบาเซิล III ที่มีความเข้ มงวดขึ ้นเลย แนวโน้ มที่สนทรั พย์ มีคุณภาพดีขนนัน ได้ รับแรงสนับสนุนจากความสามารถในการทำกำไรที่ดของกลุ่มธุรกิจธนาคาร กำไรสุทธิของ ิ ึ้ ้ ี ่ กลุมธุรกิจธนาคารในปี 2553 เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 33.7 เป็ น 123 พันล้ านบาท (รูปที่ 85) การขยายตัวดังกล่าวได้ รับการสนับสนุนจากรายได้ ดอกเบี ้ยที่ ่ ขยายตัวร้ อยละ 13.7 ซึงสะท้ อนการขยายตัวของสินเชื่ออย่างแข็งแกร่ง และรายได้ ที่ไม่ใช่ดอกเบี ้ยที่ขยายตัวร้ อยละ 24.9 อัตราผลตอบแทน ่ ต่อสินทรัพย์ (Return on Assets หรื อ ROA) เพิ่มขึ ้นจากร้ อยละ 0.95 ในปี 2552 เป็ นร้ อยละ 1.2 ในปี 2553 (รูปที่ 86) คาดว่ารายได้ คาธรรมเนียม ของธนาคารจะลดลง เป็ นผลจากโครงสร้ างค่าธรรมเนียมบริ การธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ของธนาคารแห่งประเทศไทย นอกจากนี ้ การแข่งขัน ระดมเงินฝากอาจส่งผลกระทบต่อรายได้ ที่ไม่ใช่ดอกเบี ้ย เนื่องจากธนาคารต่างโหมนำเสนอ “บัญชีเงินฝากปลอดค่าธรรมเนียม” ให้ กบลูกค้ า ั รู ปที่ 85. ธนาคารมีผลกำไร 10 ไตรมาสที่ผ่านมาติดต่ อกัน ้ ้ รู ปที่ 86. รายได้ ดอกเบียสุทธิเพิ่มขึนเล็กน้ อยในปี 2553 กำไรสุทธิของธนาคารพาณิชย์ (พันล้ านบาท) พันล้ านบาท ร้ อยละ 110 30 3.00 60 10 20 2.00 -40 -90 10 1.00 -140 Net profit (loss) 0 0.00 -190 -240 -10 -1.00 -290 -340 -20 -2.00 -390 Q1 05 Q1 06 Q1 07 Q1 08 Q1 09 Q1 10 1991 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 Net Profit (Billion THB) NIM Return on Asset ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ้ ้ ้ ้ รายได้ ดอกเบียสุทธิ (net interest margin หรื อ NIM) เพิ่มขึนเล็กน้ อย แม้ ว่าอัตราดอกเบียเงินฝากจะเพิ่มขึนเร็วกว่ าอัตราดอกเบียเงิน ้ ่ ู ให้ สนเชื่อก็ตาม รายได้ ดอกเบี ้ยสุทธิ (ส่วนต่างระหว่างดอกเบี ้ยรับของธนาคารกับดอกเบี ้ยที่จายให้ ผ้ ฝากเงิน เทียบกับขนาดสินทรัพย์ของธนาคาร) ิ ่ เพิ่มขึ ้นเล็กน้ อยจากร้ อยละ 3.05 ในปี 2552 เป็ น 3.10 ในปี 2553 โดยรายได้ ดอกเบี ้ยสุทธิเพิ่มขึ ้น แม้ วาส่วนต่างอัตราดอกเบี ้ยลดลงร้ อย ละ 0.47 โดยอัตราดอกเบี ้ยเงินฝากประจำ ประเภท 12 เดือน เพิ่มขึ ้น ร้ อยละ 0.73 ในขณะที่อตราดอกเบี ้ยเงินให้ สนเชื่อเพิ่มขึ ้นเพียงร้ อยละ 0.26 ั ิ ในช่วงระยะเวลาเดียวกัน (รูปที่ 87) อย่างไรก็ดี ในอนาคตรายได้ ดอกเบี ้ยสุทธิจะได้ รับแรงกดดันจากส่วนต่างอัตราดอกเบี ้ยที่จะยังลดลงต่อ ่ ไป เนื่องจากการคาดการณ์วา ธปท.จะปรับเพิ่มอัตราดอกเบี ้ยนโยบายขึ ้นอีก และการที่การปรับขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยนโยบายถูกส่งผ่านไปยัง MLR อย่างเชื่องช้ า 45<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 อัตราการขยายตัวของสินเชื่อจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) 8 แห่ ง ชะลอลงในปี 2553 หลังจากที่ขยายตัวมากในปี ก่ อน ในปี ่ ่ 2553 ความแตกต่างระหว่างอัตราการขยายตัวของสินเชื่อ SFIs และสินเชื่อธนาคารพาณิชย์ลดลง (รูปที่ 88) ซึงเป็ นส่วนหนึงของการที่เศรษฐกิจ ่ กลับเข้ าสูภาวะปกติ สินเชื่อของ SFIs หดตัวลงร้ อยละ 18 ในปี 2553 จากที่ขยายตัวร้ อยละ 20 ในปี 2552 สถาบันการเงินเฉพาะกิจได้ ดำเนินโครง ่ ่ ่ การต่าง ๆ ของรัฐบาลเพื่อลดหนี ้สินภาคครัวเรื อน โดยโครงการหนึงคือการลดหนี ้ให้ เกษตรกร ซึงรัฐบาลจะลดต้ นเงินของหนี ้ที่ค้างลงครึ่งหนึง หาก ่ เกษตรกรตกลงจะชำระหนี ้ส่วนที่เหลืออีกครึ่งหนึงภายในระยะเวลา 10 ปี ทังนี ้ หากลูกหนี ้เป็ นสมาชิกกองทุนฟื นฟูและพัฒนาเกษตรกร (กฟก.) ้ ้ ่ ่ ่ รัฐบาลจะรับภาระค่าใช้ จายครึ่งหนึง และอีกครึ่งหนึงให้ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) รับภาระ ้ ้ รู ปที่ 87. รายได้ ดอกเบียสุทธิเพิ่มขึน แม้ ว่าส่ วนต่ างอัตรา รู ปที่ 88. การขยายตัวของสินเชื่อจากสถาบันการเงินเฉพาะ ้ ดอกเบียจะลดลง กิจชะลอลงในช่ วงครึ่งแรกของปี 2553 ร้ อยละ ปริ มาณสินเชื่อ (ล้ านบาท) การขยายตัวของสินเชื่อ (ร้ อยละ) 9 50 Avg MLR Avg 12M Depo NIM 7,000 8 6,000 40 7 5,000 30 6 4,000 5 20 3,000 4 2,000 10 3 1,000 2 0 0 1 Loan-CBs -10 -1,000 Loan-SFIs 0 Loan Growth-CBs -2,000 -20 Q1 05 Q2 05 Q3 05 Q4 05 Q1 06 Q2 06 Q3 06 Q4 06 Q1 07 Q2 07 Q3 07 Q4 07 Q1 08 Q2 08 Q3 08 Q4 08 Q1 09 Q2 09 Q3 09 Q4 09 Q1 10 Q2 10 Q3 10 Q4 10 Loan Growth-SFIs 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ที่มา: ธปท. และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ตลาดตราสารหนียังขยายตัวต่ อเนื่องในปี 2553 แต่ มูลค่ าการซือขายยังต่ ำเมื่อเปรี ยบเทียบกับนานาประเทศ มูลค่าตราสารหนี ้คงค้ าง ้ ้ ขยายตัวร้ อยละ 15 จาก 5.9 ล้ านล้ านบาทในปี 2552 เป็ น 6.8 ล้ านล้ านบาทในปี 2553 โดยมูลค่าพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยและพันธบัตร รัฐบาลขยายตัวร้ อยละ 33 และร้ อยละ 18 ตามลำดับ (รูปที่ 89) การออกและเสนอขายตราสารหนี ้ในตลาดแรกมีมลค่า 11.6 พันล้ านบาทใน ู ้ ่ ปี 2553 (ตารางที่ 6 และรูปที่ 90) โดยส่วนใหญ่เป็ นตราสารระยะสันของธนาคารแห่งประเทศไทย ซึงขยายตัวถึงร้ อยละ 15 การประมูลตัวเงิน ๋ ่ ่ คลังซึงเพิ่มขึ ้นมากในปี 2009 เนื่องจากวิกฤติการเงินโลกกลับลดลงเกือบครึ่งหนึงในปี 2553 เนื่องจากการขาดดุลการคลังลดลงมาก และการดำเนิน ุ ่ ่ ่ กลยุทธ์ในการบริ หารหนี ้ของรัฐบาลที่มีจดมุงหมายเพื่อยืดอายุของหนี ้ออกไป มูลค่าการซื ้อขายตราสารหนี ้ทุกประเภทเพิ่มขึ ้น ซึงส่วนหนึงเป็ นผล จากเงินทุนไหลเข้ า (รูปที่ 91) อย่างไรก็ดี มูลค่าการซื ้อขายที่น้อยกว่าร้ อยละ 25 ของมูลค่าตามราคาตลาดคงค้ าง ก็ยงต่ำอยูเ่ มื่อเปรี ยบเทียบกับ ั ประเทศอื่น ๆ ้ ตารางที่ 6. การออกและเสนอขายตราสารหนีในตลาดแรกชะลอลงในปี 2553 การออกและเสนอขายในตลาดแรก (พันล้ านบาท) % ของ % ของ % ของ ประเภทของตราสาร 2551 % ขยายตัว 2552 % ขยายตัว 2553 ยอดรวม % ขยายตัว ยอดรวม ยอดรวม ้ ตราสารหนีรัฐบาล พันธบัตรรัฐบาล 228 2.0 -30.9 502 4.6 120.0 429 3.9 -14.5 ๋ ตัวเงินคลัง 421 3.7 -23.9 886 8.1 110.4 485 4.5 -45.3 พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ 123 1.1 91.3 100 0.9 -18.8 43 0.4 -57.1 ธปท./FIDF/PLM 9,207 81.8 124.8 8,419 77.4 -8.6 9,715 89.3 15.4 ตราสารหนีเ้ อกชน ตราสารหนี ้ระยะยาว 261 2.5 32.7 391 3.6 49.8 260 2.4 -33.5 ้ ตราสารหนี ้ระยะสัน 979 8.7 1.0 568 5.2 -42.0 679 6.2 19.5 ตราสารหนีต่างประเทศ ้ 18 0.2 85.2 12 0.1 -33.7 12 0.1 0.0 รวม 11,237 100.0 79.2 10,878 100.0 -3.2 11,622 100.0 6.8 ที่มา: สมาคมตลาดตราสารหนี ้ไทย ้ หมายเหตุ: FIDF = กองทุนเพื่อการฟื นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน PLMO = องค์การบริ หารสินเชื่ออสังหาริ มทรัพย์ 46<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 % ของยอดรวม 2552 % ของยอดรวม % ขยายตัว 2553 % ของยอดรวม ้ รู ปที่ 89. ตลาดตราสารหนียังคงขยายตัว ้ ี รู ปที่ 90. ตราสารหนีท่ ออกและเสนอขายในตลาดแรกส่ วนใหญ่ พันล้ านบาท เป็ นของ ธปท. พันล้ านบาท 8,000 14,000 Outstanding Domestic Bonds Issuance of Domestic Bonds 7,000 12,000 Foreign Bonds Foreign Bonds 6,000 Corporate Debt Securities Offshore Corp Bond 10,000 ST Com Paper 5,000 BoT/FIDF/PLMO Bond 1/ LT Corp Bond State enterprise Bond 8,000 BoT/FIDF/PLMO Bond 4,000 T-Bills State enterprise Bond 6,000 3,000 Government Bond T-Bills 4,000 Government Bond 2,000 1,000 2,000 0 0 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 ที่มา: สมาคมตลาดตราสารหนี ้ไทยและธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มา: สมาคมตลาดตราสารหนี ้ไทยและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การออกและเสนอขายหุ้นกู้ของภาคธุรกิจขยายตัวลดลงอย่ างมากในปี 2553 เป็ นผลจากการขยายสินเชื่อของธนาคาร รูปที่ 92 แสดงให้ เห็นว่าในช่วงภาวะปกติ ภาคธุรกิจมีแนวโน้ มที่จะกระจายแหล่งเงินทุนระหว่างสินเชื่อธนาคารและหุ้นกู้ อย่างไรก็ดี เนื่องจากธนาคารลด ิ ่ การให้ สนเชื่อในปี 2552 ซึงเป็ นผลจากวิกฤติการเงินโลก บริ ษัทต่าง ๆ ก็ออกหุ้นกู้เพื่อทดแทนสินเชื่อจากธนาคาร และเมื่อธนาคารกลับมาเร่งปล่อย ้ ิ ้ ่ สินเชื่ออีกครังในปี 2010 การระดมทุนโดยใช้ สนเชื่อธนาคารก็ฟืนตัว ในขณะที่การออกหุ้นกู้ชะลอลง นอกจากนี ้ อีกสาเหตุหนึงที่ทำให้ การออกและ เสนอขายหุ้นกู้ลดลงในปี 2553 เนื่องจาก ปตท. ลดวงเงินลงทุนลง ซึงเป็ นผลสืบเนื่องจากกรณีมาบตาพุด โดย ปตท.มักจะระดมเงินเพื่อการลงทุน ่ ้ ่ ั โดยการออกหุ้นกู้ระยะยาว ดังนัน หุ้นกู้ในกลุมธุรกิจพลังงานจึงมีสดส่วนลดลงจากร้ อยละ 33 ในปี 2552 เป็ นร้ อยละ 13 ในขณะที่ห้ นกู้ในกลุม ุ ่ ่ ู ธนาคารพาณิชย์และอสังหาริ มทรัพย์ขยายตัว หุ้นกู้ที่ออกใหม่สวนใหญ่ (ร้ อยละ 81) เสนอขายในวงจำกัด(private placements) ให้ แก่ผ้ ลงทุนสถาบัน ่ และส่วนที่เหลือเป็ นการเสนอขายแก่ประชาชนทัวไป พัฒนาการนี ้เป็ นผลจากหลักเกณฑ์ใหม่ในการออกและเสนอขายหุ้นกู้ของคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ที่อนุญาตให้ ห้ นกู้ที่เสนอขายในวงจำกัดสามารถใช้ อนดับความน่าเชื่อถือขององค์กร (company ุ ั ั ้ ั rating) ได้ โดยไม่ต้องใช้ อนดับความน่าเชื่อถือของหุ้นกู้ที่เสนอขาย (issue rating) ทังนี ้ หุ้นกู้ที่ออกและเสนอขายโดยใช้ อนดับความน่าเชื่อถือของ องค์กรมีสดส่วนร้ อยละ 48 ของหุ้นกู้ที่ออกใหม่ทงหมดในปี 2553 และหุ้นกู้ระยะยาวที่ออกและเสนอขายในปี 2553 เมื่อจำแนกตามกลุมธุรกิจ พบ ั ั้ ่ ่ ั ว่านำโดยกลุมพลังงานและสาธารณูปโภค ธนาคาร และวัสดุก่อสร้ าง โดยมีสดส่วนร้ อยละ13 26 และ 7 ตามลำดับ ้ ้ รู ปที่ 91. มูลค่ าการซือขายหมุนเวียนเพิ่มขึน แต่ ยังต่ ำเมื่อ รู ปที่ 92. การระดมทุนของภาคธุรกิจโดยรวมมีความผันผวนน้ อย เทียบกับมาตรฐานระหว่ างประเทศ ้ ลง หากรวมการระดมทุนด้ วยตราสารหนีและสินเชื่อเข้ าด้ วยกัน มูลค่าการซื ้อขายหมุนเวียน (พันล้ านบาท) ่ เปลียนแปลงจากปี ก่อน (ร้ อยละ) ่ มูลค่าการซื ้อขายหมุนเวียนเฉลียต่อวัน (ล้ านบาท) 20,000 80,000 25.0 Bond Outright Trading Value SET Turnover Value 70,000 20.0 15,000 Avg Daily Bond Trading Value 60,000 Avg Daily SET Turnover Value 50,000 15.0 10,000 40,000 30,000 10.0 5,000 20,000 5.0 10,000 0 0 0.0 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2005 2006 2007 2008 2009 2010 -5.0 Total LT Corporate Financing LT Corporate Bonds (incl. SOEs) -10.0 Commercial Bank Loans to Businesses (incl. SOEs) ที่มา: สมาคมตลาดตราสารหนี ้ไทยและธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มา: สมาคมตลาดตราสารหนี ้ไทยและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 47<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 2.6.2 ภาคธุรกิจ ี ้ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทยมีผลการดำเนินงานดีท่ สุด นับตังแต่ ปี 2549 จากยอดขายที่สูงและประสิทธิ ภาพที่ดขน สะท้ อนถึงอุปสงค์ ในประเทศที่แข็งแกร่ ง ผลกำไรของบริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ในปี 2553 ี ึ้ ่ ขยายตัวเฉลียร้ อยละ 32.6 เป็ น 618 พันล้ านบาท โดยผลกำไรในไตรมาสสีของปี 2553 ซึงโดดเด่นเป็ นพิเศษ ขยายตัวถึงร้ อยละ 49 เมื่อเทียบกับ ่ ่ ู ่ ช่วงเดียวกันของปี ก่อนหน้ า เป็ นอัตราการขยายตัวที่สงสุดนับแต่ปี 2549 และผลกำไรที่ขยายตัวดีนี ้มาจากบริ ษัทจากหลากหลายกลุมอุตสาหกรรม ่ นำโดยกลุมพลังงาน ธนาคาร อสังหาริ มทรัพย์และการก่อสร้ าง ผลกำไรที่เพิ่มสูงขึ ้นนี ้สะท้ อนรายได้ จากการขายที่เพิ่มขึ ้นมากและอัตรากำไรของธุรกิจ ที่ดีขึ ้นเล็กน้ อย (รูปที่ 93) บริ ษัทจดทะเบียนฯ มีรายได้ จากการขายในปี 2553 รวม 7.4 ล้ านล้ านบาท หรื อเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 17 จากปี ก่อนหน้ า โดย รายได้ ของภาคธุรกิจเป็ นไปตามภาวะเศรษฐกิจ กล่าวคือ ฟื นตัวอย่างแข็งแกร่ง แล้ วชะลอลง และกลับมาฟื นตัวอีกครังในไตรมาสสี่ แม้ วาสินเชื่อจะ ้ ้ ้ ่ ่ ้ ขยายตัวอย่างแข็งแกร่ง อัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นกลับเพิ่มขึ ้นเล็กน้ อยจาก 2.9 เป็ น 3.0 โดยทรงตัวอยูในระดับดังกล่าวมาตังแต่ปี 2549 (รูปที่ 94) รู ปที่ 93. บริษัทจดทะเบียนมีกำไรติดต่ อกันเป็ นไตรมาสที่แปด ึ้ ้ รู ปที่ 94. ผลการดำเนินงานดีขนเมื่อพิจารณาจากตัวชีวัดต่ าง ๆ พันล้ านบาท ร้ อยละ 200 25 Gross Profit ROA ROE 150 20 100 15 50 0 10 -50 5 -100 Quarterly Net Profit (Billion THB) Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 06 06 07 07 08 08 09 09 10 10 0 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 ที่มา: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ที่มา: ตลท.และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก ิ ้ ในปี 2553 ตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทยให้ ผลตอบแทนสูงกว่ าตลาดอื่นในภูมภาค เนื่องจากปั จจัยพืนฐานและปั จจัยทางเทคนิค ุ ในปี 2553 ดัชนีราคาหุ้น ตลท. (SET Index) ปิ ดที่ 1,033 จุด สูงที่สดในรอบ 13 ปี และเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 40.6 จากระดับเมื่อสิ ้นปี 2552 (รูปที่ 95) ่ ุ ้ ู ่ มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด ณ สิ ้นปี อยูที่ 8.3 ล้ านล้ านบาท สูงที่สดนับตังแต่ ตลท.เปิ ดทำการ ในขณะที่มลค่าการซื ้อขายหมุนเวียนเฉลียต่อ ู ิ วันก็สงเป็ นประวัตการณ์ที่ 28,700 ล้ านบาทต่อวัน ผลการดำเนินงานที่ดีเป็ นพิเศษนี ้เกิดขึ ้นจากหลายปั จจัย ในด้ านปั จจัยพื ้นฐาน ความสามารถ ู ู ในการทำกำไรที่ดีขึ ้นและแนวโน้ มเศรษฐกิจไทยที่สดใสทำให้ หลักทรัพย์ในตลาดมีมลค่าสูงขึ ้น นอกจากนี ้ สภาพคล่องที่สงในตลาดการเงินโลก นัก ลงทุนรายย่อยที่สนใจลงทุนในหุ้นอย่างต่อเนื่อง และราคาหุ้นที่โดยเปรี ยบเทียบแล้ วยังมีราคาไม่แพง ภายหลังจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการ ้ ุ เมืองต่างช่วยสนับสนุนดัชนีราคาหุ้นให้ ปรับเพิ่มขึ ้น ทังนี ้ ปั จจัยที่สำคัญที่สดในบรรดาปั จจัยต่าง ๆ คือการลงทุนของนักลงทุนต่างประเทศที่เพิ่ม มากขึ ้น โดยมูลค่าการซื ้อสุทธิของนักลงทุนต่างประเทศมีการขยายตัวเพิ่มขึ ้น เป็ น 39,000 ล้ านบาทในปี 2553 (รูปที่ 96) 48<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 95. ตลาดหลักทรั พย์ ของไทยให้ ผลตอบแทนสูงที่สุดใน รู ปที่ 96. นักลงทุนต่ างชาติขายทำกำไรในเดือนมกราคม ภูมภาคในปี 2553 ิ ้ แต่ กลับมาซือในเดือนกุมภาพันธ์ ร้ อยละ ล้ านบาท SET Index Market Performance in the Region 60,000 1,200 60 56 53 50 46 45 40,000 1,000 41 38 40 33 20,000 800 30 22 21 19 17 20 0 600 10 11 10 -20,000 400 0 -10 -3 -2 In USD In local currency -7 -7 -40,000 200 -10 Local Retail Investors -20 Foreign Investors -60,000 SET Index 0 ที่มา: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ที่มา: ตลท.และการคำนวณโดยพนักงานของธนาคารโลก 49<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 บทที่ 3 การเติบโตอย่ างยั่งยืนและมีส่วนร่ วม 3.1 พัฒนาการในตลาดแรงงานและความคุ้มครองทางสังคม ตลาดแรงงานและรายได้ ครั วเรื อน ราคาสินค้ าเกษตรที่สูงขึนช่ วยเพิ่มรายได้ ให้ กับครอบครั วในชนบทแม้ ว่าผลผลิตจะลดลงเนื่องจากสภาพอากาศที่แปรปรวน ้ ราคา ของผลผลิตหลักทางการเกษตรเช่น มันสำปะหลังและยางพาราเพิ่มสูงขึ ้นอย่างมากในปี 2553 ราคามันสำปะหลังสูงขึ ้น 52% จากความต้ อง การเชื ้อเพลิงชีวภาพอย่างมากจากประเทศจีน ขณะที่ราคายางพาราสูงขึ ้น 56% จากความต้ องการซื ้อของจีนเช่นกัน ราคาข้ าวทรงตัวโดยส่วนใหญ่ ่ ้ ราคาปิ ดของปี 2553 เพิ่มขึ ้นประมาณ 6% เมื่อเทียบกับราคาเฉลียของปี 2552 นอกจากนันโครงการประกันราคาของรัฐบาลยังช่วยเพิ่มรายได้ ั ู ่ ู ให้ กบเกษตรกรเป็ นพิเศษเพราะว่าราคาที่ถกประกันโดยรัฐบาลอยูสงกว่าราคาตลาดเกือบตลอดฤดูเก็บเกี่ยว ราคาที่สงขึ ้นช่วยชดเชยผลผลิตที่ลด ู ัิ ั ั้ ลงอันเกิดจากอุบตภยทางธรรมชาติทงจากความแห้ งแล้ งและน้ ำท่วม ผลผลิตทางการเกษตรลดลง 3% ในปี 2553เมื่อเทียบกับปี 2552แต่รายได้ ่ ของเกษตรกรเพิ่มขึ ้น 11% ในช่วงเวลาเดียวกัน สิงสำคัญคือรายได้ ของเกษตรกรสูงขึ ้นอย่างต่อเนื่องเร็วกว่าเงินเฟอในภาคชนบท พิจารณาจาก ้ ่ ่ ่ ู กำลังซื ้อของครอบครัวในชนบทเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง (รูปที่ 97) มุมมองของปี 2554 จะยังคงแข็งแกร่ง ถึงแม้ วาความเสียงจะอยูในระดับที่สงขึ ้น น้ ำท่วมครังล่าสุดในภาคใต้ และความกังวลอย่างสูงเกี่ยวกับสภาพอากาศที่แปรปรวนขึ ้นเรื่ อยๆทำให้ เกิดความเสี่ยงที่วาผลผลิตที่ได้ อาจจะผันผวน ้ ่ ้ ้ อีกครัง (รูปที่ 98) นอกจากนันราคาน้ ำมันที่เพิ่มสูงขึ ้นอาจจะส่งผลต่อรายได้ ภาคครัวเรื อนของเกษตรกร ภาคเกษตรกรรมมีการใช้ พลังงานอย่างมา ๋ ๋ กเพราะว่าน้ ำมันมีผลกระทบต่อปุย การเก็บเกี่ยวและการขนส่ง ราคาปุยได้ เพิ่มขึ ้นเมื่อไม่นานมานี ้ การกำหนดเพดานของราคาน้ ำมันดีเซลอาจจะ ุ ถูกยกเลิกไปภายในครึ่งแรกของปี นี ้ แล้ วในที่สดราคาน้ ำมันจะส่งผลกระทบต่อราคาสินค้ าบริ โภคและลดทอนกำลังซื ้อ ้ รู ปที่ 97 รายได้ ของเกษตรกรเพิ่มขึนสูงกว่ าราคาสินค้ าใน ้ รู ปที่ 98 การผลิตของหมวดอาหารมีความผันผวนสูงขึน ชนบทถึงแม้ ว่าผลผลิตจะลดลง ้ ตังแต่ ปี 2548 Annual rate of growth, 12-month MA (percent) Annual rate of growth of production of food crops, 12-month MA (percent) 30.0 10 Crop Prices 25.0 8 Crop 20.0 Production 6 1997 - 2005 Farm Average: 15.0 Income 4 3.1 pct Rural Prices 10.0 2 5.0 0 2005-2010 -2 Average: 0.0 1.0 pct -4 -5.0 -6 -10.0 -8 -15.0 ที่มา ธปท. กระทรวงพาณิชย์และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา ธปท และการคำนวณของธนาคารโลก 50<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 แม้ ว่าครั วเรื อนโดยส่ วนใหญ่ ( รวมถึงอีกหลายคนที่อยู่ในกลุ่มคนจน ) ได้ รับประโยชน์ จากการที่ราคาสินค้ าเกษตรสูงขึนและผล ้ กระทบที่เกี่ยวเนื่องของค่ าจ้ าง แต่ มีความเป็ นไปได้ ท่ บางคนซึ่งอ่ อนไหวง่ ายที่สุดจะต้ องอดทนต่ อราคาอาหารที่สูงขึน ในปี 2551 ประเทศ ี ้ ้ ่ ่ ่ ้ ไทยประกาศว่ามีการเพิ่มขึ ้นเป็ นครังแรกของจำนวนคนซึงใช้ ชีวิตอยูตำกว่าเส้ นความยากจนนับตังแต่เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจปี 2540 ุ มีคนไทย 350,000 คนกลายเป็ นคนยากจน ( รูปที่ 99 ) การเติบโตในรายจ่ายเพื่อการบริ โภคของคนจนที่สด 20% ของครัวเรื อนเป็ น 9.7% แต่ ราคาอาหารที่ทะยานสูงขึ ้นนำไปสูการเพิ่มขึ ้นอย่างมากในเส้ นความยากจน ( อาหารประกอบเป็ น 56% ของตะกร้ าการบริ โภคของครัวเรื อนที่ ่ ุ ่ จนที่สด ) แต่ถ้าปรับเอาการเพิ่มขึ ้นของความยากจนออก อัตราการเติบโตของการบริ โภคจะหายไป หลายครอบครัวที่ออนไหวง่าย ( ซึงเป็ น ่ ่ ่ ้ กลุมคนซึงอยูเ่ หนือเส้ นความยากจนเล็กน้ อย ) เป็ นผู้ที่ซื ้ออาหารโดยสุทธิ เพราะฉะนันรายได้ ที่พวกเขาได้ รับจึงไม่พอเพียงต่อต้ นทุนการดำรง ู ่ ่ ่ ชีวิตที่สงขึ ้นและนำไปสูการเพิ่มขึ ้นของจำนวนคนที่อยูภายใต้ เส้ นความยากจน แม้ วาจะมีวิกฤตการณ์ทางการเงินของโลกและเกิดการหดตัวลง ของ GDP และการบริ โภคส่วนบุคคล ทำให้ ราคาอาหารบรรเทาลงในปี 2552 จึงส่งผลให้ ความยากจนลดลง 17 ในปี 2552 อัตราความยากจนเท่ากับ ร้ อยละ 8.1 รู ปที่ 99 ราคาอาหารมีความเชื่อมโยงกับความยากจนที่เพิ่มขึน ้ ้ รู ปที่ 100 ค่ าจ้ างและการจ้ างงานในภาคเกษตรกรรมทะยานขึน สังเกตได้ ในปี 2551 ้ และดึงให้ ค่าจ้ างแรงงานไร้ ฝีมือสูงขึนด้ วย Increase in the poverty line, 2007 to 2008 (percent) Change in Average Wages Q4 2009 to Q4 2010 (percent) 15.0 Bubble sizes represent 25 average wages relative to Agriculture (=100) Agriculture 10.0 20 5.0 Construction 15 0.0 Tourism Oriented 10 Number of Poor -5.0 5 Consumption Growth Manufacturing -10.0 Poverty Line 0 Food Prices -6 -4 -2 0 2 4 6 Retail -15.0 -5 2006 2007 2008 2009 Change in Employment Q4 2009 to Q4 2010 ที่มา สสช, กระทรวงพาณิชย์และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา สสช, กระทรวงพาณิชย์และการคำนวณของธนาคารโลก ้ ้ ้ ราคาสินค้ าเกษตรที่ปรั บตัวสูงขึนนำไปสู่การเพิ่มขึนของค่ าจ้ างแรงงานในภาคการเกษตรซึ่งช่ วยผลักให้ ค่าจ้ างทังหมดสูงขึนในปี 2553 ้ ู ค่าจ้ างที่แท้ จริ งในภาคเกษตรกรรมสูงขึ ้น 16.5% ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2553 เมื่อเผชิญกับการแข่งขันที่สงขึ ้นจากแรงงานภาคเกษตรกรรม ธุรกิจ ่ นอกภาคเกษตรกรรมต้ องขึ ้นค่าจ้ างเพื่อลดอัตราการลาออกไปทำงานยังภาคเกษตรกรรม ดึงให้ คาจ้ างที่แท้ จริ งนอกภาคเกษตรกรรมเพิ่มสูงขึ ้นร้ อย ่ ่ ละ 4.3 รูปที่ 100 แสดงว่าถ้ าไม่รวมภาคเกษตรกรรม ความสัมพันธ์เชิงลบระหว่างการเปลียนแปลงในค่าจ้ างกับการเปลียนแปลงในระดับการจ้ าง งานในภาคแรงงานไร้ ฝีมือ ที่สำคัญคือมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวนันกับช่องว่างระหว่างค่าจ้ างแรงงานภาคเกษตรกรรมกับค่าจ้ างเฉลีย ้ ่ ่ ้ ั ในภาคอื่นๆ (ขนาดของวงกลมในรูป) เมื่อค่าจ้ างเฉลียของภาคนันลดลง (ลดลงมาใกล้ กบค่าจ้ างแรงงานภาคเกษตรกรรม) จึงมีความเป็ นไปได้ ู มากที่แรงงานจะย้ ายกลับไปทำงานยังภาคเกษตรกรรมเมื่อค่าจ้ างในภาคเกษตรกรรมปรับตัว สูงขึ ้นและส่วนที่สงขึ ้นก็เป็ นค่าจ้ างที่ถกต้ องการให้ ู เพิ่มขึ ้นเพื่อรักษาคนงานเอาไว้ โดยรวมแล้ วค่าจ้ างที่แท้ จริ งเพิ่มขึ ้น 6.3% ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2553 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2552 17ราคาอาหารที่ตำลงเป็ นเพียงส่วนหนึงของเหตุผลที่ทำให้ ความยากจนลดลง นับตังแต่การเติบโตของรายได้ สำหรับคนจนที่สด 20% ของประชากรโดดเด่นขึ ้นในปี 2552 กว่าปี 2551 ่ ่ ้ ุ ่ แม้ วาจะมีวิกฤติเศรษฐกิจ 51<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ การขึนค่ าจ้ างคือสัญญานของตลาดแรงงานที่ตึงตัวซึ่งยืนยันได้ จากอัตราการเลิกจ้ างที่อยู่ในระดับตํ่าซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่งของการออก ั ้ ่ ู จากงาน (job separation) ทังหมด ในขณะที่อตราการว่างงานในประเทศไทยโดยโครงสร้ างนันอยูในระดับต่ำและไม่ได้ ถกนำมาเป็ นตัวชี ้วัดสภาพ ้ ของตลาดแรงงาน ส่วนตัวชี ้วัดอื่นๆชี ้ให้ เห็นว่าตลาดงานกำลังตึงตัว ในไตรมาสที่ 4 สัดส่วนที่สงของการออกจากงานเกิดจากการลาออกมากกว่าการ ู ปลดออก แสดงให้ เห็นถึงความเป็ นไปได้ ที่คนงานลาออกจากงานเพื่อแสวงหาทางเลือกอื่นๆในการทำงาน ( รูปที่ 101 ) ตัวชี ้วัดอื่นๆของสภาพ ตลาดแรงงานบ่งชี ้ด้ วยเช่นกันว่ามีความตึงตัวอย่างสูง สัดส่วนของกำลังแรงงานซึงไม่ได้ ถกจ้ างหรื อทำงานน้ อยกว่า 20 ชัวโมงต่ออาทิตย์ได้ แตะ ่ ู ่ ระดับตํ่า 6.3% ในเดือนตุลาคม ( รูปที่ 102 ) ในขณะที่สวนแบ่งของกำลังแรงงานที่ทำงานมากกว่า 40 ชัวโมงต่ออาทิตย์ได้ ฟืนตัวจากวิกฤติแล้ ว แต่ยงคง ่ ่ ้ ั ่ ่ อยูตํ่ากว่าระดับสูงสุดของช่วงก่อนเกิดวิกฤติ กลุมนี ้ได้ รับผลกระทบจากการจ้ างงานภาคการผลิตที่เติบโตอย่างเชื่องช้ า ที่ซงการทำงานล่วงเวลาเป็ น ึ่ ั้ ส่วนสำคัญของรายได้ ทงหมด รู ปที่ 101 การออกจากงานลดลง รวมถึงการลดลง ี รู ปที่ 102 จำนวนของผู้ท่ ไม่ มีงานเต็มเวลาทำลดลงสู่ระดับ ของการเลิกจ้ าง ตํ่าสุดตลอดกาล Increase in the poverty line, 2007 to 2008 (percent) Change in Average Wages Q4 2009 to Q4 2010 (percent) 45.0 250 9.0 72.0 Job Separation Index 40.0 71.5 8.5 35.0 200 71.0 Lay Offs as % of all job separations 8.0 30.0 70.5 150 25.0 7.5 70.0 20.0 69.5 100 7.0 15.0 69.0 6.5 10.0 68.5 50 5.0 6.0 68.0 0.0 0 Share of the labor force without a full-time job Share of the labor force working more than 40 hours per week ที่มา สสช, กระทรวงพาณิชย์และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา สสช และการคำนวณของธนาคารโลก มีคนว่ างงานจำนวนไม่ มากที่กำลังหางานซึ่งอยู่ในกลุ่มที่ต้องใช้ ความชำนาญสูง ี ี โดยมีข้อจำกัดอยู่ท่ การจับคู่ท่ ไม่ ตรงกันของ ่ ่ อุปสงค์ และอุปทานด้ านความชำนาญ ความขัดแย้ งอาจจะถูกวัดได้ จากเวลาเฉลียที่ใช้ สำหรับคนว่างงานจนกระทังได้ รับข้ อเสนอในการจ้ าง ่ งาน ระหว่างไตรมาส3 ของปี 2553 คนงานที่มีการศึกษาสูงใช้ เวลาเฉลียนานกว่าคนงานที่ไม่มีการศึกษาถึง 3 เดือนในการหางานทำ ( รูปที่ 103 ) การว่างงานในภาคแรงงานที่มีความชำนาญสูงอาจจะสะท้ อนอุปสงค์และอุปทานของความไม่ตรงกันด้ านความชำนาญ ( มีตำแหน่งงานที่วาง ่ ่ หลายตำแหน่งสำหรับแรงงานฝี มือต่ำ) แต่ตลาดแรงงานปกติก็มีปัญหานี ้ด้ วยเหมือนกันเพราะแรงงานฝี มือต่ำอาจจะหางานได้ งายกว่าแรงงานที่มี ฝี มือสูงกว่าแต่มีความชำนาญเฉพาะทางมากกว่า จึงพูดได้ วาตลาดแรงงานสำหรับแรงงานไร้ ฝีมืออยูในภาวะตึงตัวเป็ นพิเศษ ซึงถูกสะท้ อนโดย ่ ่ ่ ่ ความมันใจที่มากขึ ้นของแรงงานอพยพในภาคไร้ ฝีมือค่าแรงต่ำ ในหลายๆภาคเช่น ก่อสร้ าง เกษตรกรรมและประมง หลายมาตรการด้ าน ้ กฎระเบียบที่เข้ มงวดในการจ้ างแรงงานอพยพนันจูงใจให้ มีการหันไปจ้ างแรงงานอพยพที่ไม่ได้ ลงทะเบียนจากพม่า ลาวและเขมร (รูปที่ 104) 52<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 103 ผู้ท่ มีการศึกษาสูงกลับต้ องใช้ เวลาในการหางานสูง ี รู ปที่ 104 แรงงานอพยพมีแพร่ หลายในบริเวณที่ค่าแรงตํ่ากว่ า เช่ น การก่ อสร้ างและการเกษตร Job seeking duration by educ. level, Q3 2010 (number of job seekers) Non-registered Migrant Labor by Sector in February 2011 40,000 35,000 Housework 30,000 Higher Level Textiles 25,000 Upper Secondary Level Lower Secondary 20,000 Elementary Sea Fishery 15,000 No education 10,000 Construction 5,000 Agriculture & Livestock 0 Less than 1 1-2.9 Months 3-5.9 Months 6-12+ Months 0 20000 40000 60000 Month Myanmar Lao PDR Cambodia ที่มา สสช, กระทรวงพาณิชย์และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา สสช, และการคำนวณของธนาคารโลก ผลสะท้ อนจากปั จจัยภายนอกของภาคอุตสาหกรรมและแรงกดดันทางการแข่ งขัน ธุรกิจในภาคการผลิตพยายามที่จะควบคุมต้ น ้ ู ทุนค่ าแรงในหลายๆวิธี การเติบโตของการจ้ างงานในภาคอุตสาหกรรมนันถูกจำกัด แสดงว่าผลผลิตที่สงขึ ้นเกิดจากการลงทุนในเทคโนโลยีมาก ้ กว่า ยิ่งกว่านันค่าจ้ างปรับตัวสูงขึ ้นช้ าตรงกันข้ ามกับภาคเกษตรกรรมซึงค่าจ้ างเฉลียที่สงขึ ้น ดูได้ จากสัดส่วนของคนงานที่สงขึ ้นในหมวดที่คาจ้ าง ่ ่ ู ู ่ ่ ่ ่ ่ สูงกว่า ส่วนภาคการผลิตจะเห็นว่ามีการลดลงอย่างชัดเจนของส่วนแบ่งในกลุมค่าจ้ างสูงและเปลียนไปเป็ นกลุมที่มีคาจ้ างปานกลาง (รูปที่ 105) แสดงให้ เห็นว่ามีการเน้ นไปที่การจ้ างแรงงานค่าจ้ างถูก นอกจากนันองค์ประกอบของรายได้ คาจ้ างในภาคการผลิตได้ ถกกระจายออกไปมากรวม ้ ่ ู ู ่ ถึงสัดส่วนที่สงของสวัสดิการและเงินล่วงเวลาซึงสามารถถูกตัดออกในกรณีที่มีความต้ องการผลิตสินค้ าลดลงอย่างรุนแรง (รูปที่ 106) รู ปที่ 105 ธุรกิจด้ านการผลิตจ้ างคนงานด้ วยค่ าจ้ างตํ่าลง ้ ิ รู ปที่ 106 การเพิ่มขึนของการทำงานล่ วงเวลาและรายได้ พเศษ อื่นๆช่ วยเพิ่มรายได้ ให้ กับแรงงานภาคการผลิต Number of employed by income level, Q3 2008 – Q3 2010 (pct change) Average Labor Income Breakdown by Sector (THB) Fringe Benefits Average Wage Overtime Compensation Less than 1501 Baht Health and social work 1501-2500 Baht Education Agriculture 2501-3500 Baht Public administration and Manufactring defence, 3501-4500 Baht Hotel and restaurants 4501-5500 Baht Manufacturing Q3/2009 6,501-20000 Baht Manufacturing Q3/2010 More than 20,001 Baht Agriculture, hunting and forestry -6 -4 -2 0 2 4 6 8 0 5,000 10,000 15,000 20,000 ที่มา สสช, และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา สสช, และการคำนวณของธนาคารโลก 53<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 จากแรงกดดันที่มากขึนในตลาดแรงงาน ทำให้ ในปี 2553 มีแนวโน้ มว่ าแรงงานไทยจะกลับไปหางานทำยังต่ างประเทศ ท่ามกลาง ้ ่ ่ ภาวะเศรษฐกิจถดถอยของโลกเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2551 แรงงานไทยจำนวนมากที่ทำงานอยูตางประเทศเดินทางกลับบ้ านเพราะโอกาสของ ้ การจ้ างงานในสหภาพยุโรป ตะวันออกกลางและเอเชียลดน้ อยลง เมื่อการฟื นตัวเริ่ มกลับมาในสภาวะที่เศรษฐกิจเติบโต แรงงานไทยเริ่ มมีความ ่ มันใจและกลับไปทำงานต่างประเทศในปี 2553 (รูปที่ 107) โดยรวมแล้ วจำนวนของคนงานไทยในต่างประเทศเติบโตขึ ้น 4% ในเดือนมกราคมปี 2554 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี ก่อน จุดหมายปลายทางหลักของคนงานไทยคือไต้ หวัน สิงค์โปร์ เกาหลีใต้ ลิเบียและกาตาร์ คาดกัน ว่าจำนวนของคนงานไทยในต่างแดนจะเติบโตอย่างต่อเนื่องเพราะผลของการเซ็นสัญญาทวิภาคีเพื่อเพิ่มโควต้ าของคนงานไทยที่ลงทะเบียนใน เกาหลีใต้ และไต้ หวัน รู ปที่ 107 คนงานไทยกำลังกลับไปทำงานต่ างประเทศ ้ รู ปที่ 108 แรงงานนอกระบบเพิ่มขึนในกลุ่มนอกภาค เกษตรกรรม Change from previous year (percent) Number of workers Change from previous year (percent) 25,000 12 40 Overseas Thai Workers (%YoY) 10.3 10 Inward Remittances (%YoY) 30 20,000 8 20 6 15,000 4.3 4 10 2.7 2 0 10,000 1.1 0 -10 5,000 -2 -20 -4.1 -4 -30 0 -6 2005 2006 2007 2008 2009 2010 Non-Agriculture Agriculture Growth of Workers in the Non-Agricultural Informal Economy ที่มา สสช, และการคำนวณของธนาคารโลก ที่มา สสช, และการคำนวณของธนาคารโลก จำนวนของคนงานนอกภาคเกษตรกรรมในเศรษฐกิจนอกระบบเพิ่มขึนนับตังแต่ เศรษฐกิจโลกตกต่ ำ เมื่อปี 2553 ตลาดแรงงาน ้ ้ นอกระบบของไทยมีจำนวน 24 ล้ านคนหรื อคิดเป็ น 62 % ของกำลังแรงงานรวม18 สัดส่วนสูงสุดของแรงงานนอกระบบอยูในภาคเกษตรกรรม ่ ่ ั ้ ่ ซึงมีผลผลิตในสัดส่วนที่น้อย ขนาดของภาคเกษตรกรรมนอกระบบค่อนข้ างคงที่นบตังแต่ปี 2550 และมีคนงานอยูที่ 14.4 ล้ านคน( รูปที่ 108 ) ใน ่ ้ ขณะที่จำนวนของคนงานนอกภาคเกษตรกรรมนอกระบบ (อยูในภาคค้ าปลีกเป็ นหลัก) เพิ่มขึ ้นมากกว่า 7% นับตังแต่ปี 2550 และมีคนงานจำนวน 9.6 ล้ านคนโดยประมาณในปี 2553 ความคุ้มครองทางสังคม : ริเริ่มขยายการประกันเงินบำนาญในประเทศไทย19 สืบเนื่องจากคนงานจำนวนมากอยู่นอกระบบและสังคมของคนสูงอายุของประเทศไทย ทำให้ มีความมุ่งเน้ นไปที่การเพิ่มขึนของการ ้ ่ ่ ่ ้ เข้ าถึงโครงการบำนาญ เช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ประเทศไทยได้ ผานการเปลียนแปลงทางประชากรจากระดับสูงไปสูระดับต่ำทังอัตราการเกิด และอัตราการตาย ส่งผลให้ มีการเพิ่มขึ ้นของประชากรสูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึ ้นไป) ความสำเร็จของโครงการวางแผนครอบครัวและการพัฒนาระบบ 18 เศรษฐกิจนอกระบบในประเทศไทยถูกนิยามโดยสำนักงานสถิตแห่งชาติโดยใช้ ตวแปรของลักษณะทางคุณสมบัตและจำนวนของลูกจ้ าง (น้ อยกว่า 9) จากคำนิยามนี ้เอง จึงเป็ นไปได้ วา ิ ั ิ ่ ขนาดของเศรษฐกิจนอกระบบอาจจะถูกชดเชยมากเกินไปโดยธุรกิจจดทะเบียนขนาดเล็ก 19 ข้ อมูลจาก Magnus Lindelow พิริยะ ผลพิรุฬห์ และสุทยุต โอสรประสพ 54<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 สาธารณสุข ในประเทศไทยตลอดทศวรรษที่ ผ่ า นมาเป็ นปั จ จัย สำคัญ ซึ่ง ช่ ว ยลดอัต ราการเกิ ด และทำให้ ร ะยะเวลาในการมี ชี วิ ต อยู่ย าวขึน ้ ้ ้ อัตราการเกิดรวมลดลงจากร้ อยละ 6.4 ในปี 2493 เหลือเพียงร้ อยละ 1.8 ในปี 2551 และถูกตังเปาให้ เหลือร้ อยละ 1.5 ในอีก 20 ปี ข้ างหน้ า (ตาราง 7)20 ระยะเวลาของการมีชีวิตเพิ่มขึ ้นจาก 54 ปี ในปี 2503 เป็ น 69 ปี ในปี 2551 และถูกวางแผนให้ เพิ่มเป็ น 76.8 ปี ในปี 2568 และ 79.1 ปี ใน ปี 2593 21 ผลจากการเปลียนแปลงทางประชากร ประชากรของไทยมีอายุยืนขึ ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อปี 2493 มีเพียง 5% ของประชากรที่มีอายุมากกว่า ่ ่ ่ ุ 60 ปี ประเทศไทยถูกจัดอยูในอันดับที่ 7 ของประเทศที่มีอายุเฉลียมากที่สดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ตอนนี ้ได้ ไต่ขึ ้นมาอยูในอันดับที่ ่ ่ ุ 2 ของประเทศที่มีอายุเฉลียมากที่สด ตามหลังสิงค์โปร์ โดยประชากรสูงอายุมีมากกว่า 10% ของจำนวนประชากร ประชากรสูงอายุจะเพิ่มจาก 6.8 ล้ านคนในปั จจุบนเป็ น 9 ล้ านคนในปี 2558 เป็ น 12.9 ล้ านในปี 2568 และจะเกิน 20 ล้ านคนในปี 259322 โดยใช้ ข้อมูลเกี่ยวกับประชากร ั ศาสตร์ ที่คาดการณ์ประชากรโลกของสหประชาชาติ อัตราส่วนพึงพิง23 ของประชากรสูงอายุในประเทศไทยจะเพิ่มจาก 9.6% ในปี 2553 ่ เป็ นประมาณ 26.4% ในอีก 40 ปี ข้ างหน้ า (ดูตารางที่ 8) ตารางที่ 7 อัตราการเกิดในประเทศกลุ่มอาเซียน (Percent) Countries 2000-2005 2010-2020 Thailand 1.8 1.81 Cambodia 3.7 2.96 Lao PDR 3.7 3.54 Malaysia 2.9 2.58 Myanmar 2.3 2.32 Vietnam 2.3 2.08 ที่มา การคาดการณ์ประชากรโลกโดยสหประชาชาติ การเพิ่มขึนอย่ างมากของสัดส่ วนคนสูงอายุในจำนวนประชากรแสดงถึงตัวเลขอันท้ าทาย ้ ้ ในระยะเวลาอันสันสังคมคนสูงอายุจะนำ ่ ่ ไปสูการขาดแคลนแรงงานและความต้ องการแรงงานอพยพเพื่อชดเชยส่วนที่ขาด (ดูกรอบที่ 7) ในระยะยาวจะนำไปสูการเติบโตที่ลดลงของผล ผลิต รายได้ ประชาชาติและการบริ โภค 24 คำถามที่วาจะจัดการอย่างไรเพื่อประกันรายได้ ของคนสูงอายุในขณะที่คนสูงอายุมีจำนวนมากขึ ้นเรื่ อยๆ ่ ่ จะกลายเป็ นประเด็นเชิงนโยบายอย่างถาวร บำนาญ ทำให้ คนที่มีงานทำอาจจะต้ องเสียภาษี เพิ่มขึ ้นซึงทำให้ เป็ นการลดแรงจูงใจในการทำงานและ ่ ่ ธุรกิจก็ไม่อยากจะลงทุนนำไปสูความตกตํ่าของการเติบโตของผลผลิต การขาดแคลนแรงงานอาจส่งผลให้ คาแรงสูงขึ ้นและเกิดเงินเฟอด้ านค่าแรง ้ 20 สหประชาชาติ การสูงอายุของประชากรโลก, 1950 – 2050, ดัชนีชี ้วัดพัฒนาการของโลก, 2010; UNFPA, การสูงอายุของประชากรในประเทศไทย: การวินิจฉัยและการตอบสนองเชิง นโยบาย 2006 21 สหประชาชาติ, การสูงอายุของประชากรโลก, 1950 – 2050 22 UNFPA, การสูงอายุของประชากรในประเทศไทย: การวินิจฉัยและการตอบสนองเชิงนโยบาย, 2006 23 อัตราส่วนการพึงพิงรวมของประชากรผู้สงอายุคืออัตราส่วนของประชากรอายุ 60 หรื อมากกว่าต่อประชากรอายุ 15 – 59 (วัยทำงาน) ่ ู 24เนื่องจากจำนวนประชากรสูงอายุมากขึ ้น จำนวนของคนทำงานต่อจำนวนคนที่ต้องการความช่วยเหลือมีแนวโน้ มที่ลดลงและอัตราการออมเงินของประเทศก็ลดลงด้ วย จนส่งผลให้ รายได้ ่ ประชาชาติและการบริ โภคเติบโตลดลง เนื่องจากการใช้ จายเงินของรัฐบาลในการดูแลด้ านสาธารณสุขและเงิน 55<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ตารางที่ 8 อัตราส่ วนพึ่งพิงสำหรั บประชากรอายุ 60 ปี และมากกว่ า (Percent) Country 2000 2025 2050 Asia 8.5 14.6 23.6 East Asia China 10 19.6 31.1 Hong Kong-China 14.8 30.8 39.5 Japan 23.3 36 44.2 Republic of Korea 11.2 27.1 40.8 South East Asia Thailand 9.6 19.1 26.4 Cambodia 4.6 8.3 16.2 Lao PDR 5.4 7.4 14.4 Malaysia 6.2 13.2 22.2 Myanmar 7.7 13 23.6 Singapore 10.6 31.7 39.6 Viet Nam 7.8 15.2 26.6 ที่มา การคาดการณ์ประชากรโลกโดยสหประชาชาติ ปั จจุบนนีมีแค่ ลูกจ้ างเอกชน (ในระบบ) และข้ าราชการเท่ านันที่อยู่ในระบบบำนาญสาธารณะ เนื่องจากเป็ นข้ อบังคับและการให้ ความ ั ้ ้ ช่วยเหลือ ทำให้ ลกจ้ างในภาคเอกชนนันอยูในกองทุนประกันสังคม ู ้ ่ 25 ส่วนข้ าราชการผ่านกองทุนบำเหน็จบำนาญข้ าราชการ (กบข.) 26 ลูกจ้ าง รัฐวิสาหกิจนันผ่านโครงการรัฐวิสาหกิจ 27 ครูโรงเรี ยนเอกชนอยูในกองทุนสงเคราะห์ครูโรงเรี ยนเอกชน 28 มีหลายหน่วยงานอิสระที่เสนอโอกาสใน ้ ่ การออมเงินเพื่อการเกษี ยณอายุโดยสมัครใจได้ แก่ 1) กองทุนสำรองเลี ้ยงชีพ 2) กองทุนรวมเพื่อการเกษี ยณอายุ และ 3) ประกันชีวิตส่วนบุคคล 29 ้ ่ ้ ความครอบคลุมนันไม่ได้ ขยายไปสูประชากรทังหมดโดยเฉพาะคนที่ทำงานส่วนตัว 25มีการกำหนดประเภทของสิทธิประโยชน์ของเงินบำนาญผู้สงอายุเมื่อสมาชิกเกษี ยณอายุแล้ ว ู ั จะได้ รับเงินบำนาญทุกๆเดือนที่อตรา 15% ่ ของเงินเดือนเฉลีย 60 ู เดือนสุดท้ ายก่อนที่จะเกษี ยณอายุ ภายใต้ กองทุนประกันสังคม ลูกจ้ างและนายจ้ างในระบบแต่ละคนจะจ่ายเงิน 3% ของเงินเดือน ( แต่สงสุดไม่เกิน 15,000 บาทต่อเดือน ) ้ และรัฐบาลจะช่วยจ่ายเงินเพิ่มให้ 1% ( รวมเป็ นทังหมด 7% ) เพื่อให้ ครอบคลุมสำหรับ 7 ความจำเป็ นเร่งด่วน 1) ป่ วยหรื อบาดเจ็บ 2) การคลอดบุตร 3) พิการ 4) ตาย 5) ค่าเลี ้ยงดูบตรุ ู ้ 6) ตกงาน 7) วัยชรา เพื่อที่จะได้ รับสิทธิประโยชน์จากส่วนของเงินผู้สงอายุ ผู้ที่ทำงานต้ องชำระเงินให้ กองทุนประกันสังคมไม่น้อยกว่า 180 เดือนและคนนันต้ องมีอายุไม่น้อยกว่า 55 ปี และไม่ได้ ทำงานแล้ ว 26 กองทุนบำเหน็จบำนาญข้ าราชการเป็ นโครงการที่ชวยเหลือด้ านเงินบำนาญ ข้ าราชการจะจ่ายเงิน 3% ของเงินเดือนทุกๆเดือนขณะที่รัฐบาลจะจ่ายเงินอีก 3% ให้ กบกองทุนที่เป็ นชื่อของ ่ ั ้ ิ ้ ่ ้ ข้ าราชการนันๆเมื่อครบกำหนดเกษี ยณอายุ ข้ าราชการมีสทธิที่จะเลือกรับเป็ นเงินบำเหน็จทังก้ อนหรื อรับเงินบำนาญทุกๆเดือน ส่วนของเงินที่จายนันมาจากงบประมาณของรัฐบาล ผู้ที่ได้ รับ เงินช่วยเหลือจากกองทุนจะได้ รับผลตอบแทนจากการลงทุนของกองทุนด้ วยเช่นกัน 27 โครงการรัฐวิสาหกิจเป็ นการจัดการกันเอง ออมเงินโดยสมัครใจและประเภทของเงินช่วยเหลือมีการระบุไว้ โดยโครงการ ลูกจ้ างต้ องออมเงินในอัตราที่แน่นอนของเงินเดือนในแต่ละเดือน ู ้ (อย่างน้ อย 3% ของค่าจ้ างแต่ไม่เกิน15%) ขณะที่นายจ้ างจะช่วยเหลือเงินในจำนวนที่เท่ากันหรื อมากกว่า ด้ านสิทธิประโยชน์ลกจ้ างจะได้ รับเงินทังก้ อนตอนลาออกหรื อเกษี ยณอายุ 28 ระบบกองทุนสำรองเลี ้ยงชีพของครูเอกชนจัดตังขึ ้นตามกฎหมาย โครงการเงินช่วยเหลือครูโรงเรี ยนเอกชนนันอยูภายใต้ พระราชบัญญัตโรงเรี ยนเอกชน อัตราเงินสมทบในปั จจุบนคือ 3% ้ ้ ่ ิ ั ้ ่ ของเงินเดือนจากครูและ 3% จากเจ้ าของโรงเรี ยนและอีก 6% จากรัฐบาล ครูโรงเรี ยนเอกชนเหล่านี ้จะได้ รับเงินทังก้ อนเมื่อลาออกจากงานและทำงานมาไม่ตำกว่า 5 ปี 29 กองทุนสำรองเลี ้ยงชีพถูกออกเป็ นกฎหมายเพื่อจูงใจให้ ลกจ้ างภาคเอกชนออมเงินเพื่อการเกษี ยณอายุ สิทธิประโยชน์นนถูกกำหนดโดยความสมัครใจและบริ หารจัดการด้ วยข้ อตกลง ู ั้ ้ ู ่ ระหว่างนายจ้ างและลูกจ้ าง มีการแต่งตังคณะกรรมการกองทุนให้ ดแลบริ หารกองทุน หน่วยงานที่กำกับดูแลโครงการอยูภายใต้ คณะกรรมการหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ จุดประสงค์ของ กองทุนรวมเพื่อการเกษี ยณอายุคือให้ มีการออมเงินเพื่อการ 56<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 และลูกจ้ างนอกระบบ30 ้ ่ ู โครงการที่กล่าวมาข้ างต้ นนันหลักๆจะครอบคลุมลูกจ้ างที่อยูในระบบและคนที่มีรายได้ สงแต่ทำงานนอกระบบและมี ่ ู ู ู ประมาณ 2 ใน 3 ของกำลังแรงงานซึงไม่ได้ ถกครอบคลุมโดยโครงการคุ้มครองรายได้ ผ้ สงอายุอย่างเป็ นทางการ โครงการสงเคราะห์ เบียยังชีพผู้สูงอายุถ้วนหน้ า 500 บาทถูกนำมาใช้ ในเดือนเมษายน 255231 โดยช่วงแรกเมื่อ เมษายน-กันยายน ้ ่ 2552 รัฐบาลสนับสนุนด้ านการเงินแก่โครงการนี ้เพราะเป็ นส่วนหนึงของแผนกระตุ้นเศรษฐกิจ สำหรับปี งบประมาณ 2553 (ตุลาคม 2552 ่ ู – กันยายน 2553) โดยคำสังของกระทรวงมหาดไทยในการจ่ายเงินช่วยเหลือผู้สงอายุ พ.ศ.2550 (2552) โดยใช้ เงินงบประมาณของรัฐ ั้ ภายใต้ โครงการนี ้ คนสูงอายุทงหมด (อายุมากกว่า 60 ปี ) ซึงไม่ได้ อาศัยอยูในบ้ านพักคนชราหรื อสาธารณูปการอื่นๆ และผู้ที่ไม่มีรายได้ ประจำ ่ ่ ( เช่น ผู้รับเงินบำนาญจากรัฐบาล ผู้ที่ถกจ้ างงานโดยรัฐบาล) เป็ นผู้ที่มีสทธิ โดยหลักแล้ ว ผู้สงอายุหรื อตัวแทนที่ถกต้ องตามกฎหมายต้ องลง ู ิ ู ู ทะเบียนที่องค์กรส่วนท้ องถิ่น 32 ปี งบประมาณ 2553จำนวนของผู้ ที่ลงทะเบียนใช้ สทธิรับเงินบำนาญ 500 บาทมีประมาณ 77.5% ของประชา ิ ้ กรคนสูงอายุขณะที่คนสูงอายุ 1.22 ล้ านคนที่เหลือยังไม่ได้ ลงทะเบียนกับโครงการ (Sakunpanichc and Suwamrada 2553) กระนันก็ตามรายได้ ่ ่ เฉลียต่อคนต่อปี ในปี 2550 อยูที่ 80,639 บาทหรื อประมาณ 6,720 บาทต่อคนต่อเดือน เงิน 500 บาทเป็ นจำนวนที่ตำมาก (7.4% ของรายได้ เฉลีย) ่ ่ โครงการเงินบำนาญถ้ วนหน้ า 500 บาทคาดว่าจะถูกส่งผ่านจากองค์กรส่วนท้ องถิ่นไปยังรัฐบาลกลาง รั ฐบาลไทยเพิ่งประกาศแผนช่ วยเหลือเศรษฐกิจนอกระบบรวมถึงส่ วนของเงินบำนาญ เมื่อเดือนมกราคม 2553 รัฐบาลไทยประกาศแผน ่ ้ ั ช่วยเหลือมูลค่า 9,000 ล้ านบาทโดยมุงเปาหลักไปที่เศรษฐกิจนอกระบบภายใต้ ชื่อ ประชาวิวฒน์ (วาระของประชาชน) โดยมุงที่จะขยายความ ่ ั ่ ่ ้ ครอบคลุมให้ กบความคุ้มครองทางสังคมและปรับปรุงความเป็ นอยูของสังคมรากหญ้ าให้ ดีขึ ้น กองทุนถูกจัดสรรเป็ น 9 ด้ านซึงครอบคลุมทังการ ่ิ ปฏิรูปความคุ้มครองทางสังคม การเข้ าสูสนเชื่อ อาหารและพลังงานทดแทนและปรับปรุงด้ านความปลอดภัยโดยการลดจำนวนอาชญากรรม (ตารางที่ 9) เกษี ยณอายุโดยสมัครใจของลูกจ้ างที่ไม่มีกองทุนสำรองเลี ้ยงชีพ ั หรื อต้ องการได้ เงินสมทบเพิ่มเติมแต่ก็ยงสามารถได้ รับสิทธิประโยชน์จากภาษี ได้ นักลงทุนต้ องลงทุนใน RMF ้ ้ อย่างน้ อยปี ละครังเป็ นเวลา 5 ปี ด้ วยเงินอย่างน้ อย 3% ของรายรับหรื ออย่างน้ อย 5,000 บาทขึ ้นกับว่าอย่างไหนต่ำกว่า และจะไม่ขายหรื อไถ่ถอนก่อนอายุ 55 ปี ทังต้ องมีการออมเงินมาไม่ ่ น้ อยกว่า 5 ปี การประกันชีวิตส่วนบุคคลได้ รับการสนับสนุนในด้ านของการยกเว้ นภาษี เบี ้ยประกันที่จายไปสำหรับกรมธรรม์ที่มีอายุมากกว่า 10 ปี ให้ กบบริ ษัทประกันที่ดำเนินกิจการใน ั ่ ประเทศไทยจะได้ รับการยกเว้ นภาษี เท่ากับจำนวนที่จายจริ งแต่ไม่เกิน 50,000 บาทต่อปี ประโยชน์ที่ได้ รับจากนโยบายประกันชีวิตคือการยกเว้ นภาษี 30โครงการเหล่านี ้ถูกอ้ างว่ามุงเปาไปที่กลุมผู้มีรายได้ สงในภาคเศรษฐกิจนอกระบบตลอดจนผู้ที่มีความสมัครใจ ่ ้ ่ ู ุ่ ่ ่ ยังถูกวิจารณ์อีกว่าไม่ได้ มงไปที่กลุมผู้มีรายได้ น้อยหรื อปานกลางซึงเป็ น ู ประชากรส่วนใหญ่และปราศจากเครื่ องมือที่จะดูแลรายได้ ของผู้สงอายุในระบบ 31โครงการเงินบำนาญถ้ วนหน้ า 500 บาทเป็ นโครงการเบี ้ยยังชีพคนชราที่นำมาทำใหม่โดยเริ่ มต้ นมาตังแต่ปี 2536 ในการหารายได้ ให้ กบคนชรายากจนหรื อคนชราที่ชวยเหลือตัวเองไม่ได้ ้ ั ่ ในปี แรกมีคนชรา 20,000 คนที่ได้ รับเงินช่วยเหลือ 200 บาทต่อคนต่อเดือน ต่อมาจำนวนคนที่ได้ รับเพิ่มขึ ้นเป็ น 400,000 คนในปี 2545 ในขณะที่เงินช่วยเหลือเพิ่มขึ ้นเป็ น 300 บาทต่อเดือน ้ ก่อนปี 2550 จำนวนของผู้ได้ รับประโยชน์เพิ่มขึ ้นเป็ น 1,755,266 คนและเงินช่วยเหลือถูกเพิ่มเป็ น 500 บาทต่อเดือน ในปี 2552 เริ่ มตังแต่เดือนเมษายน รัฐบาลตัดสินใจทำให้ โครงการมีการ กระจายออกไปอย่างกว้ างขวาง 32ผู้ได้ รับประโยชน์สามารถรับเงินได้ ใน 4 ช่องทางคือ 1) รับเงินด้ วยตัวเองที่สำนักงานองค์กรท้ องถิ่น 2) แต่งตังตัวแทนที่ถกต้ องตามกฎหมายเพื่อไปรับเงินที่สำนักงานองค์กรท้ องถิ่น 3) ้ ู ู ั้ เงินบำนาญจะถูกโอนเข้ าบัญชีธนาคารของผู้สงอายุนนและ 4) เงินบำนาญจะถูกโอนเข้ าบัญชีธนาคารของตัวแทนที่ต้องตามถูกกฎหมาย 57<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ตารางที่ 9 บทสรุ ปโครงการประชาวิวัฒน์ (วาระประชาชน) ู ของขวัญ 1: แก้ ไขกฎหมายว่าด้ วยความคุ้มครองทางสังคมเพื่ออนุญาตให้ ผ้ ที่ทำงานนอกระบบเข้ าสูเ่ ครื อข่ายความปลอดภัยทางสังคมผ่าน ่ ระบบการจ่ายเงินร่วม โครงการเงินช่วยเหลือมุงที่จะครอบคลุมเงินสำรองดูแลสุขภาพ การตายและการเกษี ยณ ่ิ ของขวัญ 2: ขยายโอกาสในการเข้ าสูสนเชื่อของคนขับรถแท็กซี่ คนขับรถมอเตอร์ ไซด์รับจ้ างและคนขายของหาบเร่แผงลอย โดยไม่ได้ ระบุ อัตราดอกเบี ้ย ั ของขวัญ 3: กระบวนการลงทะเบียนใหม่ของคนขับรถมอเตอร์ ไซด์รับจ้ างโดยมีวตถุประสงค์เพื่อกำจัดอิทธิพลจากมาเฟี ยท้ องถิ่น ั ของขวัญ 4: จัดสรรพื ้นที่ค้าขายใหม่ในกรุงเทพฯให้ กบคนขายของหาบเร่แผงลอย ั ของขวัญ 5: ควบคุมต้ นทุนโดยการจ่ายเงินสนับสนุนราคาก๊ าซ LPG ให้ กบภาคครัวเรื อน ้ ่ ้ ของขวัญ 6: ให้ ใช้ ไฟฟาฟรี แก่ 6 ล้ านครัวเรื อนซึงใช้ ไฟฟาน้ อยกว่า 90 ยูนิตต่อเดือน ่ ของขวัญ 7: ลดต้ นทุนของอาหารสัตว์โดยมุงที่จะให้ ราคาสุดท้ ายของปศุสตว์ลดลง ั ของขวัญ 8: ปรับปรุงการกระจายและความโปร่งใสของระบบการขายสินค้ าเกษตร ของขวัญ 9: ปรับปรุงด้ านความปลอดภัยและลดอาชญากรรมในกรุงเทพฯลง 20% ภายใน 6 เดือน ุ ่ “ ของขวัญ 1 “ มีความสำคัญที่สดสำหรับมุมมองในระยะยาวและเกี่ยวข้ องกับความริ เริ่ มทัง้ 3 ของกระทรวงการคลัง เกี่ยวข้ องกับความมันคง ทางรายได้ ของคนสูงอายุ ัิ 1) พระราชบัญญัตกองทุนการออมแห่ งชาติ รัฐบาลไทย (เสนอโดยกระทรวงการคลัง) อนุมตร่างพระราชบัญญัตกองทุนการออมแห่งชาติ ิ ิ ้ ั ่ ุ่ พ.ศ. ....ในเดือนตุลาคม 2009 เพื่อจัดตังระบบบำนาญแห่งชาติให้ กบผู้ที่ไม่ได้ อยูในโครงการบำนาญอื่นๆ กองทุนบำนาญแห่งชาติมงที่จะให้ ่ คนทัวไปที่ไม่มีสวัสดิการสังคมเช่น ชาวนาและพ่อค้ า แม่ค้า โครงการการออมใหม่ครอบคลุมคนทำงานประมาณ24 ล้ านคน (2 ใน 3 ่ ั ของกำลังแรงงาน) ซึงปั จจุบนขาดแคลนความคุ้มครองเมื่อเกษี ยณอายุ (กองทุนบำเหน็จบำนาญข้ าราชการ องทุนประกันสังคม หรื อกองทุนสำรองเลี ้ยงชีพโดยสมัครใจอื่นๆ) ภายใต้ โครงการนี ้ คนทำงานจะจ่ายเงิน 100 ถึง 1,000 บาทต่อเดือนและรัฐบาล จะสนับสนุนเงิน 50 บาทต่อเดือนให้ กบสมาชิกที่มีอายุระหว่าง 20 ถึง 30 ปี 80 บาทต่อเดือนสำหรับสมาชิกที่มีอายุ 30 ถึง 50 ปี และ 100 ั ่ บาท ต่อเดือนสำหรับสมาชิกที่มีอายุระหว่าง 50 ถึง 60 ปี คนงานที่มีอายุ 20 ปี ซึงจ่ายเงินอย่างน้ อย 100 บาท ให้ กองทุนจนถึงเกษี ยณอายุที่ 60 ปี จะได้ รับเงินบำนาญประมาณ 3,000 บาทต่อเดือนซึงได้ รวมเบี ้ยยังชีพคนชราเดือนละ 500 บาท ่ ิ ั ่ ที่ให้ โดยรัฐบาลแล้ ว กระทรวงการคลังคาดว่าจะมีสมาชิกประมาณ 7 ล้ านคนภายใน 1-2 ปี พระราชบัญญัตนี ้ ปั จจุบนอยูในการพิจารณาของ คณะกรรมการกฤษฎีกาเพื่อจะผ่านไปให้ รัฐสภาทำการตัดสินใจต่อไป 2) การแก้ ไขพระราชบัญญัตกองทุนประกันสังคม เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2552 คณะรัฐบาลเห็นชอบในการแก้ ไขพระราชบัญญัติ ิ ่ ่ ่ กองทุนประกันสังคมซึงถูกเสนอโดยกระทรวงแรงงาน เพื่อขยายผลประโยชน์ไปยังคูสมรสและผู้ที่อยูในอุปการะของสมาชิกประกันสังคม ่ คูสมรสและบุตรประมาณ 5.88 ล้ านคนของสมาชิกประกันสังคมจะถูกย้ ายจากโครงการสุขภาพถ้ วนหน้ า ไปยังโครงการประกันสังคม ่ ้ เงินชดเชย 4 ประเภทสำหรับการเจ็บป่ วย คลอดบุตร พิการและตาย จะถูกครอบคลุมอยูภายใต้ ระบบ รวมทังรายจ่ายที่เพิ่มขึ ้นโดยประมาณ ้ ่ ี ิ ู 2,452บาทต่อคนหรือรวมทังหมด14,416ล้ านบาทในปี 2552 แม้ วาผู้มสทธิในบำนาญผู้สงอายุจะไม่ได้ รวมคูสมรสและผู้อยูในอุปการะของสมาชิก ่ ่ ่ ่ ประกันสังคมเอาไว้ ด้วย นี่เป็ นอีกวิธีที่ชวยบรรเทาความเสียงและเพิ่มการออมของครัวเรื อน 3) การสนับสนุนกองทุนสวัสดิการสังคมในชุมชน ในหลายพื ้นที่ของประเทศไทย ยกตัวอย่างเช่น จังหวัดสงขลา, ลำปาง, ตราด และขอนแก่น ชุมชนจำนวนมากได้ เริ่ มต้ น “กองทุนสวัสดิการสังคมของชุมชน” วัตถุประสงค์ของแต่ละกองทุนในแต่ละชุมชนก็เพื่อแก้ ปัญหาความไม่เพียงพอ ั หรื อขาดแคลนบริ การสวัสดิการสังคมที่จดขึ ้นโดยรัฐบาล โครงการนี ้จัดหาสวัสดิการหลากหลายประเภทโดยคำนึงถึงวิถีชีวิตของสมาชิกในชุม ชนมีทง้ั สนับสนุนด้ านครอบครัวค่าธรรมเนียมการคลอดบุตรและเงินกู้ยมเพือการศึกษาเงินกู้ยมเพือธุรกิจในชุมชนเงินช่วยเหลือเพือรายจ่ายทาง ื ่ ื ่ ่ ่ การแพทย์ และเงินช่วยเหลือจัดงานศพ ในบางกองทุนก็มีเงินบำนาญให้ เป็ นหนึงในผลประโยชน์พิเศษ 33 ในขณะที่การริเริ่มเป็ นสิ่งสำคัญ ั หนึ่งในลักษณะหลักของระบบคุ้มกันคนสูงอายุในปั จจุบนของประเทศไทย มีการแบ่ งอย่ าง มากมายหลายส่ วน ั ้ ปั จจุบนยังไม่มีการมองอย่างเป็ นเอกภาพในส่วนที่แตกต่างของระบบเงินบำนาญทังในระยะกลางและระยะยาวหลายๆ ่ ่ คำถามอาจจะเกิดได้ โดยเฉพาะเรื่ องเงินสนับสนุนสำหรับแผนงานใหม่ๆ ซึงจะนำไปสูการวิพากษ์ วิจารณ์เกี่ยวกับกลุมคนเปาหมายที่จะช่วยเหลือ ่ ้ 58<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 3.2 การเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ พลังงานเพื่อการเติบโตอย่ างยั่งยืน1 ความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงาน (Energy Intensity) ในประเทศไทย ้ ้ ความเข้มข้นของการใช้พลังงานของประเทศไทยเริ่มชะลอตัวลงตังแต่ปี2547หลังจากที่การใช้พลังงานเพิ่มขึนอย่างรวดเร็วในช่วงหลายปี ที่ผ่าน มา ทังนี ้พลังงานส่วนใหญ่ถกนำไปใช้ ในภาคการขนส่งและภาคอุตสาหกรรมมากที่สด โดยในช่วงปี 2525 ถึงปี 2552 การบริ โภคพลังงานในภาค ้ ู ุ การผลิตดังกล่าวขยายตัวเร็วกว่าการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) (รูปที่ 1) ส่งผลให้ การบริ โภคพลังงานโดยรวมขยาย ตัวเร็ วกว่า GDP รวมถึงส่งผลต่อรูปแบบของความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงานที่เพิ่มขึ ้น (ความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงานหมายถึง สัดส่วนการใช้ ้ พลังงานขันสุดท้ ายทังหมดต่อหนึงหน่วยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ) อย่างไรก็ตาม ความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงานได้ เริ่ มลดลงในปี 2547 ้ ่ เป็ นต้ นมา (รูปที่ 2) โดยในช่วงปี 2525 ถึง 2547 การบริ โภคพลังงานในภาคการขนส่ง ขยายตัวเร็ วกว่า GDP และเร็วกว่าการใช้ พลังงานขันสุด ้ ้ ่ ท้ ายทังหมด ซึงต่อมาได้ ลดลงเนื่องจากการพุงสูงขึ ้นของราคานํ ้ามัน ทังนี ้ในช่วงปี 2525 การใช้ พลังงานในภาคอุตสาหกรรมขยายตัวน้ อยกว่า GDP ่ ้ ู ้ และได้ เริ่ มขยายตัวในอัตราที่สงกว่า GDP ในปี 2531 โดยการใช้ พลังงานทังในภาคการขนส่ง และภาคอุตสาหกรรมได้ เริ่ มขยายตัวในอัตราคงที่นบ ั ้ ตังแต่ปี 2547 เป็ นต้ นมา รู ปที่ 109. การบริโภคพลังงานได้ เติบโตไปในทิศทางเดียวกันกับ ้ ้ รู ปที่ 110. ความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงานเพิ่มขึนตังแต่ ปี 2537 การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ้ และเริ่มมีแนวโน้ มลดลงตังแต่ ปี 2547 6 8.0 17.0 5 16.5 4 6.0 16.0 3 15.5 2 GDP at constant 1988 price 4.0 15.0 Total Final Energy Consumption Transport Energy Intensity (TOE/Million Baht) 1 Industry Energy Intensity (TOE/Million Baht) Transport Energy Consumption 14.5 Energy Intensity (TOE/Million Baht) (RHS) Industry Energy Consumption 0 2.0 14.0 1982 1985 1988 1991 1994 1997 2000 2003 2006 2009 1982 1985 1988 1991 1994 2000 2003 2006 2009 1997 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน และการคำ ที่มา: CEIC กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน และการคำนวณโดยเจ้ าหน้ าที่ นวณโดยเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก ของธนาคารโลก.. Sectoral energy intensity (TOE/ THB million of real GDP) Total energy intensity (TOE/ THB million of real GDP) 1ส่วนนี ้ร่วมเขียนโดย Xiadong Wang พัจนภา เปี่ ยมศิลปกุลชร Natsuko Toba และ Yabei Zhang ด้ วยความช่วยเหลือจาก Anthony Burgard 59<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ่ แต่ ความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงานในไทยยังคงอยู่ในระดับที่สูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นในภูมภาคและทั่วโลก ถึงแม้ วาจะมีแนวโน้ ม ิ ลดลง ่ ่ แต่รูปแบบการบริ โภคพลังงานที่ผานมาก็สงผลให้ ความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงานในไทยยังคงค่อนข้ างสูงเมื่อเทียบกับระดับรายได้ (รูปที่ 3) การบริ โภคพลังงานในภาคอุตสาหกรรมและภาคการขนส่งของประเทศไทย จัดว่าอยูในระดับสูงเป็ นอันดับแรกๆ ของประเทศใน ่ ภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยในปี 2548 ประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงานมากเป็ นอันดับที่สองของภูมิภาคเอเชีย ่ ุ่ ตะวันออก (ซึงรวมประเทศญี่ปน เกาหลีใต้ และมาเลเซีย) รองจากประเทศจีน รู ปที่ 111. ความเข้ มของการใช้ พลังงานในประเทศไทยสูงกว่ า ิ ้ ี รู ปที่ 112. ประเทศไทยเป็ นหนึ่งในประเทศในภูมภาคนีท่ มีการใช้ อัตราเฉลี่ยเมื่อเทียบกับระดับรายได้ ้ นํามันมากที่สุด Energy Intensity (tons oil equivalent per USD 1,000 of real GDP) Oil intensity index (oil consumption tons / real GDP) 0.8 120 0.7 100 0.6 Thailand 0.5 80 0.4 60 0.3 Thailand 40 0.2 Singapore Philippines 0.1 20 Indonesia Malaysia 0 6 7 8 9 10 11 0 Log of GDP per capita in constant 2000 USD 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 ที่มา: BP Oil, WDI และการคำนวณโดยเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก ที่มา: CEIC, BP Oil, และการคำนวณโดยเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก หมายเหตุ: ข้ อมูลของปี 2550-2552 ยกเว้ นประเทศในสหภาพโซเวียตในอดีต ความเข้ มข้ นของการใช้ นํามัน (Oil intensity) และการพึ่งพาเชือเพลิงฟอสซิล ยังอยู่ในระดับที่สูง แต่ กมีแนวโน้ มลดลง แม้ วาระดับความ ้ ้ ็ ่ ้ เข้ มข้ นของการใช้ นํ ้ามันจะมีแนวโน้ มลดลงในระดับประเทศและระดับภูมิภาค แต่ประเทศไทยยังคงรังอันดับสองของประเทศในกลุมอาเซียน ที่มี ่ ุ ้ ่ ่ การใช้ พลังงานมากที่สดรองจากประเทศสิงคโปร์ (รูปที่ 4). ทังนี ้การบริ โภคพลังงานต่อหัวของคนไทยยังคงอยูในระดับที่ตำกว่าในประเทศที่พฒนา ั ่ ่ ่ แล้ ว แต่การพึงพาเชื ้อเพลิงฟอสซิล ยังคงอยูในระดับสูง (รูปที่ 5) โดยประเทศไทยเป็ นผู้นำเข้ านํ ้ามัน และยังเป็ นประเทศที่ต้องพึงพาเชื ้อเพลิงฟอสซิล ้ ่ ทังก๊ าซธรรมชาติ และถ่านหินจากต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม แม้ วาประเทศไทยจะเริ่ มมีการใช้ แหล่งพลังงานทางเลือกอื่นๆ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ ้ ั พลังงานลม รวมถึงมีการนำเข้ าไฟฟาพลังนํ ้าจากประเทศลาว แต่การนำพลังงานทางเลือกเหล่านี ้มาใช้ ยงคงเป็ นสัดส่วนที่น้อยเมื่อเทียบกับการ นำเข้ าพลังงานที่มาจากนํ ้ามันดิบ ก๊ าซธรรมชาติ และถ่านหิน (รูปที่ 6). ้ การใช้ ไฟฟามีแนวโน้ มที่ลดลง แต่ อย่ างไรก็ตามรู ปแบบการใช้ ไฟฟายังคงมีความแตกต่ างกันมาก การใช้ ไฟฟามีแนวโน้ มชะลอตัวลงก่อน ้ ้ ้ หน้ าที่จะเกิดวิกฤติการเงิน (รูปที่ 7) โดยในช่วงเดือนมกราคม 2551 ถึง มกราคม 2554 การใช้ ไฟฟาในครัวเรื อน ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และธุรกิจขนาดใหญ่ เติบโตร้ อยละ 7.8 2.6 และ 9.0 ตามลำดับ ทังนี ้ อัตราการใช้ ไฟฟาที่คอนข้ างตํ่าในธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สะท้ อน ้ ้ ่ ่ ่ ให้ เห็นว่าธุรกิจเหล่านี ้อยูในภาคอุตสาหกรรมที่มีการใช้ พลังงานน้ อย (อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมสิงทอ และบริ การ) ในขณะที่การใช้ ้ ้ พลังงานไฟฟาที่เพิ่มสูงขึ ้นของภาคครัวเรื อนสะท้ อนให้ เห็นถึงการปรับตัวดีขึ ้นของเศรษฐกิจ และผลจากนโยบายของรัฐที่ยกเว้ นค่าไฟฟาให้ สำหรับ ้ ประชาชนที่มีการใช้ ไฟฟาไม่เกินระดับที่กำหนดไว้ 2เชื ้อเพลิงฟอสซิล รวมถึง ปิ โตรเลียม ถ่านหิน และก๊ าซธรรมชาติ 60<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 113. แม้ ว่าความเข้ มข้ นของการใช้ น้ำมันจะลดลง แต่ การ รู ปที่ 114. การพึ่งพาแหล่ งพลังงานจากต่ างประเทศยังคงเพิ่มสูง พึ่งพาเชือเพลิงฟอสซิลยังคงอยู่ในระดับที่ค่อนข้ างสูง ้ ้ ขึนอย่ างต่ อเนื่อง Energy consumption Share of non-fossil Value of Energy Imports (100=2000) per capita (GJ/capita) fuel in power mix 1400 Crude Oil 350 100 Energy consumption per 90 1200 Petroleum Products 300 capita (GJ/capita) 80 Natural Gas 250 Share of non-fossil fuel in 70 1000 power mix Coal 200 60 800 Electricity 50 150 40 600 100 30 20 400 50 10 0 0 200 0 ที่มา: ธนาคารโลก ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน และการ คำนวณโดยเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก ้ ้ รู ปที่ 115. อัตราการขยายตัวของการใช้ ไฟฟาแสดงให้ เห็นถึงแนวโน้ มการใช้ ไฟฟาที่ลดลงใน ระยะยาว Year-on-year growth (percent) 14.0 12.0 10.0 8.0 6.0 4.0 2.0 0.0 Total Electricity Consumption -2.0 Households -4.0 SME (consumer under 1,000 kw) -6.0 Large-scale business (consume over 1,000 kw) DEC DEC DEC DEC DEC DEC DEC DEC DEC 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 ที่มา: สนพ. และ การคำนวณโดยเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก ่ ่ ้ ปั จจัยทีผลักดันให้ การบริโภคพลังงานเพิมขึน การใช้ พลังงานที่เพิ่มขึนในศตวรรษที่ผ่านมา เป็ นผลมาจากภาคอุตสาหกรรมเป็ นหลัก โดยในช่วงปี 2543 ถึง 2553 การใช้ พลังงานขยายตัว ้ ่ ร้ อยละ 49 ซึงมีปัจจัยหลักมาจากการเพิ่มสูงขึ ้นของการใช้ พลังงานในอุตสาหกรรมถึงร้ อยละ 58 ทำให้ ภาคอุตสาหกรรมกลายเป็ นผู้บริ โภคพลังงาน ่ หลักแซงหน้ าภาคการขนส่ง (ตารางที่ 1) ซึงการเพิ่มขึ ้นของการใช้ พลังงานในภาคอุตสาหกรรมนี ้สะท้ อนให้ เห็นถึงการเพิ่มขึ ้นของสัดส่วนภาค ่ ั อุตสาหกรรมต่อ GDP ซึงสวนทางกับประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่ (รวมถึงประเทศจีน) ที่สดส่วนของภาคบริ การต่อ GDP ขยายตัวเร็ วกว่าภาค ้ ่ อุตสาหกรรม ในขณะที่สำหรับประเทศไทยนัน ภาคอุตสาหกรรมซึงมีการใช้ พลังงานมากกว่าภาคบริ การมีการขยายตัวในอัตราที่แท้ จริ งเร็วกว่า ภาคบริ การ 61<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ตารางที่ 10. การใช้ พลังงานของภาคการผลิตสาขาต่ างๆ ของประเทศไทย ปี 2543 และ ปี 2553 Sector 2000 2010 KTOE % KTOE % Industry & Mining 16,293 34.1 25,989 36.2 Transport 18,022 37.7 25,061 35.2 Household 7,434 15.6 11,013 15.5 Agriculture 2,791 6.5 3,701 7.8 Commercial 3,117 5.8 5,520 5.2 Construction 149 0.3 120 0.2 Total 47,806 100% 71,166 100% ที่มา: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน ้ ุ ี ี การเพิ่มขึนของประสิทธิภาพการใช้ พลังงานจากการเปลี่ยนไปใช้ อปกรณ์ ท่มประสิทธิภาพในภาคอุตสาหกรรมและการขนส่ งถูกหักล้ างโดย ้ ้ การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้ างของระบบเศรษฐกิจ ทังนี ้การเพิ่มขึ ้นของการบริ โภคพลังงานทังหมด ระหว่างปี 2543 และปี 2553 มีปัจจัยมา ่ ่ จากการเพิ่มขึ ้นของผลผลิต การเปลียนแปลงในสัดส่วนของภาคการผลิตต่อ GDP และการเปลียนแปลงในความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงาน (รูปที่ ่ 8) ซึงการวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ เหล่านี ้แสดงให้ เห็นว่าการบริ โภคพลังงานที่เพิ่มขึ ้นเป็ นผลจากการขยายตัวของผลผลิตเป็ นหลัก โดยการเพิ่มขึ ้นของ ั ่ ประสิทธิภาพการใช้ พลังงานจะเห็นได้ ชดเจนในภาคการขนส่งซึงส่งผลให้ ความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงานลดลง อย่างไรก็ตามการเพิ่มขึ ้นของ ่ ู ่ ่ ุ่ ่ ี ประสิทธิภาพในการใช้ พลังงานนี ้ส่วนหนึงได้ ถกหักล้ างโดยการเปลียนแปลงเชิงโครงสร้ างของระบบเศรษฐกิจทีมงส่งเสริมภาคการผลิตทีมการใช้ พลัง งานอย่างเข้ มข้ น (โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคอุตสาหกรรม) ภาคการขนส่งได้ กลายเป็ นภาคที่มีการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ ้นในขณะที่มี สัดส่วนต่อ GDP ลดลง ทำให้ การใช้ พลังงานมีการชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับ GDP อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ ้นของประสิทธิภาพการใช้ พลังงานในภาค ู อุตสาหกรรมได้ ถกหักล้ างอย่างสิ ้นเชิงจากการเพิ่มขึ ้นของสัดส่วนของภาคอุตสาหกรรมต่อผลผลิตมวลรวม ้ รู ปที่ 116. การเพิ่มขึนของการบริโภคพลังงานมีสาเหตุหลักมาจาก รู ปที่ 117. ถ่ านหินและนํามันดีเซลยังคงเป็ นแหล่ งพลังงานหลักข ้ การขยายตัวของ GDP องภาคอุตสาหกรรม Additive decomposition of the change in energy consumption, 2000-2010 by increases in GDP, sector share and energy Industry Energy Consumption Index by Energy Type (100=2000) intensity (KTOE) 30,000 600 Electricity Natural Gas 24,865 Commercial and 23,360 LPG Coal 25,000 Household Transport 500 Lignite Fuel Oil 20,000 Diesel Industry 400 15,000 Agriculture Total 300 10,000 5,000 200 1,353 -2,858 0 100 -5,000 0 total GDP Sector Share Energy Intensity 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 ที่มา: สศช. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน และการคำนวณโดย เจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก ที่มา: กระทรวงพลังงาน หมายเหตุ: การใช้ พลังงานของสาขาต่างๆแบ่งโดยใช้ วิธีการ LMDI หมายเหตุ: ดัชนีถ่านหินและน้ ำมันดีเซลได้ มาจากการคำนวณ. ่ การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมมีสวนสำคัญที่ทำให้ การบริ โภคพลังงานเพิ่มขึ ้น โดยระหว่างปี 2543 ถึงปี 2553 สัดส่วนของผลผลิต อุตสาหกรรมที่แท้ จริ ง เพิ่มขึ ้น 4 จุด โดยได้ รับอิทธิพลมาจากความเข้ มแข็งของภาคอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และยานยนต์ ประกอบกับการขาด พลวัตของภาคบริ การ นอกจากนี ้ภาคอุตสาหกรรมของไทยยังได้ มีการเปลียนแปลงอย่างมาก โดยเปลียนจากอุตสาหกรรมสิงทอ ่ ่ ่ 62<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ่ ุ ้ ่ ุ่ ่ เสื ้อผ้ าและ การเกษตร ในปี 2543 มาสูอตสาหกรรมปิ โตรเคมี อิเลคทรอนิกส์ และยานยนต์ ทังนี ้ การเปลียนแปลงเชิงโครงสร้ างที่มงเน้ นไปสูภาค ่ อุตสาหกรรมย่อยที่มีการใช้ พลังงานอย่างเข้ มข้ น ได้ นำไปสูการบริ โภคพลังงานที่มากขึ ้นในระบบเศรษฐกิจ ู ั การใช้ พลังงานที่สงขึ ้นได้ หกล้ างผลประโยชน์บางส่วนของการเพิ่มขึ ้นของประสิทธิภาพในการใช้ พลังงาน ่ ุ ซึงเกิดจากการใช้ อปกรณ์ใหม่ๆ ้ ่ ้ ที่มีประสิทธิภาพมาขึ ้น ทังนี ้ เนื่องจากการขยายตัวที่เร็วกว่าของผลผลิตเมื่อเทียบกับการบริ โภคพลังงาน และอีกนัยหนึงนัน ภาคอุตสาหกรรมโดย ่ ่ เฉลียได้ มีการพึงพาพลังงานเชื ้อเพลิงมากขึ ้น โดยถ่านหินและน้ ำมันดีเซลยังคงเป็ นแหล่งพลังงานที่สำคัญ (รูปที่ 117 และรูปที่ 10) รู ปที่ 118. การลดลงของ ความเข้ มข้ นของการใช้ นํามัน ้ รู ปที่ 119. การขนส่ งทางบกยังคงเป็ นสาขาที่มีการใช้ พลังงาน อาจจะส่ งผลให้ การใช้ ถ่านหินและก๊ าซธรรมชาติเพิ่มขึน ้ มากที่สุดในภาคการขนส่ ง Changes in Percent Share of Final Energy Energy Consumption by Transport Mode 2005-2009 Consumption by Energy Type Air Waterway Rail Road Renewable ktoe 2005-2010 25,000 2000-2010 Coal/ Lignite 20,000 Natural Gas 15,000 10,000 Electricity 5,000 Petroleum Products 0 -5 -3 -1 1 3 2005 2006 2007 2008 2009 ที่มา: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน ที่มา: กระทรวงคมนาคม ้ การบริโภคพลังงานในภาคการขนส่ งลดลง แต่ ยังคงมีการใช้ พลังงานอย่ างเข้ มข้ นที่สุดเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ทังนี ้ภาคการขนส่ง ้ ในอดีตนันใช้ พลังงานมาก อันเป็ นผลมาจากโครงสร้ างของเครื อข่ายระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย โดยการขนส่งทางบกยังคงเป็ นวิธีการที่ค้ มค่า ุ และมีประสิทธิภาพที่สดที่ผ้ ผลิตใช้ สงสินค้ า ุ ู ่ ั เนื่องจากระบบทางหลวงที่ขยายอย่างกว้ างขวางไม่เหมือนกับการเครื อข่ายรถไฟที่ยงคงขาดการ ้ ้ ั พัฒนา โดยการขนส่งทางบกคิดเป็ นร้ อยละ 78.6 ของการขนส่งสินค้ าทังหมดในปี 2552 ในขณะที่การขนส่งทางรถไฟนันมีสดส่วนเพียงร้ อยละ 0.4 (รูปที่ 11) สัดส่วนการขนส่งสินค้ าทางรถไฟในประเทศไทยนันแตกต่างอย่างมากกับประเทศ จีน (ร้ อยละ 51) เยอรมนี (ร้ อยละ 20.7) ญี่ปน (ร้ อยละ ้ ุ่ 6) เกาหลีใต้ (ร้ อยละ 9.1) และสหรัฐอเมริ กา (ร้ อยละ 44.8) ที่การขนส่งทางรถไฟมีบทบาทหลักในการขนส่งสินค้ า3 (รูปที่ 12) ดังนัน ถึงแม้ วาการ ้ ่ บริ โภคพลังงานในภาคการขนส่งจะเติบโตน้ อยกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวม อันเนื่องมาจากประสิทธิภาพในการใช้ พลังงานของอุปกรณ์การขนส่งที่เพิ่ม ั ขึ ้น และการลดลงของสัดส่วนของภาคการขนส่งต่อ GDP แต่ภาคการขนส่งก็ยงคงมีการใช้ พลังงานอย่างเข้ มข้ นอยู่ 3 ข้ อมูลเกี่ยวกับสัดส่วนของการขนส่งสินค้ าทางรถไฟในหน่วยตันกิโลเมตรของประเทศเยอรมนี (2549) ประเทศญี่ปน (2549) ประเทศเกาหลี(2548) และประเทศสหรัฐอเมริ กา (2548) ุ่ มาจาก OECD/ITF (2551) ส่วนข้ อมูลของประเทศจีน (2548) มาจากธนาคารโลก (2553a) 63<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 รู ปที่ 120. ภาคการขนส่ งในประเทศไทยมีการใช้ พลังงานสูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ Transport Energy Intensity, TOE/US$ Million (constant price 2000) 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 China Germany Japan Korea Malaysia Thailand USA ที่มา: IEA และ การคำนวณโดยเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารโลก ่ นโยบายเพิมประสิทธิภาพในการใช้ พลังงาน ุ ้ การเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ พลังงานเป็ นทางเลือกที่ค้ มค่ าโดยเฉพาะเมื่อคำนึงถึงความอ่ อนไหวของประเทศไทยต่ อราคานํามันที่เพิ่มสูง ้ ้ ขึน และยังเป็ นการเพิ่มความมั่นคงทางพลังงานในระยะยาว แต่ นโยบายด้ านการใช้ พลังงานอย่ างมีประสิทธิภาพนัน จำเป็ นที่จะต้ องได้ รับ ความร่ วมมือจากหลายฝ่ าย มาตรการส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพหลายประการมีความคุ้มค่าทางการเงินสำหรับนักลงทุน แต่ก็ ู ้ ่ ้ ไม่ได้ ถกนำมาใช้ อย่างเต็มที่ ทังนี ้เป็ นผลมาจากความล้ มเหลวและอุปสรรคของตลาด (กรอบที่ 6) ซึงทังมาตรการบังคับ หรื อมาตรการความร่วม ้ มือโดยสมัครใจ ที่ให้ ความสำคัญกับทังส่วนอุปสงค์และอุปทาน จะต้ องถูกนำมาบังคับใช้ เพื่อแก้ ปัญหาอุปสรรคข้ างต้ น โดยเครื่ องมือนโยบายนัน ้ รวมถึงการเสริ มสร้ างความแข็งแกร่งของกฎระเบียบ และการบังคับใช้ การส่งเสริ มแรงจูงใจทางด้ านราคาและตลาด (เช่น มาตรการทางการคลัง) ้ และการปลูกจิตสำนึกสาธารณะ ทังนี ้ จุดประสงค์หลักของนโยบายการคลังสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ข้ อ ได้ แก่ ข้ อแรกคือ การโน้ มน้ าวและส่งเสริ ม พฤติกรรมการอนุรักษ์ ทรัพยากรของผู้บริ โภคและผู้ผลิต และข้ อสองคือ นำเงินที่ได้ จากการจัดเก็บภาษี รายได้ มาใช้ เพื่อแก้ ไขผลกระทบเชิงลบที่มี ่ ่ ่ ต่อสิงแวดล้ อม หรื อสนับสนุนกิจกรรมที่ชวยส่งเสริ ม พัฒนาและปรับปรุงสิงแวดล้ อม หรื อลดการใช้ พลังงาน แต่จะเห็นได้ จากประสบการณ์ในอดีต ่ ว่า มาตรการทางการคลังเหล่านี ้จำเป็ นที่จะต้ องใช้ ควบคูไปกับการบังคับใช้ กฎระเบียบอย่างจริ งจัง กรอบที่ 6. การใช้ พลังงานอย่ างมีประสิทธิภาพที่ต้องเผชิญกับอุปสรรคและความล้ มเหลวของตลาด • ราคาพลังงานที่ต่าหรื อตํ่ากว่ าความเป็ นจริง ราคาพลังงานที่ตํ่าทำให้ ขาดแรงจูงใจในการประหยัดพลังงาน ํ ั • ความล้ มเหลวของกฎระเบียบ ข้ อบังคับ. ผู้บริ โภคที่ไม่มีมิเตอร์ วดความร้ อน ขาดแรงจูงใจในการปรับอุณหภูมิ โดยการกำหนดอัตรา ่ สาธารณูปโภคอาจนำไปสูการไร้ ประสิทธิภาพในการใช้ พลังงาน ่ • ขาดการสนับสนุนและประสิทธิภาพในการผลักดันจากสถาบันมาตรการเกียวกับประสิทธิภาพการใช้ พลังงานขาดเอกภาพโดยขาดการสนับ ้ สนุนของสถาบันที่เกี่ยวข้ องในการให้ ความร่วมมือ และส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ทังยังไม่มีการกำหนดให้ มาตรการเหล่านี ้ ้ เป็ นเปาหมายหลักของการพัฒนา นอกจากนี ้ผู้ให้ บริ การด้ านการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพยังมีน้อย และสมรรถภาพของผู้ให้ บริ การ เหล่านี ้ไม่สามารถสร้ างได้ ภายในระยะเวลาอันสัน ้ ้ • ขาดแรงจูงใจ การผลิตและจำหน่ายไฟฟา ก่อให้ เกิดกำไรมากกว่าการประหยัดพลังงาน สำหรับผู้บริ โภคส่วนใหญ่แล้ วค่าใช้ จายด้ านพลังงาน ่ ่ ่ ่ ู ถือเป็ นสัดส่วนที่คอนข้ างน้ อยเมื่อเทียบกับค่าใช้ จายอื่นๆ และผู้เช่ามักจะเป็ นคนที่เสียค่าใช้ จายด้ านพลังงานทำให้ ผ้ ให้ เช่าขาดหรื อไม่มีแรง ุ จูงใจที่จะใช้ อปกรณ์ประหยัดพลังงาน หรื อติดตังฉนวนกันความร้ อน ้ 64<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ่ ั • ความพึงพอใจของผู้บริโภค การตัดสินใจที่จะเลือกซื ้อพาหนะของผู้บริ โภคส่วนใหญ่ขึ ้นอยูกบ ขนาด ความเร็ว และรูปลักษณ์ มากกว่าประสิทธิภาพการใช้ พลังงาน • สินค้ ามีค่าใช้ จ่ายเริ่มต้ นสูง สินค้ าประหยัดพลังงานส่วนใหญ่มีราคาสูง แต่ผ้ บริ โภคมักจะต้ องการสินค้ าที่ให้ ผลตอบแทนในระยะเวลาอันสัน ู ้ ่ ่ ้ ่ และไม่ต้องการเสียเงินไปกับสินค้ าที่มีคาใช้ จายเริ่ มต้ นสูงๆ ดังนันเมื่อตัดปั จจัยด้ านความพึงพอใจของผู้บริ โภคออกไปจะเห็นได้ วาผู้บริ โภคที่ มีรายได้ น้อยไม่สามารถซื ้อผลิตภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพได้ • อุปสรรคด้ านการเงินและค่ าใช้ จ่ายในการทำธุรกรรมสูง โครงการเกี่ยวกับการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพหลายโครงการประสบกับ ่ ุ ปั ญหาการขาดงบสนับสนุน เนืองจากสถาบันทางการเงินไม่ค้ นเคยหรือไม่สนใจในการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพเพราะส่วนใหญ่โครงการเหล่า ่ ่ ่ ้ นี ้มีขนาดเล็ก มีคาใช้ จายในการทำธุรกรรม และมีความเสียงสูง อีกทังบริ ษัทผู้ให้ บริ การด้ านพลังงานหลายแห่งยังขาดหลักประกันที่มนคง ั่ • การรั บรู้ และข้ อมูลมีจำกัด ผู้บริ โภคมีข้อมูลที่จำกัดเกี่ยวกับข้ อดี ข้ อเสีย และเทคโนโลยีในการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ่ ่ และบริ ษัทหรื อผู้ ผลิตก็ไม่เต็มใจที่จะเสียค่าใช้ จายในการตรวจสอบการใช้ พลังงานซึงจะช่วยให้ บริ ษัทเหล่านี ้ทราบเกี่ยวกับการประหยัด พลังงานแบบต่างๆ ที่มา: Wang และอื่นๆ (2553). การประเมินนโยบายปั จจุบัน ประเทศไทยมีแผนอนุรักษ์ พลังงานมาตังแต่ ปี 2538 แต่ การบรรลุเปาหมายของแผนเหล่ านียังคงเป็ นเรื่ องที่ท้าทาย พระราชบัญญัติ ้ ้ ้ การส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535 ได้ จดตังกองทุนเพื่อส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงาน (ENCON FUND) และกำหนดเปาหมายของการ ั ้ ้ ้ ้ ้ ้ ่ ั อนุรักษ์ พลังงานในสาขาต่างๆ ทังนี ้แผนและเปาหมายได้ รับการแก้ ไขแล้ วสองครังโดยครังล่าสุดคือเมือปี 2548การดำเนินงานในปั จจุบนประสบความ สำเร็ จในแง่ของการสนับสนุนร่วมจากภาคเอกชน และธนาคารไทยพาณิชย์ แต่ในแง่ของการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ พลังงานนันยังประสบ ้ ความสำเร็ จค่อนข้ างน้ อย ดังจะเห็นได้ จากความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงานของประเทศนันยังคงอยูในระดับที่สง (ตารางที่ 11) โดยด้ านล่างจะเป็ น ้ ่ ู ั การวิเคราะห์นโยบายริ เริ่ มต่างๆในปั จจุบน ้ ั ตารางที่ 11. เปาหมายและความสำเร็จของแผนอนุรักษ์ พลังงานฉบับปั จจุบน (2548-2554) Areas Target Achieved 2011 2007 (KTOE) (KTOE) Energy Efficiency Transport 3,413 437 Industries/Commercial/Agriculture 3,190 892 Residential 1,217 225 Total 7,820 1,554 Alternative Energy Renewable Energy 6,688 3,274 NGV 2,170 312 Total 8,858 3,586 ที่มา: แผนอนุรักษ์ พลังงานฉบับปี 2548-2554 ่ หมายเหตุ: อัตราแลกเปลียนที่ 30 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. 1. ระเบียบข้ อบังคับ ่ ิ โปรแกรมผู้จดการพลังงานยังไม่ ประสบความสำเร็จ ส่วนหนึงของพระราชบัญญัตการส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงาน ได้ คาดหวังให้ มีการดำเนิน ั ้ การเรื่ องโครงการจัดการพลังงาน โดยโรงงานและอาคารที่มีความต้ องการพลังงานไฟฟามากกว่า 1,000 กิโลวัตต์ หรื อบริ โภคพลังงานมากกว่า 20 ล้ านเมกะจูลต่อปี จำเป็ นจะต้ องแต่งตัง"ผู้รับผิดชอบด้ านพลังงาน" ดำเนินการจัดการพลังงาน บันทึกและเขียนรายงานประจำปี เกี่ยวกับข้ อมูลพลัง ้ ้ งาน ทำการตรวจสอบการใช้ พลังงานเป็ นประจำทุกปี พร้ อมทังให้ การเสนอแนะ อย่างไรก็ตามจากการสำรวจโดย UNIDO แสดงให้ เห็นว่าเพียงร้ อยละ 18.8 ของโรงงานเหล่านี ้ที่มีผ้ รับผิดชอบจัดการด้ านพลังงานซึงทำงานเต็มเวลาเพียงแค่คนเดียว โดยร้ อยละ 44 ของโรงงานที่สำรวจใช้ เวลาในการ ู ่ ่ ้ ู จัดการพลังงานน้ อยกว่า 10 ชัวโมงต่อสัปดาห์ ทังนี ้ เงินลงทุนส่วนใหญ่ไม่ได้ ถก 65<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ั ุ่ นำมาใช้ ทำให้ แผนเหล่านี ้อย่างเป็ นระบบ เนื่องจากโปรแกรมผู้จดการพลังงานเป็ นข้ อบังคับที่เน้ นการให้ ความร่วมมือไม่ใช่ข้อบังคับที่มงเน้ นผลงาน ่ ้ ้ โดยจะเห็นได้ วาโรงงานหรื ออาคารดังกล่าวไม่ได้ มีเปาหมายที่กำหนดให้ มีการประหยัดพลังงานชัดเจน รวมทังไม่มีบทลงโทษในกรณีที่โรงงานเหล่า ้ นี ้ไม่บรรลุเปาหมายหรื อดำเนินการตามแผนอนุรักษ์ พลังงานที่ได้ ยื่นไว้ ประมวลข้ อบังคับอาคารได้ รับการพัฒนาปรั บปรุ งให้ ดขนในปี 2553 ประเทศไทยได้ เริ่ มมีประมวลข้ อบังคับอาคารในปี 2538 เพื่อบัง ี ึ้ คับใช้ พระราชบัญญัตการส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงาน ิ ้ โดยมีเปาหมายเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ พลังงานของการออกแบบและการก่อ ิ ้ สร้ างอาคารใหม่ และการแก้ ไขพระราชบัญญัตการส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงานในปี 2550 ได้ กำหนดให้ อาคารที่ใช้ กระแสไฟฟามากกว่า 3000 ู กิโลวัตต์ ต้ องมีผ้ รับผิดชอบด้ านพลังงาน (PRE) สองคน ในขณะที่อาคารที่ใช้ ไฟฟาน้ อยกว่า 3000 กิโลวัตต์ ต้ องมีผ้ รับผิดชอบด้ านพลังงานหนึง ้ ู ่ ิ คน ประกอบกับการแก้ ไขพระราชบัญญัตฯ ดังกล่าว ยังกำหนดให้ ต้องมีการตรวจสอบการใช้ พลังงานประจำปี และรายงานผลไปยังกรมพัฒนาพลัง งานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน (พพ.) อีกด้ วย (APERC 2553) แต่อย่างไรก็ตาม ประมวลข้ อบังคับอาคารที่ผานมายังไม่คอยประสบความสำเร็จ ่ ่ ่ เนื่องจาก (1) ขาดมาตรฐานที่เหมาะสมกับอาคารประเภทต่างๆ (อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ เป็ นต้ น) และ (2) การบังคับใช้ ออนแอ ส่งผลให้ ่ ้ ู การมีสวนร่วมและการนำมาใช้ งานมีน้อย ทังนี ้ประมวลข้ อบังคับอาคารฉบับใหม่ ที่ถกนำมาใช้ ในปี 2553 ได้ เสนอให้ การออกแบบ และสร้ าง ั อาคารใหม่ต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพในการใช้ พลังงานเป็ นสำคัญ และประมวลข้ อบังคับอาคารฉบับใหม่ยงเห็นความสำคัญของข้ อผิดพลาดใน ่ ่ ัิ อดีต เช่น ระบบก่อสร้ างอาคาร และการวิเคราะห์คาใช้ จายตลอดอายุการใช้ งาน โดยการอนุมตประมวลข้ อบังคับอาคารดังกล่าวจะได้ รับการพิจารณา ่ โดยเจ้ าหน้ าที่สวนกลางและส่วนท้ องถิ่น ในกระบวนการขออนุญาตก่อสร้ าง และบังคับใช้ โดยกระทรวงมหาดไทย และ พพ. ้ ประเทศไทยได้ กำหนดมาตรฐานและมาตรการติดฉลากเครื่องใช้ ไฟฟาที่ครอบคลุมเกี่ยวกับอุปกรณ์ ประหยัดพลังงานมากที่สดในภูมภาค ุ ิ ประเทศหนึ่ง (พพ.2554) โดยมาตรฐานเหล่านี ้ได้ แก่ ้ 1) มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขันตํ่า (MEPS) เป็ นมาตรฐานบังคับที่กำหนดโดย พพ. และควบคุมโดยสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) ภายใต้ กระทรวงอุตสาหกรรม มาตรฐาน MEPS นี ้ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ 6 ชนิด ได้ แก่เครื่ องปรับอากาศ, ตู้เย็น, ่ มอเตอร์ , บัลลาสต์, หลอดนีออน และหลอดประหยัดไฟ และผลิตภัณฑ์อีก 16 ชนิดยังอยูระหว่างการพัฒนา ้ 2) มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขันสูง (HEPS) เป็ นมาตรฐานที่อาศัยความสมัครใจในการเข้ าร่วม โดยมาตรฐานนี ้กำหนดโดย พพ. ซึง ่ ้ ้ มาตรการติดฉลากจะเป็ นความรับผิดชอบของ พพ. รวมกับการไฟฟาฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ทังนี ้ มาตรฐาน HEPS นี ้ ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ 8 ชนิด และผลิตภัณฑ์อีก 27 ชนิดยังอยูระหว่างการพัฒนา ่ ้ ่ ั 3) การติดฉลากเครื่ องใช้ ไฟฟา เป็ นมาตรการที่ขึ ้นอยูกบความสมัครใจเป็ นหลัก โดยฉลากประหยัดไฟจะมีระดับความประหยัดตังแต่เบอร์ ้ ุ 1 ถึงเบอร์ 5 โดยที่เบอร์ 5 หมายถึงประหยัดไฟมากที่สด การติดฉลากนี ้ครอบคลุมทังเครื่ องใช้ ไฟฟา (ตู้ เย็น, เครื่ องปรับอากาศ, ้ ้ ้ ้ หลอดประหยัดไฟ, บัลลาสต์ไฟฟา, พัดลมไฟฟา, หม้ อหุงข้ าว, โคมไฟ, หลอดผอม T5, บัลลาสต์อิเลคทรอนิกส์, พัดลมชนิดส่ายรอบตัว,โคมไฟ T5, พัดลมระบายอากาศ, โทรทัศน์ และหน้ าจอ) และอุปกรณ์ที่ไม่ใช้ ไฟฟา (เตาแอลพีจี, อุปกรณ์ควบคุม ้ ้ ความเร็วรอบมอเตอร์ ไฟฟา (VSD) กระจก, และฉนวนกันความร้ อน) 2. มาตรการทางการคลัง ํ้ ภาษีและการจัดเก็บภาษีนามันเป็ นเครื่องมือที่สำคัญที่ใช้ควบคุมการบริโภคภายในประเทศและทำให้ผ้ บริโภคตอบสนองต่อสัญญาณราคาใน ู ตลาดต่ างประเทศ มาตรการทางการคลังในอดีตมุงเน้ นไปที่การจัดเก็บภาษี และภาษี นํ ้ามัน รายได้ รวมจากการจัดเก็บภาษี เป็ นที่มาของรายได้ ที่ ่ ้ ่ นำมาใช้ ก่อตังกองทุนนํ ้ามันเชื ้อเพลิง กองทุนสิงแวดล้ อม และกองทุนเพื่อส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงาน อย่างไรก็ตาม เพื่อบรรเทาผลกระทบจาก วิกฤตินํ ้ามันที่ทำให้ ราคานํ ้ามันพุงสูงขึ ้นทัวโลกในระยะที่ผานมา รัฐบาลได้ มีการกำหนดเพดานราคาของผลิตภัณฑ์ดีเซลซึงมีสดส่วนเป็ นครึ่งหนึง ่ ่ ่ ่ ั ่ ของการบริ โภคผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมภายในประเทศ ที่ 30 บาทหรื อ 1 เหรี ยญดอลลาร์ สรอ . โดยส่วนต่างระหว่างราคาตลาดและเพดานราคาจะ ได้ รับการสมทบจากกองทุนน้ ำมันเชื ้อเพลิง อย่างไรก็ตาม เนื่องจากกองทุนนํ ้ามันมีสภาพคล่องทางการเงินลดลง ทำให้ รัฐบาลแทนที่การอุดหนุน ราคานํ ้ามันด้ วยการยกเลิกภาษี สรรพสามิตนํ ้ามันดีเซล โดยมาตรการเหล่านี ้บิดเบือนสัญญาณของตลาดเกี่ยวกับการอนุรักษ์ พลังงาน และทำให้ งบประมาณจำนวนมากถูกนำไปใช้ เพื่อการแทรกแซงกลไกตลาด แทนที่จะนำไปให้ ครัวเรื อนที่ต้องการความช่วยเหลือมากกว่า 66<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ี ประเทศไทยมีหลายแรงจูงใจด้านภาษีท่ใช้ เพื่อสนับสนุนการลงทุนในการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพแต่นโยบายส่ วนใหญ่ ยงไม่เป็ นไปใน ั ทิศทางเดียวกัน ทำให้ ไม่ บรรลุเปาหมายที่วางไว้ โดยนโยบายเหล่านี ้ได้ แก่ (1) โครงการนำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษี เพื่อการอนุรักษ์ พลังงาน ้ ่ ั สำหรับผู้ประกอบการประเภทโรงงานและอาคารเอกชน ซึงได้ หกลดหย่อนภาษี 100 เปอร์ เซ็นต์สำหรับมูลค่าประหยัดพลังงานที่ได้ จากการลง ทุนในโครงการส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เป็ นจำนวนเงินไม่เกิน 2 ล้ านบาท (50,000 ดอลลาร์ สรอ.) (2) โครงการขอรับสิทธิประ โยชน์ยกเว้ นภาษี เงินได้ จากกรมสรรพากร โดยบริ ษัทที่ขอรับสิทธิ์ได้ รับยกเว้ นภาษี เงินได้ เป็ นจำนวนร้ อยละ 25 ของค่าใช้ จายที่นำมาใช้ ลงทุนใน ่ ่ ้ โครงการที่สงเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการภาษี นี ้มีผลกับเงินลงทุนครังแรกจำนวน 50 ล้ านบาท (1.25 ล้ านดอลลาร์ สรอ.) เป็ นระยะเวลา 5 ปี และ (3) การยกเว้ นอากรขาเข้ าซึงดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน (BOI) มีวตถุประสงค์เพื่อสร้ าง ่ ั แรงจูงใจให้ มีการลงทุนในธุรกิจใหม่ๆที่จะช่วยในการประหยัดพลังงาน เช่น โรงงานที่มีการใช้ อุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงในการประหยัดพลังงาน ุ หรื อมีอปกรณ์ที่ใช้ พลังงานทดแทน หรื อบริ ษัทจัดการพลังงาน (ESCOs ) เป็ นต้ น แต่แรงจูงใจเหล่านี ้ยังไม่ประสบความสำเร็จในการเพิ่มการลงทุน ่ ในโครงการส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนหนึงเนื่องมาจากการขาดการประสานงานระหว่างองค์กร ตัวอย่างเช่น BOI ได้ มีการ ั ้ ลดหย่อนการใช้ พลังงานให้ กบบางบริ ษัทที่ได้ รับการส่งเสริ มซํ ้าสองครัง ทางเลือกเชิงนโยบาย ภาคการผลิตที่มีศักยภาพในการช่ วยประหยัดพลังงานมากที่สุด คือ ภาคการขนส่ ง ภาคอุตสาหกรรม ภาคอาคารพาณิชย์ และ ั้ ที่อยู่อาศัย ตามลำดับ ศักยภาพการประหยัดพลังงานในภาคการขนส่งจะเกิดขึ ้นได้ นน มีปัจจัยหลักมาจากการปรับปรุงประสิทธิภาพ ่ การใช้ น้ำมันของยานพาหนะ (เช่น มาตรฐานการประหยัดนํ ้ามัน การติดฉลากรถยนต์ และการขับขี่ที่ชาญฉลาดและเป็ นมิตรต่อสิงแวดล้ อม ้ ่ ้ (Eco driving) ส่วนปั จจัยรองนันได้ แก่ การปรับเปลียนมาใช้ รถขนส่งสาธารณะ และการขนส่งสินค้ าทางรถไฟ ทังนี ้อุตสาหกรรมอโลหะ และ อุตสาหกรรมอาหารเป็ นสองสาขาในภาคอุตสาหกรรมที่มีศกยภาพในการช่วยประหยัดพลังงานมากที่สด ในขณะที่ภาคอาคารนัน หนึงในสาม ั ุ ้ ่ ้ ของการประหยัดพลังงานอาจเกิดขึ ้นได้ จากการลดการใช้ ไฟฟาในอาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่และขนาดกลาง แต่การปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ พลังงานยังคงเผชิญกับปั ญหาหลายประการ เช่น (1) ในภาคอุตสาหกรรมและการขนส่งยังขาดกฎระเบียบ ั ่ ที่บงคับใช้ เพื่อมุงเน้ นผลงาน (performance-based mandatory regulations) (2) อุปสรรคในการเข้ าถึงเงินทุนโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และบริ ษัทจัดการพลังงาน (ESCOs)4 และ (3) การดำเนินโยบายยังมีลกษณะกระจายตัวและขาด ั เอกภาพโดยโครงการส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพเกี่ยวข้ องกับหลายภาคส่วน และหลายกระทรวง จึงมีความจำเป็ น ่ ี ่ ่ ่ ัิ ่ ทีการดำเนินงานจะต้ องมีความชัดเจนในการประสานงานระหว่างผู้มสวนได้ สวนเสียและผลักดันโครงการเหล่านี ้ไปสูการปฏิบตจริงอุปสรรคทีกล่าวมาข้ าง ต้ นสามารถแก้ ไขได้ โดยประเทศไทยจำเป็ นต้ อง (1) เสริ มสร้ างความเข้ มแข็งของกฎระเบียบข้ อบังคับ และมาตรการด้ านการคลังที่มีประสิทธิ ภาพ ในภาคการขนส่งและภาคอุตสาหกรรม (2) พัฒนาและใช้ กลไกการเงินรูปแบบใหม่ๆ และ (3) ปฏิรูปโครงสร้ างสถาบัน โดยเราวิเคราะห์แนวทาง การแก้ ไขปั ญหาดังนี ้ 1. การเสริมสร้ างความเข้ มแข็งของกฎระเบียบข้ อบังคับ และมาตรการด้ านการคลังที่มีประสิทธิภาพ นโยบายราคา และนโยบายการคลังจะต้ องเป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับกฎข้ อบังคับ โดยนโยบายที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในแง่ของต้ นทุนที่จะ ้ ช่วยส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ได้ แก่ การกำหนดเปาหมายความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงานที่จะต้ องครอบคลุมทุกส่วนของ ้ ัิ ระบบเศรษฐกิจ มาตรฐานเครื่ องใช้ ประมวลข้ อบังคับอาคาร เปาหมายการปฏิบตงานของอุตสาหกรรม (การใช้ พลังงานต่อหน่วยของผลผลิต) และ ่ มาตรฐานการใช้ นํ ้ามันอย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามการบังคับใช้ กฎระเบียบดังกล่าวอาจนำไปสูข้อเสียของผลสะท้ อนกลับ (Rebound ่ Effect) ซึงทำให้ นโยบายด้ านราคา และนโยบายการคลังต้ องเข้ ามามีบทบาทสำคัญ ภาษีนํามันได้ รับการยอมรั บว่ าเป็ นหนึ่งในวิธีท่ ีช่วยลดความต้ องการใช้ พลังงานด้ านการขนส่ งมากที่สุดนอกจากนี ้ค่าธรรมเนียมความ ้ แออัด(congestion charges) และประกันภัยหรื อภาษี รถยนต์ที่เรี ยกเก็บตามระยะทาง และภาษี ที่เรี ยกเก็บรถบรรทุกเล็ก และรถเอนกประสงค์ที่สงขึ ้น ู ั ่ ่ ่ ก็ยงถือเป็ นมาตรการที่มีประสิทธิภาพ แต่อย่างไรก็ตามผลิตภัณฑ์ที่ประหยัดพลังงานมักมีคาใช้ จายเริ่ มต้ นสูง ซึงทำให้ ไม่เป็ นที่นิยมของผู้ บริ โภค โดยเฉพาะผู้บริ โภคที่มีรายได้ ตํ่า สิงจูงใจทางการเงินเพื่อชดเชยค่าใช้ จายเริ่ มต้ นเหล่านี เช่น ส่วนลด และสินเชื่อสำหรับผู้บริ โภคสินค้ าประหยัด ่ ่ ้ ่ ู พลังงาน อาจสามารถเปลียนพฤติกรรมผู้บริ โภคได้ และทำให้ ผ้ บริ โภคมีกำลังเงินในการซื ้อสินค้ ามากขึ ้น ทังยังเป็ นการขจัดอุปสรรคในการเข้ าสู่ ้ ่ ตลาด โดยรัฐสามารถนำรายได้ จากการจัดเก็บภาษี ไปใช้ สนับสนุนสิงจูงใจทางการเงินที่กล่าวมาข้ างต้ น 4 บริ ษัทจัดการพลังงานเป็ นธุรกิจที่นำเสนอแนวทางแก้ ไขปั ญหาที่เกี่ยวข้ องกับพลังงาน เช่นการออกแบบ และดำเนินการโครงการประหยัดพลังงาน การจัดหาบริ ษัทก่อสร้ างโครงสร้ าง ้ พลังงานพื ้นฐาน การผลิตไฟฟา การจัดหาพลังงาน และจัดการความเสียง ่ 67<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ่ นโยบายการกำกับดูแลควรมุ่งเน้ นการกำหนดมาตรฐานสำหรับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และการประหยัดนํามันถึงแม้ วาภาคการขนส่งและ ้ ั ุ ภาคอุตสาหกรรมของไทยจะมีศกยภาพในการช่วยประหยัดพลังงานมากที่สด และประเทศไทยได้ มีปรับปรุงประมวลข้ อบังคับอาคารในปี 2553 ้ และมีการกำหนดมาตรฐาน และมาตรการติดฉลากเครื่ องใช้ ไฟฟาประหยัดพลังงานอย่างกว้ างขวาง แต่รัฐบาลควรพิจารณาใช้ กฎข้ อบังคับเพิ่ม ้ เติมในภาคอุตสาหกรรม เช่น การกำหนดเปาหมายการดำเนินงานของอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่มีการใช้ พลังงานสูง และการส่งเสริ มมาตรฐาน การใช้ นํ ้ามันอย่างประสิทธิภาพของภาคการขนส่งในอนาคต จากการศึกษาของธนาคารโลกแสดงให้ เห็นว่าการปรับปรุงมาตรฐานยานยนต์ประหยัด นํ ้ามันในสหภาพยุโรปในปั จจุบน จะนำไปสูการประหยัดพลังงานมากกว่าร้ อยละ 60 ในภาคการขนส่งในกรุงเทพมหานคร (Wang และอื่นๆ 2553) ั ่ 2. การพัฒนาและใช้ กลไกการเงินรู ปแบบใหม่ โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์ พลังงาน และพลังงานทดแทนที่มีอยู่สามารถจะยกระดับได้ ถ้ามีการกำหนดเปาหมาย ้ ไปที่ธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดใหญ่ และการรวมมาตรฐานทางการเงิน และมาตรฐานประสิทธิภาพการ ใช้ พลังงานในอุตสาหกรรมเข้ าด้ วยกัน โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์ พลังงานและพลังงานทดแทนเป็ นกองทุนที่โดดเด่นภายใต้ กองทุน เพื่อส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงาน ่ ั ซึงมีวตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการเข้ าถึงแหล่งเงินทุนของโครงการส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการให้ ความช่วยเหลือทางการเงินร่วมกับธนาคารในประเทศ เมื่อธนาคารที่เข้ าร่วมเริ่ มคุ้นเคยกับธุรกิจส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิ ัิ ภาพ ผ่านกระบวนการเรี ยนรู้ด้วยการปฏิบตแล้ ว โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์ พลังงานและพลังงานทดแทนก็จะสามารถขอความร่วมมือ ในการร่วมจัดหาเงินจากธนาคารที่เข้ าร่วมโครงการได้ มากขึ ้น เครื่ องมือทางการเงินนี ้ถือเป็ นรางวัล และสามารถใช้ เชื่อมโยงกับเปาหมาย ้ ้ ประสิทธิภาพการใช้ พลังงานในอุตสาหกรรมที่กล่าวมาข้ างต้ น ทังนี ้ก็เพื่อลดความเข้ มข้ นของการใช้ พลังงานในภาคอุตสาหกรรม แนวทางเกี่ยวกับข้ อตกลงด้ านราคาระยะยาว (Standard Offer)อาจจะถูกนำมาใช้ และจัดการโดยหน่วยงานด้ านการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิ ภาพที่ได้ รับการคัดเลือกจากกระบวนการที่มีการแข่งขันสูง และมุงเน้ นผลในทางปฏิบติ (Energy Efficiency Utilities - EEUs) ข้ อตกลงด้ านราคา ่ ั ระยะยาวคือกลไกที่หน่วยงานให้ บริ การสาธารณะใช้ โดยจะ “ซื ้อ” พลังงาน และ / หรื อ เรี ยกร้ องการประหยัดพลังงาน โดยอิงกับอัตราที่กำหนด ่ ไว้ ลวงหน้ าที่เรี ยกว่า “ข้ อตกลงด้ านราคาระยะยาว” ซึงอัตราเหล่านี ้จะขึ ้นอยูกบมูลค่าของพลังงาน และระดับการประหยัดพลังงานที่ระบบสาธาร ่ ่ ั ้ ่ ณูปโภคนันๆต้ องการ ผู้ใช้ พลังงานหรื อบริ ษัทจัดการพลังงานที่สามารถผลิตพลังงาน และประหยัดพลังงานจะได้ รับการจ่ายเงินก้ อนหนึง และประ กาศนียบัตรรับรองความสำเร็จในการประหยัดพลังงานเมื่อเสร็จสิ ้นโครงการ โดยกองทุนเพื่อส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงานสามารถเสนอข้ อตกลงด้ าน ่ ราคาระยะยาว สำหรับเงินอุดหนุนแก่บริ ษัทจัดการพลังงาน แนวทางนี ้ก่อให้ เกิดความโปร่งใส และความมันคงในแง่ของเงินอุดหนุนการประหยัด พลังงาน ทำให้ บริ ษัทจัดการพลังงานสามารถเพิ่มจำนวนโครงการส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างรวดเร็ ว และเพิ่มช่องทางในการ เข้ าถึงเงินทุนเชิงพาณิชย์ ด้ วยเหตุนี ้แนวคิดของ EEU จึงเป็ นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการจัดการเกี่ยวกับข้ อตกลงด้ านราคาระยะยาว5 ่ รัฐบาลสามารถจัดให้ มีการรับประกันความเสียงบางส่วนสำหรับบริ ษัทจัดการพลังงาน ธนาคารในประเทศส่วนใหญ่ไม่จำเป็ นต้ องรับประกันสิน ั ั ั เชื่อให้ กบลูกค้ าที่มีเครดิตดีและในทางกลับกันธนาคารก็จะไม่ปล่อยสินเชื่อให้ กบลูกค้ าที่มีอนดับเครดิตไม่ดีแต่มีการการันตีสนเชื่อ ดังนันการรับ ิ ้ ่ ่ ่ ประกันความเสียงบางส่วนจะช่วยลดความเสียง และมีผลให้ บริ ษัทจัดการพลังงานมีความน่าเชื่อถือ ทำให้ ธนาคารมีความเชื่อมันในการปล่อยสิน เชื่อมากขึ ้น 3. การปฏิรูปโครงสร้ างสถาบัน ปั ญหาที่สำคัญของการออกแบบนโยบายที่ครอบคลุมหลายภาคส่วนคือ การประสานงาน ความมีประสิทธิภาพ และความน่าเชื่อถือ ของการดำเนินงาน โดยแนวทางที่มีขึ ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ พลังงานในระดับประเทศจำเป็ นต้ องมีการประสานงานกับหลายภาค ิ ่ ส่วน และต้ องคำนึงถึงปั จจัยหลายอย่าง เช่น พลังงาน การขนส่ง การใช้ ประโยชน์ที่ดน นํ ้า ขยะ และสิงแวดล้ อม ลักษณะการทำงานแบบแยก ่ ส่วนของมาตรการส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ ความมีเอกภาพและความเข้ มแข็งของสถาบันเป็ นสิงที่สำคัญ ตัวอย่าง ้ ่ ่ เช่นหลายประเทศมีการจัดตังหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับประสิทธิภาพการใช้ พลังงาน ซึงมีทำหน้ าที่หลักในการประสานงานระหว่างผู้มีสวนเกี่ยว ข้ อง (สนพ. พพ. กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงคมนาคม และอื่นๆ) รวมถึงการดำเนินการโครงการที่เกี่ยวกับการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิ ภาพ และการสร้ างจิตสำนึกสาธารณะ โดยจากการเปรี ยบเทียบแบบจำลองระบบสถาบันแบบต่างๆ แสดงให้ เห็นว่าหน่วยงานส่งเสริ มการใช้ พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพระดับชาติ ที่มีอำนาจ และมีบทบาทที่ดีในระดับคณะรัฐมนตรี หรื อขึ ้นอยูโดยตรงกับนายกรัฐมนตรี อาจมีอิทธิพลที่จะทำให้ ได้ ่ รับความร่วมมือและการประสานงานจากหน่วยงานอื่นๆ ตามต้ องการ นอกจากนี ้หน่วยงาน 5 EEUs ดำเนินการโครงการอนุรักษ์ พลังงาน หรื อส่วนหลักๆของโครงการของรัฐ โดย EEU จะดำเนินโครงการที่ครอบคลุมหลายๆด้ าน เช่น การสนับสนุนการลงทุนในโครงการ ้ ั ่ ั การให้ เงินสนับสนุนตามเปาหมาย การจัดกิจกรรมที่สร้ างจิตสำนึกให้ กบประชาชน การจัดการชุมชน การให้ ความช่วยเหลือทางเทคนิค และดำเนินการโครงการที่อยูภายใต้ สญญาของ ั้ ่ ่ รัฐบาล การจะมาเป็ น EEUs ได้ นนต้ องผ่านกระบวนการประกวดราคา และแสดงผลงานที่ผานมาซึงชี ้ให้ เห็นว่ามีการช่วยประหยัดพลังงานได้ จริ งตามที่รัฐกำหนดไว้ 68<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ั ้ ในระดับภาคและจังหวัด หรื อหน่วยงานระดับท้ องถิ่น จะต้ องได้ รับการกำหนด และมอบหมายความรับผิดชอบที่ชดเจน พร้ อมทังต้ องมีแรงจูงใจ ั่ และบทลงโทษเพื่อให้ มนใจว่าการดำเนินงานจะเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ (กรอบที่ 7) ี ้ ้ การประชุมของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ(กพช.)ที่มบ่อยขึนและบทบาทของพพ.ที่เข้ มแข็งขึนจะสามารถช่ วยทำให้การประ ้ ่ สานงานระหว่ างหน่ วยงานดีย่ งขึน ทังนี ้นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี วาการกระทรวงที่เกี่ยวข้ องในนโยบายส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประ ิ ้ สิทธิภาพ จำเป็ นต้ องมีความร่วมมือกันอย่างใกล้ ชิดเป็ นประจำ โดยคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติได้ มีขึ ้นเพื่อส่งเสริ มความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงาน แต่การประชุมในช่วงปี ที่ผานมามีไม่บอยนัก นอกจากนี ้ พพ. ควรจะได้ รับมอบหมายให้ มีอำนาจในการพัฒนาประสานงาน และ ่ ่ ัิ กำกับดูแลการปฏิบตตามนโยบายประหยัดพลังงานของกระทรวงต่างๆ ตัวอย่างเช่น กระทรวงพลังงานและกระทรวงคมนาคมไม่มีบทบาทและความ ั รับผิดชอบที่ชดเจนในเรื่ องการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ พลังงานในภาคการขนส่ง และจากศักยภาพในการช่วยประหยัดพลังงานของภาคการ ้ ่ ขนส่ง และภาคอุตสาหกรรมที่ได้ กล่าวมาข้ างต้ น ทำให้ ความร่วมมือที่แน่นเฟนยิ่งขึ ้นของสองภาคส่วนนี ้มีสวนในการทำให้ เกิดผลประโยชน์มหา ้ ศาล ในทำนองเดียวกันพพ.ประสบกับอุปสรรคในการเข้ าถึงข้ อมูลเกี่ยวกับการใช้ พลังงานในภาคอุตสาหกรรมตามกฎหมาย นอกจากนี พพ. ยังไม่มี ่ ่ ่ ่ อำนาจควบคุมการก่อสร้ างในจังหวัด ซึงที่อยูภายใต้ การปกครองของกระทรวงมหาดไทย ถึงแม้ วา พพ. จะได้ รับคำสังให้ มีหน้ าที่ในการส่งเสริ มการ ใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารก็ตาม การเสริมสร้ างความเข้มแข็งในการประสานนโยบายส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้พลังงานและการดำเนินการในภาคส่วนต่างๆและในระดับท้อง ถิ่นถือเป็ นสิ่งที่สำคัญ เนื่องจากมาตรการส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพจะถูกดำเนินการจริ งในระดับภาคส่วน และระดับท้ องถิ่น ้ ้ ดังนันเปาหมายระดับชาติของมาตรการส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพควรจะมีการแยกส่วน เมื่อมีการพิจารณาในระดับภาคส่วน และระดับท้ องถิ่น โดยต้ องมีการปรึกษาหารื อกับหน่วยงานท้ องถิ่นเหล่านันเกี่ยวกับศักยภาพในการที่จะปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ พลังงานให้ ดี ้ ยิ่งขึ ้น ทังนี ้ต้ องมีแรงจูงใจที่เหมาะสมให้ กบผู้ที่ปฏิบตได้ ดี และบทตักเตือนสำหรับผู้ที่ต้องได้ รับการพัฒนา ้ ั ัิ กรอบที่ 7. วิธีการปรั บปรุ งการประสานความร่ วมมือเพื่อส่ งเสริมการใช้ พลังงานอย่ างมีประสิทธิภาพ ่ ความร่ วมมือแนวราบ เมื่อหน่วยงานสองหรื อสามหน่วยงานมีความรับผิดชอบทับซ้ อนกันหรื อร่วมกัน วิธีการที่จะนำไปสูการประสานงานอย่าง มีประสิทธิภาพ อาจจะรวมไปถึงการทำบันทึกความเข้ าใจ (MOU) หรื อข้ อตกลงทวิภาคีภายในรัฐ, การระบุความรับผิดชอบเปาหมาย ้ ั ้ ่ การไหลของเงินทุน และอื่นๆให้ ชดเจน เช่น กรมพลังงานของสหรัฐอเมริ กา (DOE) และหน่วยงานปองกันสิงแวดล้ อม (US EPA) มีความรับผิดชอบร่วมกันในการกำหนดนโยบายส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ้ ั ทังสองหน่วยงานจึงได้ จดทำบันทึก ความเข้ าใจเพื่อดูแลรับผิดชอบการดำเนินงานร่วมกันของกิจกรรม เช่นโครงการ ENERGY STAR เมื่อแนวคิดการใช้ พลังงานอย่างมี ่ ประสิทธิภาพแพร่หลาย ทำให้ ข้อตกลงระหว่างหน่วยงาน และคณะกรรมการประสานงานเป็ นสิงสำคัญ ตัวอย่างของคณะกรรมการ ประสานงานได้ แก่ สภารัฐมนตรี พลังงานออสเตรเลียสภารัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงานแคนาดา ่ คณะกรรมการการเจริ ญเติบโต ่ สีเขียวของเกาหลี คณะกรรมการเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติของสิงคโปร์ คณะกรรมการประสานงานการใช้ พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพของตุรกี ความร่วมมือภายใน ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน คณะกรรมการความร่วมมือ หน่วยงานเดียว หลายหน่วยงาน หลายหน่วยงาน ่ ่ ่ ความร่ วมมือแนวตังมีหลายกลไกทีรัฐบาลหลายชาติใช้ เพือประสานความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้ องถินในการดำเนินการส่งเสริมการใช้ ้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยกลไกเหล่านี ้ดูเหมือนจะใช้ ได้ ผลในประเทศที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐ หรื อเป็ นรัฐเดี่ยว กลไกการ ้ ้ ประสานความร่วมมือแนวตังส่วนใหญ่ จะมีรัฐบาลกลางจะเป็ นผู้นำ และเป็ นผู้ให้ แนวทาง กำหนดงาน และเสนอเงินทุน ทังยังให้ ความช่วยเหลือ ทางด้ านเทคนิคกับองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นตัวอย่างของกลไกการประสานความร่วมมือแบบนี คือโครงการทีให้ เงินทุนสนับสนุนกับผู้มีรายได้ ้ ่ ตํ่าเพื่อให้ ไปสร้ างบ้ านที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน (Weatherisation Assistance Programs)ในสหรัฐอเมริ กา 69<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ความร่วมมือ การสาธิต ัิ การนำไปปฏิบตจริ ง ระดับการปกครองระดับเดียว ระดับการปกครองหลายระดับ (เงินช่วยเหลือเป็ นก้ อน) ระดับการปกครองหลายระดับ ่ รัฐบาลกลางของบางประเทศได้ ใช้ ประโยชน์จากการใช้ อำนาจขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นในการสาธิตให้ เห็นถึงนวัตกรรมทีเกี่ยวข้ องกับโครง ่ การประหยัดพลังงาน ซึงหากประสบความสำเร็จก็จะนำไปต่อยอด และทำซ้ ำ ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลกลาง และองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น จะดำเนินไปด้ วยดีในประเทศที่มีการปกครองแบบรัฐเดี่ยว ที่องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นมีจำนวนจำกัด ตัวอย่างของกรณีนี ้คือ โครงการส่งเสริ ม การใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และการใช้ พลังงานหมุนเวียนของประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ (SwissEnergy Program) อย่างไรก็ตาม วิธีการที่ ่ ้ จะใช้ เพื่อปรับปรุงการประสานความร่วมมือระหว่างรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ไม่สามารถสรุปรวมอยูในข้ อเดียวได้ ดังนันผู้กำหนด นโยบายควรทราบแนวทางการประสานความร่วมมือต่อไปนี ้ • วางแผนความร่ วมมือตังแต่ เนิ่นๆ เพื่อสนับสนุนความร่วมมือระหว่างผู้กำหนดนโยบาย และผู้นำไปปฏิบติ โดยการประสาน ้ ั งานควรจะเริ่ มขึ ้นในช่วงต้ นของระยะการออกแบบนโยบาย • สร้ างศักยภาพในการใช้ พลังงานอย่ างมีประสิทธิภาพเพื่อเป็ นข้ อกำหนดเบืองต้ นสำหรั บความร่ วมมือที่ดี ้ การเสริมสร้ าง ศักยภาพในการใช้ พลังงานอย่ างมีประสิทธิภาพ เป็ นสิ่งที่ต้องมีก่อนที่จะเริ่มต้ นประสานความร่ วมมือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อการมี การขยายความรับผิดชอบด้ านพลังงานไปยังหน่วยงานที่ไม่ได้ ใช้ พลังงานเป็ นหลัก ดังนันการสร้ างศักยภาพภายในสถาบันความร่วมมือที่ ้ ต้ องสอดคล้ องกับโปรแกรมการทำงานและบทบาทการประสานงานเป็ นเรื่ องที่สำคัญ • การประสานนโยบายส่ งเสริมการใช้ พลังงานอย่ างมีประสิทธิภาพ กับนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอากาศเข้ าด้ วยกัน ิ ้ ่ ั นโยบายทังสองนี ้จะต้ องความสอดคล้ องกัน เมื่อความรับผิดชอบของแต่ละนโยบายตกอยูกบหน่วยงานที่แตกต่าง • ระบุจดแข็งของระดับการปกครองแต่ ละระดับโดยผู้กำหนดนโยบายควรใช้ ประโยชน์จากจุดแข็งเหล่านี ้อย่างแข็งขันและประสานความร่วมมือ ุ ู เพื่อให้ แน่ใจว่าจุดแข็งเหล่านี ้จะถูกนำไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์สงสุดในการดำเนินการนโยบายส่งเสริ มการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ • กำหนดวัตถุประสงค์ และพืนที่ความรั บผิดชอบอย่ างชัดเจน ้ รัฐบาลกลาง และองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นควรกำหนด วัตถุประสงค์ และพื ้นที่ของความรับผิดชอบสำหรับความพยายามในการประสานความร่วมมือย่างชัดเจน • การสร้ างความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ ความโปร่งใส และตรวจสอบได้ เป็ นหัวใจหลักของการประสานงานระหว่างหน่วยงาน หรื อระหว่างระดับการปกครอง ดังนันนโยบาย และโครงการเหล่านี ้ควรมีระบบที่ตรวจสอบความรับผิดชอบได้ ตงแต่เริ่ มต้ น ้ ั้ ที่มา: IEA 2553. 70<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ ภาคผนวกที่ 1: ดัชนีชีวัดทางเศรษฐกิจที่สำคัญ 2552 2553 2553 2554 ปี ปี ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ม.ค. ก.พ. ผลผลิต การจ้ างงานและราคา ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ่ (% เปลียนแปลงเทียบกับปี ที่แล้ ว) -2.3 7.8 12.0 9.2 6.6 3.8 .. .. ดัชนีการผลิตทางอุตสาหกรรม (ปี 2543=100) 166.1 190.0 191.8 186.4 191.8 190.0 186.9 176.9 ่ (% เปลียนแปลงเทียบกับปี ที่แล้ ว) -7.2 14.4 31.2 17.6 9.8 2.6 4.1 -3.4 อัตราการว่างงาน (%) 1.5 1.0 1.1 1.3 0.9 0.8 .. .. อัตราเพิ่มของรายได้ ที่แท้ จริ ง (%) 1/ -1.6 6.2 -0.6 2.8 4.1 6.2 .. .. ่ ดัชนีราคาผู้บริ โภค (% เปลียนแปลงเทียบกับปี ที่แล้ ว) -0.8 3.3 3.7 3.2 3.3 2.9 3.0 2.9 ภาครั ฐ ดุลเงินสดภาครัฐ (% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศ) 2/ -3.0 -2.1 -7.8 5.7 1.3 -7.2 .. .. หนี ้ในประเทศภาครัฐ (% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศ – สิ ้นงวด) 3/ 43.6 42.4 43.9 43.4 42.6 42.4 39.3 .. การค้ าต่ างประเทศ ดุลการชำระเงินและหนี ้ ต่ างประเทศ ดุลการค้ า (พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ) 19.4 14.0 2.0 4.6 3.3 4.1 -0.6 2.0 การส่งออก (fob พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ) 150.7 193.7 43.9 48.1 49.7 51.8 16.5 18.4 (% เปลียนแปลงเทียบกับปี ที่แล้ ว) ่ -14.0 28.5 32.0 41.8 22.2 21.1 21.4 29.1 การส่งออกหลัก: เครื่ องจักรและอุปกรณ์ ่ (% เปลียนแปลงในรูปของเงินเหรี ยญสหรัฐ) -15.2 27.0 57.5 27.2 21.4 11.0 -6.2 5.0 การนำเข้ า (cif พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ) 131.4 179.6 41.9 43.5 46.4 47.8 17.1 16.4 ่ (% เปลียนแปลงเทียบกับปี ที่แล้ ว) -25.2 36.8 63.9 44.9 30.7 18.8 26.7 33.4 ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ) 21.9 14.8 5.5 1.7 2.0 5.5 1.1 3.8 (% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ) 8.3 4.6 7.1 2.2 2.6 6.4 .. .. การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศสุทธิ (พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ) 4/ 4.5 4.4 1.5 0.9 1.5 0.5 -0.7 0.5 หนี ้ต่างประเทศรวม (พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ) 5/ 75.3 96.9 79.1 81.1 90.1 96.9 .. .. (% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ) 28.6 30.4 25.4 26.6 28.6 28.1 .. .. ้ หนี ้ระยะสัน (พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ) 5/ 33.1 46.7 35.7 37.2 42.1 46.7 .. .. สัดส่วนการชำระหนี ้ (% ของการส่งออกสินค้ า และบริ การ) 6/ 7.6 4.6 5.7 4.9 4.6 3.5 .. .. ทุนสำรองรวมทองคำ (ล้ านเหรี ยญสหรัฐ) 138.4 172.1 144.1 146.8 163.2 172.1 174.0 179.5 (คิดเป็ นจำนวนเดือนของการนำเข้ าสินค้ า) 10.7 10.0 9.0 8.7 9.2 9.3 .. .. 71<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ตลาดการเงิน ่ สินเชื่อในประเทศ (% เปลียนแปลงเทียบกับปี ที่แล้ ว) 6/ 3.1 12.6 6.0 8.5 10.8 12.6 14.5 15.0 อัตราดอกเบี ้ยระยะสัน้ ่ (ค่าเฉลียของงวด) 7/ 1.35 1.50 1.25 1.25 1.67 1.83 2.25 2.25 ่ ่ อัตราแลกเปลียน (ค่าเฉลียของงวด) 34.3 31.7 32.9 32.4 31.6 30.0 30.5 0.0 ่ อัตราแลกเปลียนที่แท้ จริ ง (ปี 2543=100, ตัวเลขที่ สูงขึ ้นแสดงถึงการแข็งค่าขึ ้นของเงินบาท) 8/ 108.8 114.4 111.1 115.0 115.0 116.8 114.8 113.5 ่ (% เปลียนแปลงเทียบกับปี ที่แล้ ว) -3.6 5.2 1.6 4.9 6.1 8.3 1.3 -0.4 ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ ณ สิ ้นงวด 735 1,033 788 797 975 1,033 964 988 Memo Items: ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในรูปตัวเงิน (พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ) 263.4 318.6 77.8 76.3 78.7 86.1 .. .. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในรูปตัวเงิน (พันล้ านบาท) 9,041.6 10,103.0 2,560.1 2,471.4 2,490.0 2,581.4 .. .. รายได้ ประชาชาติที่แท้ จริ งต่อหัว (ราคาคงที่ปี 2543 – เหรี ยญสหรัฐ) 2,898.8 3,255.3 .. .. .. .. .. .. ่ ิ 1/ ค่าจ้ างโดยเฉลียของผู้มีงานทำจากการสำรวจแรงงานโดยสำนักงานสถิตแห่งชาติ (หักทอนด้ วยอัตราเงินเฟอ) ้ 2/ ดุลเงินสดของรัฐบาล ้ 3/ รวมถึงหนี ้ในประเทศของรัฐบาล หนี ้ในประเทศของรัฐวิสาหกิจที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน หนี ้ของกองทุนเพื่อการฟื นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน 4/ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ไม่ใช่ธนาคาร 5/ ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย 6/ นิยาม IFS (สินเชื่อสุทธิภาคสาธารณะที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน สินเชื่อภาคเอกชนและบัญชีอื่น ๆ) ่ 7/ อัตราดอกเบี ้ยนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย (ช่องทางปรับสภาพคล่องสิ ้นวัน อัตราดอกเบี ้ยเฉลียของเงินกู้และเงินให้ ก้ )ู 8/ ที่มา: ธนาคารเพื่อการชำระหนี ้ระหว่างประเทศ 72<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ภาคผนวกที่ 2: ตารางติดตามการดำเนินการปรั บโครงสร้ าง 73<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 1. การลดความยากจน 2. การปฏิรูปภาคการเงินและภาคธุรกิจ 3. การปฏิรูปเพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้ อมทางธุรกิจ การลงทุนและการค้ า 4. การปฏิรูประบบราชการและระบบธรรมาภิบาลภาครัฐ 5. การคุ้มครองทางสังคม 1. การวิเคราะห์ การลดปั ญหาความยากจน วัตถุประสงค์ มาตรการปฏิรูปที่ได้ ดำเนินการ ก. ปรับปรุงคุณภาพชีวิตคนยากจนโดยส่งเสริ ม ่ ่ มาตรการทีดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมาและนัยสำคัญ ่ การพึงพาตนเองและสร้ างโอกาสเพื่อปรับปรุง ระบบเศรษฐกิจในท้ องถิ่น มาตรการที่ดำเนินการ • เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2554 คณะรั ฐมนตรี อนุมัตงบประมาณเพื่อเป็ นค่ าใช้ จ่ายในการดำเนินการโครงการ ิ ในช่วง 6 เดือนที่ผานมาและนัยสำคัญ ่ ิ นำร่ องการแก้ ไขปั ญหาที่ดนทำกินของเกษตรกรรายย่ อย ภายใต้ นโยบายกองทุนธนาคารที่ดน วงเงิน 168 ล้ านบาท ิ ตามที่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เสนอ เนื่องจากขอบเขตการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ มีความ คาบเกี่ยวกับอำนาจหน้ าที่ของหลายส่วนราชการ เช่น กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็ นต้ น ดังนัน ้ ิ ้ ิ สถาบันบริ หารจัดการธนาคารที่ดน (องค์การมหาชน) จะถูกจัดตังขึ ้นเพื่อให้ เป็ นหน่วยกลางเกี่ยวกับเรื่ องการบริ หารจัดการที่ดน • เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2554 คณะรั ฐมนตรี แถลงนโยบายประชาวิวัฒน์ เพื่อต่ อสู้กับปั ญหาเศรษฐกิจและ ัิ สังคม รวมทังความเหลื่อมล้ ำของรายได้ คณะรัฐมนตรี อนุมตงบประมาณ 9.1 พันล้ านบาทผ่านโครงการของรัฐบาลในชื่อ ้ ั ัิ ้ “ประชาวิวฒน์” หรื อ “โครงการเร่งรัฐปฏิบตการด่วนเพื่อคนไทย” เปาหมายหลักคือการขยายความคลอบคลุมการประกันสังคม ิ ู และความยุตธรรมแก่ผ้ มีรายได้ น้อยส่วนใหญ่ที่อาศัยในเขตเมือง มาตรการต่าง ๆ ประกอบด้ วยสินเชื่อสำหรับคนขับรถแท็กซี่ ้ คนขับรถมอเตอร์ ไซค์รับจ้ าง และผู้ค้าหาบเร่แผงลอย การอุดหนุน LPG การใช้ ไฟฟาฟรี สำหรับครัวเรื อน การควบคุมราคาอาหาร โดยเฉพาะ ไข่ไก่ เป็ นต้ น • มาตรการความช่ วยเหลือด้ านภาษีเงินได้ นิตบุคคลสำหรั บผู้ประสบภัยน้ ำท่ วม บุคคลธรรมดาและบริ ษัท / ห้ างหุ้น ิ ิ ุ ่ ิ ส่วนนิตบคคลซึงเป็ นผู้ประสบอุทกภัย ให้ ได้ รับการยกเว้ นภาษี เงินได้ สำหรับเงินหรื อทรัพย์สนที่ได้ รับการบริ จาค การช่วยเหลือ เพื่อชดเชยความเสียหายนอกเหนือจากเงินชดเชยที่ได้ รับจากรัฐบาล ทังนี ้ ต้ องไม่เกินกว่ามูลค่าความเสียหายที่ได้ รับ เงินได้ ้ 74<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 บางส่วนที่เป็ นค่าสินไหมทดแทนจากการประกันภัยให้ ได้ รับยกเว้ นภาษี เงินได้ กำหนดให้ มีการขยายเวลาการยื่นแบบแสดงราย ั ่ ู การภาษี เงินได้ หก ณ ที่จาย ภาษี มลค่าเพิ่ม ภาษี ธรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป ที่จะต้ องยื่นในเดือนตุลาคม ถึงพฤศจิกายน ุ ์ โดยให้ นำไปยื่นภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 จัดทำโดย พิริยะ ผลพิรุฬห์ 75<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 2. การปฏิรูปภาคธุรกิจและการเงิน วัตถุประสงค์ มาตรการปฏิรูปที่ได้ ดำเนินการ ก. การทำให้ สถาบันการเงินสามารถ ่ ่ มาตรการทีได้ ดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ แบ่งปั นข้ อมูลด้ านเครดิตร่วมกันได้ • ระบบคะแนนเครดิตแห่ งชาติถกนำมาใช้ บริ ษัทข้ อมูลเครดิตแห่งชาติได้ นำระบบคะแนนเครดิตด้ านการค้ าและการบริ โภคมาใช้ ู ั ้ ในปี 2554 ปั จจุบนทังลูกค้ าบริ ษัทและลูกค้ าบุคคลสามารถร้ องขอรายงานความลับทางเครดิตจากช่องทางอื่นเพิ่มขึ ้นรวมถึงเครื่ อง ATM ด้ วย ่ มาตรการทีจะนำมาใช้ แต่ ถกเลื่อนออกไป ู • แผนงานของรั ฐบาลสำหรั บการเสนอข้ อมูลเครดิตโดยบริษัทประกันจะถูกนำมาพิจารณาอีกครั งเมื่อเวลาเหมาะสม การ ้ ั ้ ตัดสินใจร้ องขอให้ แสดงรายงานข้ อมูลของลูกค้ าของบริ ษัทประกันต่อบริ ษัทข้ อมูลเครดิตแห่งชาติยงไม่ได้ ถูกพิจารณาในขันตอน สุดท้ าย ่ ่ มาตรการทีได้ ดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ ข. การกำหนดและการดำเนินกลยุทธ์ • ตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทยได้ เพิ่มความแข็งแกร่ งในตลาดอินโดจีน ตลท.ได้ เซ็นบันทึกช่วยจำ (MOU)ในเดือนตุลาคม ในระยะกลางสำหรับภาคการเงิน ั 2553 กับตลาดหลักทรัพย์ลาว (LSX) เพื่อสร้ างความแข็งแกร่งให้ กบตลาดทุนในภูมิภาคอินโดจีน โดยขยายบันทึกช่วยจำออกไปอีก ของไทย ้ 2 ปี จากที่เซ็นครังแรกเมื่อ 7 กรกฎาคม 2552 ภายใต้ MOU ฉบับใหม่ ตลท.จะช่วยฝึ กบุคลากรของ LSX และจัดหลักสูตรนักลงทุนมือ ั อาชีพที่ทนสมัยสำหรับนักค้ าหลักทรัพย์มืออาชีพ • ตลาดหุ้นไทยสามารถที่จะเสนอสินค้ าและบริการที่หลากหลาย ตลาดหลักทรัพย์ไทยเซ็นข้ อตกลงความร่วมมือฉบับใหม่กบ ั ่ ่ กลุม NASDAQ OMX เพื่อสนับสนุนระบบซื ้อขายและเคลียร์ ริ่งของ TFEX ต่อไปอีก 5 ปี NASDAQ OMX จะสนับสนุน TFEX ซึงจะมี ั การเปิ ดซื ้อขายในช่วงเวลากลางคืนและจัดหาสินค้ าโภคภัณฑ์และบริ การที่หลากหลายให้ กบนักลงทุน ่ ค. การเปลียนจากการคุ้มครองเงินฝาก ่ มาตรการทีจะนำมาใช้ แต่ ถกเลื่อนออกไป ู ั เต็มจำนวนในปั จจุบน เป็ นการ ้ • การให้ ความคุ้มครองเงินฝากแก่ ผ้ ูฝากเงินแบบเต็มจำนวนถูกขยายเวลาออกไปจนถึงเดือนสิงหาคม 2554 จากนันความคุ้ม คุ้มครองเงินฝากแบบจำกัดวงเงิน ่ ้ ครองเงินฝากจะถูกจำกัดอยูที่ 50 ล้ านบาทต่อคนต่อสถาบันการเงินตังแต่ 11 สิงหาคม 2554 และจะถูกลดต่อไปเหลือ 1 ล้ านบาทในวันที่ 12 สิงหาคม 2555 ง. การแก้ ไขอุปสรรคด้ านกฎหมายและ ่ ่ มาตรการทีได้ ดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ สร้ างภาวะแวดล้ อมที่เอื ้ออำนวย • หน่ วยงานของรั ฐอนุญาตให้ ใช้ เงินตราต่ างประเทศเป็ นหลักประกันของตราสารอนุพนธ์ คณะกรรมการกำกับตลาดทุนและ ั ธนาคารแห่งประเทศไทยอนุญาตให้ บริ ษัท สำนักหักบัญชี (ประเทศไทย) จำกัด รับเงินดอลลาร์ สหรัฐและเงินยูโรเพื่อเป็ นหลักประกันใน การซื ้อขายตราสารอนุพนธ์กบ TFEX มาตรการนี ้ทำให้ นกลงทุนต่างชาติสามารถบริ หารหลักประกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่ม ั ั ั ่ ความยืดหยุนในการซื ้อขาย วัตถุประสงค์ มาตรการปฏิรูปที่ได้ ดำเนินการ • ตลาดหลักทรั พย์ อาเซียนทัง 4 แห่ งประสบความสำเร็จในการศึกษาออกแบบเทคโนโลยีสำหรั บเชื่อมโยงการซือขายระหว่ างกัน ้ ้ ทัง้ 4 ตลาดประกอบด้ วย Bursa Malaysia (BM), The Philippine Stock Exchange, Inc.(PSE), Singapore Exchange (SGX),และ SET ่ ประสบความสำเร็จในการศึกษาออกแบบเครื อข่ายเทคโนโลยีสำหรับเชื่อมโยงการซื ้อขายในอาเซียน ระบบเชื่อมโยงการซื ้อขายมุงไปที่ตลาด ้ ่ ทังสีโดยมีการเชื่อมต่อกันแบบอีเล็คทรอนิกส์ และสามารถส่งผ่านคำสังซื ้อขายระหว่างกันได้ ่ • กลต.แก้ ไขกฎระเบียบของการทำสัญญา reverse repurchase agreements “Reverse Repo” ที่ทำโดยกองทุนส่ วนบุคคลและกอง ่ ทุนรวม ให้ เหมาะสมซึงจะทำให้ กองทุนสามารถหาผลตอบแทนในการดำเนินงานเพิ่มขึ ้นและช่วยสนับสนุนนโยบายของธนาคารแห่งประเทศ ั ไทยและสมาคมตลาดตราสารหนี ้ไทยในการเพิ่มสภาพคล่องให้ กบตลาดตราสารหนี ้ไทย • ความร่ วมมือแบบทวิภาคีกับญี่ปุ่น ตลาดหลักทรัพย์ MAI ได้ เซ็น MOU กับ Tokyo AIM Inc. เพื่อแสวงหาโอกาสสำหรับความร่วมมืออย่าง ่ ุ ใกล้ ชิดซึงจะช่วยให้ ธรกิจมีการเติบโตโดยใช้ ตลาดทุนอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ ้น ัิ • กฎระเบียบในธุรกิจประกันภัยได้ รับการอนุมัตในหลักการ คณะรัฐมนตรี อนุมตในหลักการของร่างกฎระเบียบประกันชีวิตและประกัน ิ ู วินาศภัยเพื่อใช้ ในการพิสจน์โครงสร้ างผู้ถือหุ้น การบริ หารจัดการกองทุนและการแก้ ปัญหากองทุน ้ • จัดตังสถาบันการเงินชุมชนรายย่ อย ธนาคารไปรษณีย์ คณะรัฐมนตรี เห็นชอบในหลักการกับแผนจัดตังธนาคารไปรษณีย์ ที่จะทำงานให้ ้ ่ ึ ู ้ กับธุรกิจรายย่อยซึงเป็ นประชาชนที่เข้ าไม่ถงแหล่งเงินกู้ และผู้ที่ถกปฏิเสธจากแหล่งเงินอื่นๆ ธนาคารไปรษณีย์จะถูกตังขึ ้นโดยบริ ษัท ุ ไปรษณีย์ไทย จำกัด โดยเริ่ มให้ มี 10 สาขานำร่องและมีทนจดทะเบียนเริ่ มต้ น 50 ล้ านบาท มาตรการที ่จะถูกนำมาใช้ ในอีก 6 ถึง 12 เดือนข้ างหน้ า • การประเมินประวัตความเสี่ยงของนักลงทุน จะเริ่ มกลางปี 2554 กลต.บังคับให้ บริ ษัทจัดการด้ านการลงทุนและตัวแทนขาย ประเมิน ิ ิ ่ ่ ประวัตความเสียงของผู้ลงทุนก่อนที่จะอนุญาตให้ ลงทุนในกองทุนรวมยกเว้ นกองทุนตลาดเงินในประเทศซึงถูกจัดให้ มีความเสียงต่ำ มาตรการ ่ ่ นี ้ทำให้ เกิดความมันใจได้ ว่าผู้ลงทุนจะทราบถึงความเสี่ยงที่ตนเองยอมรับได้ และทำให้ มีการตัดสินใจในการลงทุนที่ดีเหมาะสมกับประวัติ ่ ความเสียงของตนเอง 76<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 จ. การพัฒนาตลาดการเงินใน ่ ่ มาตรการทีได้ ดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ ่ ประเทศ ซึงรวมถึง ตลาด • การเพิ่มหมวดธุรกิจเหล็กขึนมาภายใต้ กลุ่มอุตสาหกรรม ตลท.ได้ สร้ างหมวดธุรกิจเหล็กขึ ้นมาโดยอยูภายใต้ กลุมอุตสาหกรรมเพื่อแสดง ้ ่ ่ ตราสารหนี ้ตลาดทุน และ ั ู ถึงความสำคัญของบริ ษัทจดทะเบียนในธุรกิจเหล็กและทำให้ นกลงทุนสามารถเปรี ยบเทียบข้ อมูลได้ ดียิ่งขึ ้น บริ ษัทจดทะเบียนทัง้ 27 แห่งที่ถก ตลาดเงิน จัดให้ อยูในหมวดธุรกิจเหล็กใหม่นี ้จะประกอบไปด้ วย 16 บริ ษัทจากหมวดธุรกิจอุตสาหกรรมกับอีก 11 บริ ษัทจากหมวดธุรกิจก่อสร้ าง ่ ่ • เพิ่มบทบาทของบริษัทหลักทรั พย์ ต่างชาติ ตลท.อนุญาตให้ บริ ษัทหลักทรัพย์ตางชาติให้ คำแนะนำด้ านการลงทุนในผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ั ่ ของไทยและต่างประเทศให้ กบนักลงทุนสถาบันของไทยได้ ในอดีตบริ ษัทหลักทรัพย์ตางชาติได้ รับอนุญาตให้ คำแนะนำด้ านผลิตภัณฑ์ทาง ่ ้ การเงินในต่างประเทศต่อนักลงทุนสถาบันของไทยภายใต้ เงื่อนไขที่วาคำแนะนำนันต้ องใช้ สำหรับลงทุนในต่างประเทศ จัดทำโดย พิริยะ ผลพิรุฬห์ 77<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 วัตถุประสงค์ มาตรการปฏิรูปที่ได้ ดำเนินการ • ่ ั เพิ่มทางเลือกมากขึนให้ แก่ เงินของลูกค้ าในการใช้ บริการคัสโตเดียน นอกเหนือจากเงินฝากที่มีอยูกบธนาคารพาณิชย์และสำนักหัก ้ ั ั บัญชีตราสารอนุพนธ์ ตลท.อนุญาตให้ บริ ษัทหลักทรัพย์และตัวแทนขายตราสารอนุพนธ์สามารถฝากเงินประกันของลูกค้ าในสถาบันการเงินที่มี ่ ่ ่ ้ ความเสียงต่ำหรื อไม่มีความเสียงเลยและมีสภาพคล่องสูง หลักประกันเหล่านี ้รวมถึงตราสารหนี ้ซึงทังเงินต้ นและดอกเบี ้ยได้ รับการประกันเต็ม ๋ ๋ จำนวนโดยกระทรวงการคลัง พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ตัวสัญญาใช้ เงิน และตัวแลกเงินที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์และหน่วยลงทุน ของกองทุนตลาดเงินที่ลงทุนในประเทศโดยเฉพาะ • การทดสอบคุณสมบัตและความเหมาะสมสำหรั บบุคลากรของตลาดทุน ตลท.ทบทวนกฎระเบียบของคุณลักษณะข้ อห้ ามของบุคลากร ิ ตลาดทุนให้ เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ของกรรมการและผู้บริ หารของผู้ออกหลักทรัพย์และบริ ษัทจดทะเบียน • จัดให้ มีการออกผลิตภัณฑ์ มากขึนใน SET และ TFEX เพื่อสนับสนุนแผนงานหลักในการพัฒนาตลาดทุน (1) TFEX ้ ออกสัญญาซื ้อขายล่วงหน้ ามูลค่า 1 ล้ านบาทที่อ้างอิงพันธบัตรรัฐบาลอายุ 5 ปี TFEX ร่วมมือกับสมาคมตลาดตราสารหนี ้ไทยที่จะแลก ่ ั เปลียนข้ อมูลของกฎระเบียบการซื ้อขายและให้ การสนับสนุนด้ านข้ อมูลได้ แก่ ผลตอบแทนอ้ างอิงให้ กบนักลงทุน (2) TFEX ได้ ออกสัญญาซื ้อ ้ ขายล่วงหน้ าอ้ างอิงอัตราดอกเบี ้ยระยะสันใหม่อีก 2 ชนิดได้ แก่ 3 เดือน BIBOR Futures และ 6 เดือน THBFIX Futures นอกเหนือจากสัญญา ั้ ู ซื ้อขายล่วงหน้ าอ้ างอิงพันธบัตรรัฐบาลอายุ 5 ปี สัญญาซื ้อขายล่วงหน้ าใหม่ทงสองมีมลค่า 10 ล้ านบาทต่อสัญญาและมีการชำระราคาเป็ น ่ ่ เงินสด (3) ตลท.อนุญาตให้ หลักทรัพย์ที่อยูในดัชนี SET100 ทำ Short Sale ได้ ในขณะที่หลักทรัพย์ที่อยูในดัชนี SET 50 หน่วย ETFและกองทุน ่ ETF-Linked ก็สามารถที่จะทำ Short Sale ได้ ด้วย มาตรการนี ้เป็ นเครื่ องมือในการบริ หารความเสียงสำหรับนักลงทุน • ัิ การบริการและผลิตภัณฑ์ พร้ อมที่ออกมามากขึนภายใต้ แผนการพัฒนาตลาดทุน (1) คณะรัฐมนตรี อนุมตให้ รวมแร่เงินและแพลททินม ้ ั ิ ิ ั เข้ าไว้ ในรายการของ กลต. โดยมีสนค้ า14 ประเภทและตัวแปรภายใต้ พระราชบัญญัตสญญาซื ้อขายล่วงหน้ าปี 2546 (2) คณะกรรมการของ ัิ กลต.ได้ อนุมตในหลักการที่จะจัดตังกองทุน Carbon Credit เพื่อที่จะสนับสนุนการพัฒนาโครงการลดการปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกโดยกลไก ้ ุ พัฒนาความสะอาด ( CDM ) (3) TFEX จะเริ่ มซื ้อขายสัญญา Silver Futures ในเดือนมิถนายน ปี 2554 (4) TFEX วางแผนที่จะขยายชัวโมง ่ ่ ุ การซื ้อขายทองคำ และ Silver Futures ออกไปจนกระทัง 22.30 น. เริ่ มจากเดือนมิถนายน 2554 (5) คณะกรรมการของ กลต. ัิ อนุมตการจดทะเบียนของ ETF ต่างประเทศใน SET เพื่อให้ เหมาะสมกับการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ETF จะต้ องไม่มีลกษณะอะไรที่ซบั ั ่ ่ ซ้ อนและนโยบายการลงทุนต้ องเป็ นไปตามดัชนีหลักทรัพย์ที่ยอมรับกันทัวไป ( หรื อดัชนีราคา ) ดังเช่นสินค้ าที่อยูในตะกร้ าของหลักทรัพย์ น้ ำมันดิบ ทองคำหรื อสินค้ าโภคภัณฑ์ (6) คณะกรรมการ กลต.อนุมตในหลักการให้ จดตังกองทุนสาธารณูปโภค กองทุนเหล่านี ้จะถูกแบ่ง ัิ ั ้ ่ ัิ ั ้ เป็ นหลายกองเพื่อบริ การตามความเสียงที่ยอมรับได้ (7) คณะกรรมการ กลต.อนุมตในหลักการให้ จดตังกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริ ม ทรัพย์ (REITs) เพื่อเป็ นทางเลือกของการลงทุนในตลาดอสังหาริ มทรัพย์และ (8) คณะกรรมการ กลต.อนุมติ ในหลักการที่จะปรับปรุงแก้ ไข ั กฎระเบียบการออกและเสนอขายตราสารหนี ้ภายใต้ โครงการแปลงสินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ (Securitization) การแก้ ไขอนุญาตให้ รัฐบาลต่าง ประเทศเป็ นผู้ออกตราสารหนี ้ในรูปของเงินบาทและเงินตราต่างประเทศภายใต้ โครงการ Securitization และอนุญาตให้ การออกสามารถถูกจัด อันดับโดยสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือต่างประเทศได้ วัตถุประสงค์ มาตรการปฏิรูปที่ได้ ดำเนินการ ฉ. ความพยายามของ ่ ่ มาตรการทีได้ ดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ รัฐบาลในการส่งเสริ มความ ั ่ • ตลาดหลักทรั พย์ ส่งเสริมบริษัทจดทะเบียนให้ มีบรรษัทภิบาล ตลท.ได้ จดเตรี ยมคูมือสำหรับเปิ ดเผยข้ อมูลด้ วยระบบการ โปร่งใส และการกำกับดูแล ั ติดตามที่สอดคล้ องกัน ในกรณีของเหตุการณ์ไม่ปกติ ตลท.จะร่วมมือกับ กลต.ในการสืบสวน โดยมีแนวทางที่ชดเจนของกฎ กิจการที่ดี ่ ระเบียบซึงนำไปบังคับใช้ • กฎระเบียบของการเสนอขายหลักทรั พย์ ให้ กับประชาชนขึนอยู่กับการเปิ ดเผยข้ อมูล ตลท.กำหนดให้ มีการแก้ ไขกฎ ้ ต่างๆในการอนุมตให้ มีการออกหลักทรัพย์สำหรับเสนอขายให้ ประชาชนทัวไปเมื่อ 1 มกราคม 2554 การแก้ ไขรวมถึง (1) การเปิ ด ัิ ่ เผยข้ อมูลอย่างเพียงพอและเชื่อถือได้ (2) บทบาทความเป็ นมืออาชีพและคนกลางที่มีความรับผิดชอบ (3) สนับสนุนบทบาทของ นักลงทุนในการติดตามการเปิ ดเผยข้ อมูลก่อนที่จะทำการตัดสินใจลงทุน ่ มาตรการทีจะถูกนำมาใช้ ในอีก 6 ถึง 12 เดือนข้ างหน้ า • บริษัทจดทะเบียนจะจัดเตรี ยมขันตอนตามแบบมาตรฐานรายงานทางการเงินระหว่ างประเทศ (IFRs) บริ ษัทใน SET ้ ่ ุ 50 ซึงมีขนาดทุนใหญ่ที่สดในตลาดหลักทรัพย์จะเริ่ มนำมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ IFRs มาใช้ ในรายงานทางการเงิน ้ ตังแต่ไตรมาสแรกของปี 2554 ตามด้ วยบริ ษัทใน SET 100 ในปี 2556 และก่อนปี 2558 IFRs จะถูกบังคับใช้ กบทุกบริ ษัทที่อยูใน ั ่ ตลาด SET และ ตลาด MAI • บริ ษัทหลั กทรั พย์ และนายหน้ าค้ าตราสารอนุ พันธ์ จะจัดเตรี ยมรายงานตามแบบมาตรฐานรายงานทางการเงิน ระหว่ างประเทศ IFRs และมาตรฐานการบัญชีระหว่ างประเทศ (IAS) คณะกรรมการจัดทำมาตรฐานบัญชีอยูในขันตอน ่ ้ ของการปรับปรุงแก้ ไขมาตรฐานการบัญชีของไทยในปั จจุบนและมาตรฐานของรายงานทางการเงินให้ เป็ นไปตามมาตรฐานราย ั ู งานทางการเงินระหว่างประเทศ (IFRS) และมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IAS) มาตรฐานที่ถกแก้ ไขและทำขึ ้นมาใหม่ ่ ั จะกระทบกับระบบการทำบัญชีของผู้ดำเนินการด้ านหลักทรัพย์ด้วยความเข้ มข้ นที่ตางกันและคาดว่าจะเริ่ มมีบงคับใช้ ทีละน้ อย จากปี 2554 เป็ นต้ นไป 78<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 จัดทำโดย รัชฏา อนันตวราศิลป์ 3. การปฏิรูปเพื่อปรั บปรุ งสภาพแวดล้ อมทางธุรกิจ การลงทุนและทางการค้ า 79<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 วัตถุประสงค์ มาตรการปฏิรูปที่นำมาใช้ ก. ปรับปรุงขีดความสามารถ ่ ่ มาตรการทีได้ ดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ ของภาคธุรกิจ • การทำโครงการพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้ อมูลการเริ่มต้ นธุรกิจแห่ งชาติ ณ จุดเดียวกัน เมื่อเดือนตุลาคม 2553 กรมพัฒนาธุรกิจ ่ ่ ั ซึงอยูภายใต้ กระทรวงพาณิชย์ได้ จดทำโครงการพัฒนาระบบเชื่อมโยงการเริ่ มต้ นธุรกิจแห่งชาติ ณ จุดเดียวกัน เป็ นการบริ การเพื่อลด ัิ ่ เวลาของการปฏิบตการเฉลียสำหรับการจดทะเบียนธุรกิจจาก 4 วันเหลือเพียง 90 นาที เวลาในการคอยสำหรับเจ้ าของธุรกิจถูกลดลงจาก ่ ่ 32 วันเหลือ 7 วันกับ 4 ชัวโมง การบริ การมุงที่จะลดเวลาต่อไปโดยในปี 2554 จะให้ เหลือเพียง 2 วัน • ร่ างบันทึกความเข้ าใจสำหรั บก่ อสร้ างรถไฟความเร็วสูงเส้ นทางจากกรุ งเทพไปจังหวัดหนองคายได้ รับการอนุมัติ รถไฟความเร็ ว สูงจะเชื่อมต่อจากไทยไปปั กกิ่งผ่านเวียงจันทร์ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวก่อนปี 2558 โครงการนี ้เป็ นความคาดหวัง ของ AEC ซึงควร่ จะช่วยลดต้ นทุนการขนส่งสินค้ าและเพิ่มการท่องเที่ยวในภูมิภาค มีการเสนอให้ ขยายเส้ นทางลงไปภาคใต้ ไปยังมาเลเซียและสิงคโปร์ • จัดตังกองทุนเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ กองทุนได้ รับความสนับสนุนด้ านการเงินจากธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้ า ธนาคารออมสิน ้ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ธนาคารอิสลาม และบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม โดยก่อตังขึ ้นเมื่อเดือน ้ ่ พฤศจิกายน 2553 ตามความร่วมมือของภาครัฐและเอกชนเพื่อนำเสนอนวัตกรรม งานฝี มือและการออกแบบให้ อยูภายในระบบเศรษฐกิจ ่ ิ กองทุนจะลงทุนหลักในบริ ษัทซึงมีทรัพย์สนทางปั ญญาในการดำเนินธุรกิจ การผลิตและการบริ การของตัวเองในช่วงระยะเวลา 7 ปี • พัฒนาการท่ องเที่ยวสำหรั บ 8 กลุ่ม (2555 – 2557) กองทุนมูลค่า 6,650 ล้ านบาทจะถูกใช้ จายในการฟื นฟู 8 กลุมภูมิภาค ่ ้ ่ ่ ั้ ทัวประเทศโดย การพัฒนาสาธารณูปโภค อบรมบุคลากรและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสถานที่ตงทางประวัตศาสตร์ ิ ้ • ความเป็ นหุ้นส่ วนเชิงสร้ างสรรค์ ระหว่ างไทยกับสหรั ฐ ความเป็ นหุ้นส่วนจะนำเสนอความร่วมมือทังภาคเอกชนและภาครัฐบาลใน ่ 7 ส่วนด้ วยกันคือ เทคโนโลยีสารสนเทศ การออกแบบ ศิลปะและแอนิเมชัน/โสตทัศน์ พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีเพื่อสิงแวดล้ อม ่ สุขภาพ อาหารและเทคโนโลยีการเกษตรและภาคการเงิน คาดว่าความเป็ นหุ้นส่วนนี ้จะนำเสนอโอกาสทางธุรกิจผ่านทางกิจการร่วมค้ า กระบวนการพาณิ ช ยกรรมและการตลาดของสิน ค้ า ไทยในตลาดสหรั ฐ อเมริ ก าและสร้ างขี ด ความสามารถของทรั พ ยากรมนุษ ย์ ใ น อุตสาหกรรมสร้ างสรรค์ • คณะกรรมการส่ งเสริมการลงทุนจัดเตรี ยมมาตรการเพิ่มเติมเพื่อที่จะสนับสนุนการลงทุนภายในประเทศต่ อไป (i) ผู้ซงได้ รับผล ึ่ ิ ุ กระทบจากน้ ำท่วมจะได้ รับการยกเว้ นภาษี นำเข้ าเครื่ องจักรจนถึงเดือนธันวาคม 2554 (ii) การยกเว้ นภาษี เงินได้ นิตบคคลตังแต่ 5 ้ ถึง 7 ปี สำหรับผู้ซงลงทุนในบริ การด้ านสุขภาพรวมถึงการฟื นฟูสมรรถภาพการบริ การทางการแพทย์เฉพาะทาง (โรคหัวใจ มะเร็ ง ึ่ ้ ิ ุ ศูนย์โรคภูมิแพ้ ) และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (iii) บรรเทาผลกระทบของเงินบาทแข็งด้ วยการยกเว้ นภาษี เงินได้ นิตบคคลจนถึง 70% ของมูลค่าการลงทุนในเครื่ องจักรทดแทน (iv) จูงใจสำหรับธุรกิจ SME โดยการเพิ่มเพดานการลงทุนต่อคำขอจาก 20 ล้ านบาทเป็ น 80 ล้ านบาท ่ • จูงใจด้ านภาษีไห้ กับบริษัทข้ ามชาติในการตังศูนย์ จดซือจัดจ้ างระหว่ างประเทศ ( IPCs) ในประเทศไทย ซึงเป็ นส่วนหนึง ้ ั ้ ่ ้ ของความพยายาม ที่จะให้ มีการจัดตังสำนักงานใหญ่ประจำภูมิภาคในประเทศไทย บริ ษัทเหล่านี ้จะได้ สทธิอตราภาษี เงินได้ นิตบคคล ิ ั ิ ุ เพียง 15% เป็ นระยะเวลา 5 รอบ บัญชีสำหรับรายได้ จากการขายสินค้ าไทยไปยังโรงงานผลิตในต่างประเทศ การเปลียนแปลงนี ้จะ ่ ่ ั ิ ุ นำไปสูอตราภาษี นิตบคคลที่แข่งขันได้ ในสังคมธุรกิจในภูมิภาคอาเซียน • เพิ่มเงินช่ วยเหลือให้ กับแรงงานต่ างชาติไร้ ฝีมือ นโยบายนี ้ช่วยแก้ ปัญหาการขาดแคลนแรงงานระยะสันในภาคการผลิตโดยอนุญาตให้ ้ บริ ษัทมีแรงงานต่างชาติได้ จนถึง 15% ของกำลังแรงงานทังหมด ้ วัตถุประสงค์ มาตรการปฏิรูปที่นำมาใช้ • การยกเว้ นภาษีสำหรั บรายได้ ท่ เกี่ยวข้ องกับคาร์ บอนเครดิต ี ความพยายามที่ใช้ พลังงานสะอาดและลดการปล่อยก๊ าซเรื อน ้ กระจกทังหมดการยกเว้ นภาษี คาร์ บอนเครดิตจะมีผลบังคับใช้ เป็ นเวลา 3 ปี นับจากวันที่โครงการสีเขียวได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริ หารกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM) และเมื่อองค์การบริ หารจัดการก๊ าซเรื อนกระจกของไทย (TGO) ออกใบซื ้อขายการลดการปลด ั ปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกให้ กบผู้ดำเนินการโครงการ • สนับสนุนให้ มีการถ่ ายทำภาพยนตร์ ในประเทศไทย โดยความร่วมมือกับกระทรวงการท่องเที่ยว ค่าธรรมเนียมการถ่ายทำภาพยนตร์ ใน ู ่ บริ เวณที่ถกจำกัดทัวประเทศไทยจะได้ รับการยกเว้ นโดยกรมสรรพากรจนถึงเดือนธันวาคม 2554 ่ ่ ข. การปฏิรูประบอบทางกฎหมาย มาตรการทีได้ ดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ และการพิจารณาคดี ัิ ั • ผ่ านการแก้ ไขกฎบัตรหมวดที่ 190 ส่วนที่ไม่ได้ แก้ ไขของหมวดที่ 190 จะต้ องได้ รับการอนุมตจากรัฐสภาสำหรับสนธิสญญาที่เกี่ยวกับ ้ ้ ต่างประเทศทังหมดรวมทังเรื่ องเขตแดน การค้ า การลงทุนและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ู ่ ่ ส่วนที่ถกแก้ ไขซึงได้ ผานรัฐสภา ้ ั ่ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 นันจะต้ องมีกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญเพื่อระบุประเภทของสนธิสญญาซึงต้ องการความเห็นชอบจากรัฐสภา การ ่ แก้ ไขนี ้ทำให้ การเจรจาการค้ าเสรี มีความยืดหยุนมากขึ ้น • ทบทวนกฎระเบียบการเป็ นเจ้าของธุรกิจภาคบริการโลจิสติกส์ ของชาวต่างชาติร่างกฎหมายใหม่ของธุรกิจบริการโลจิสติกส์มงเน้ นเรื่องความเป็ นเจ้ า ุ่ ่ ของและข้ อจำกัดทางโครงสร้ างการบริ หารเพื่อการเตรี ยมตัวไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 ประเทศไทยได้ เพิ่มเพดานในส่วน ่ ้ ของผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติในธุรกิจบริ การโลจิสติกส์จาก 49% เป็ น 51% เมื่อเดือนมกราคม 2554 ซึงเป็ นไปตามเปาหมายของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนที่กำหนดให้ เพดานความเป็ นเจ้ าของของชาวต่างชาติเป็ น 100% ก่อนปี 2558 กฎระเบียบที่ได้ รับการแก้ ไขจะทำให้ มีศกยภาพมากขึ ้น ั ้ ู สำหรับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ รวมทังด้ านการส่งผ่านเทคโนโลยีและการแข่งขันที่สงขึ ้นจากบริ ษัทต่างชาติที่เข้ ามาในภาคธุรกิจนี ้ ค. ปรับปรุงความชำนาญและ ่ ่ มาตรการทีได้ ดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมาและนัยสำคัญ คุณภาพของแรงงาน • ประกาศโครงการ “ 1 จังหวัด 1 มหาวิทยาลัย” จะมีการสร้ างอย่างน้ อย 1 มหาวิทยาลัยในแต่ละจังหวัด รัฐบาลหวังว่าการเข้ าเรี ยนในระดับสูงขึ ้นจะ 80<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ้ ทำได้ ง่ายขึนจะมีการสร้ างสภาพแวดล้ อมทางการศึกษาท้ องถิ่นด้ วยการเชื่อมโยงกับชุมชนและพัฒนาบริ การทางการศึกษาสำหรับการพัฒนา จังหวัด ่ • สร้ างศูนย์ กลางการเรี ยนประจำตำบล ศูนย์นี ้มุงที่จะสนับสนุนการศึกษานอกระบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตภายในชุมชนรากหญ้ าด้ วยบริ การ ่ อินเทอร์ เน็ตซึงสามารถเข้ าถึงได้ อย่างกว้ างขวางและกิจกรรมการเรี ยนสำหรับการพัฒนาชุมชน • สร้ างการศึกษาเชิงสร้ างสรรค์ ผ่านมหาวิทยาลัยท้ องถิ่น มี 7 มหาวิทยาลัยทัวประเทศถูกคัดเลือกให้ จดโปรแกรมการฝึ กใน 10 องค์ความรู้เกี่ยวกับ ่ ั ์ เศรษฐกิจเชิงสร้ างสรรค์ รวมถึง ศิลปะการแสดง ยาแผนโบราณ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ทัศนศิลป งานฝี มือ วิชาการก่อสร้ าง อุตสาหกรรม ู การเกษตรและการพัฒนาซอฟแวร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ รายชื่อของมหาวิทยาลัยที่ถกคัดเลือกได้ แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล รังสิต เชียงใหม่ ศิลปากร ธรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ กรุงเทพและศรี ปทุม 81<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 วัตถุประสงค์ มาตรการปฏิรูปที่นำมาใช้ ุ ง. ลดภาษี ศลกากรเพื่อพัฒนาขีด ่ ่ มาตรการทีได้ ดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ ความสามารถในการแข่งขัน • สร้ างเขตเศรษฐกิจพิเศษในอำเภอแม่ สอดและจังหวัดตากการค้ าตามแนวชายแดนระหว่างแม่สอดของไทยกับเมียวดีของพม่าได้ ฟืนตัวอย่างมีนย้ ั ของประเทศไทย ่ สำคัญตามการผ่อนคลายมาตรการควบคุมชายแดนของพม่าซึงถูกยกเลิกในเดือนมกราคม 2554 หลังจากที่ปิดชายแดนไปตังแต่เดือนสิงหาคม ้ ่ 2553 การเปลียนแปลงนี ้เป็ นความพยายามที่จะพัฒนาการค้ าตามแนวชายแดนและการพัฒนาเส้ นทางเศรษฐกิจจากตะวันออกไปตะวันตก นักลง ่ ทุนในเขตเศรษฐกิจจะได้ ประโยชน์จากสิงจูงใจจากการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรมศุลกากรและคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน เขต ู เศรษฐกิจได้ ถกกำหนดไว้ ให้ ปลอดภาษี และอนุญาตให้ ใช้ คนงานต่างชาติได้ • การลดภาษีศลกากรในการนำเข้ ารถอีโคคาร์ และชินส่ วน เริ่มตังแต่เดือนมกราคม2555ภาษีนำเข้ ารถทีตดตังเชื ้อเพลิงร่วมทีมกระบอกสูบตํากว่า ุ ้ ้ ่ ิ ้ ่ ี ่ ่ ่ 3,000 ซีซีจะถูกลดจาก 80 เหลือ 60 เปอร์ เซ็นต์ กฎนี ้จะขยายไปยังอะไหล่และชิ ้นส่วนของรถกลุมนี ้ซึงอาจจะนำเข้ ามาโดยปลอดภาษี • กฎระเบียบสำหรั บการผลิตเพื่อ re-export ู่ ถูกผ่ อนคลายลง กระทรวงการคลังทบทวนกฎข้ อบังคับเพื่ออนุญาตให้ ผ้ สงออกของไทย ชำระเงินค่าซื ้อสินค้ าภายในประเทศเพื่อ re-export ในรูปของเงินดอลลาร์ สหรัฐได้ เพื่อสร้ างสมดุลของเงินทุนไหลเข้ า จ. ส่งเสริ มการส่งออกของไทย ่ ่ มาตรการทีได้ ดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ ไปยังตลาดใหม่ • เขตการค้ าเสรี (i) การเจรจาระหว่างไทยกับญี่ปนเกี่ยวกับความตกลงเป็ นหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปน (JTEPA) จะถูกเลือนออกไปเนื่องจาก ุ่ ุ่ ่ ุ่ ั ่ ุ ผลของแผ่นดินไหวที่ญี่ปน จุดสำคัญของข้ อตกลงที่ยงค้ างอยูคือการลดภาษี ศลกากรสินค้ าเกษตรของไทยกับสินค้ าอุตสาหกรรมของญี่ปน วันที่ ุ่ เจรจาจะถูกกำหนดในภายหลังของปี นี (ii) การเปิ ดเสรี ทางการค้ าในสินค้ ามากกว่า 5,000 รายการระหว่าง 7 ประเทศสมาชิกของ BIMSTEC (ไทย, ้ ั อินเดีย, เมียนมาร์ , บังคลาเทศ, ศรี ลงกา, เนปาลและภูฎาน) คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ กลางปี 2555 (iii) ประเทศไทยกำลังหาทางแก้ ไขเขตการ ้ ค้ าเสรี ระหว่างไทย-ออสเตรเลียเพื่อผ่อนคลายอุปสรรคทางการค้ าของสินค้ าเกษตรไทยและผ่อนคลายขันตอนการจ้ างงานคนไทยในออสเตร ่ ้ เลีย (iv) การเจรจาเปิ ดเขตการค้ าเสรี ไทย-อินเดียถูกกำหนดให้ ได้ ข้อสรุปในปี 2554 ซึงจะไม่เป็ นเพียงแค่การกระตุ้นการขายสินค้ าเท่านันแต่ ้ รวมถึงการบริ การและการลงทุนด้ วย การเจรจาเน้ นไปที่การขยายผลของโครงการที่เริ่ มไปก่อนหน้ านี ้ตังแต่ปี 2547 จาก 82 สายผลิตภัณฑ์เป็ น ุ 5,244 สายผลิตภัณฑ์ คาดว่า FTA จะช่วยลดหรื อขจัดภาษี ศลกากรได้ ประมาณ 90% ของสินค้ าที่ซื ้อขายระหว่าง 2 ประเทศ ประเทศไทยมี ความสนใจเป็ นพิเศษในการขยายบริ การด้ านการก่อสร้ างไปยังอินเดียและเพิ่งได้ รับงานด้ านสาธารณูปโภคของรัฐจากรัฐบาลอินเดีย (v) การเจรจา FTA ระหว่างไทยกับอียเู ริ่ มขึ ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 ต่อมาการเจรจาล่าช้ าออกไปเพราะการคัดค้ านของไทยในการรวมสินค้ า ั ู ่ ิ แอลกอฮอล์เข้ าไปในสนธิสญญา อียได้ ไปเจรจา FTA ของภูมิภาคกับอาเซียนเมื่อไม่นานนี ้เพื่อสร้ างความมันใจด้ านความยุตธรรมกับประเทศคู่ ้ ่ ่ ค้ าทังหมด อย่างไรก็ตามประเทศไทยยังคงมุงมันที่จะให้ มีสนธิสญญาแบบทวิภาคีเพื่อล้ อมกรอบทางการค้ า การบริ การและการลงทุนอย่างเสรี ั ั้ (vi) FTA ระหว่างไทยกับเปรูเริ่ มมีผลบังคับใช้ ตงแต่เดือนพฤศจิกายน 2553 ไทยกับเปรูได้ เซ็น FTA ในเดือนพฤศจิกายน 2553 โดยมีการเปิ ดเสรี ประมาณ 70% ของสินค้ าที่ซื ้อขายกันระหว่าง 2 ประเทศ FTA นี ้ถูกใช้ เป็ นฐานของประเทศไทยในการเจาะตลาดละตินอเมริ กา ั้ ่ ่ • มีการเซ็น MOU ระหว่ างไทยกับชิลี โดยที่ทงสองประเทศให้ คำมันว่าจะแลกเปลียนข้ อมูลและพัฒนาความร่วมมือทางด้ านเอกชนให้ มากขึ ้น ่ • ศูนย์ กระจายสินค้ าของประเทศไทยด้ านอาหารไทยและสินค้ าอื่นๆถูกสร้ างขึนที่บาห์ เรนการสร้ างศูนย์กระจายสินค้ าจะเน้ นไปทีผลิตภัณฑ์ ้ อาหารและหวังให้ มีการค้ าระหว่างไทยกับตะวันออกกลางมากยิ่งขึ ้น จัดทำโดย Anthony Burgard 4. การปฏิรูประบบราชการและระบบธรรมาภิบาลภาครั ฐ8 วัตถุประสงค์ มาตรการปฏิรูปที่ได้ ดำเนินการ ก. การปรับปรุงคุณภาพงานบริ การสา ่ ่ มาตรการทีได้ดำเนิ นในช่วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ ธารณะโดยปรับกระบวนการและ ไม่มี ้ จัดรูปแบบขันตอนวิธีการทำงาน ใหม่ ข. เปลียนแปลงบทบาทความรับผิด ่ ่ ่ มาตรการทีได้ดำเนิ นในช่วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ ชอบและจัดขนาดระบบราชการให้ • คณะรั ฐมนตรี อนุมัตหลักการร่ างพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการรวมกลุ่มข้ าราชการพล ิ เหมาะสม โดยปรับโครงสร้ างการ เรื อนสามัญ ในวันที่ 28 ก.พ. 54 ตามที่สำนักงาน ก.พ. เสนอ สาระสำคัญของร่าง พรฎ. ประกอบไปด้ วย การกำหนดให้ บริ หารราชการแผ่นดินและพัฒนา ่ ้ ข้ าราชการมีเสรี ภาพในการรวมกลุมจัดตังเป็ นสหภาพข้ าราชการโดยแบ่งเป็ นข้ าราชการ 6 ประเภทเพื่อส่งเสริ มความ ปรับปรุงการติดต่อสัมพันธ์ระหว่าง ั สัมพันธ์ระหว่างสมาชิกกับผู้บงคับบัญชา ช่วยเหลือสมาชิกในการอุทธรณ์ ร้ องทุกข์ คุ้มครองสิทธิประโยชน์ของสมาชิกเกี่ยวกับ เจ้ าหน้ าที่ของราชการทุกระดับ สภาพการรับราชการ และรักษาผลประโยชน์ของทางราชการ ร่าง พรฎ. ได้ อ้างถึงรัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 64 ให้ ข้าราชการมีเสรี ่ ภาพในการรวมกันเป็ นสมาคม สหภาพ สหพันธ์ สหกรณ์ กลุมเกษตรกร องค์การเอกชน องค์การพัฒนาเอกชน หรื อหมูคณะอื่น ่ โดยร่างฯ ดังกล่าวจะส่งสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยให้ รับความเห็นของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ั เกี่ยวกับวันใช้ บงคับไปประกอบการพิจารณาด้ วย เพื่อการดำเนินการต่อไป ค. เพิ่มประสิทธิภาพในการ ่ ่ มาตรการทีได้ดำเนิ นในช่วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ ปฏิบตงานของหน่วยราชการโดย ัิ • คณะรั ฐมนตรี เห็นชอบการต่ ออายุสัญญาเงินกู้ วงเงิน 800 ล้ านบาท ของการรถไฟแห่ งประเทศไทย (รฟท.) ปรับปรุงด้ านงบประมาณและ จากธนาคารกรุ งไทย จำกัด (มหาชน) ต่ อไปนีอีก 1 ปี โดยให้ กระทรวงการคลัง เป็ นผู้ค้ำประกัน ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ ้ การเงินทบทวนระบบทดแทนและ และให้ การรถไฟแห่งประเทศไทยรับความเห็นของกระทรวงการคลังเกี่ยวกับการเร่งปรับปรุงโครงสร้ างองค์กร ดำเนินการเพิ่มราย การจัดสรรทรัพยากรบุคคล พัฒนา ได้ ควบคูกบการควบคุมและลดค่าใช้ จายลง ตามความเห็นของสำนักงบประมาณเกี่ยวกับการเร่งดำเนินการตามแผนการลงทุนด้ า ่ ั ่ ทัศนคติคานิยม และพฤติกรรม ่ นโครงสร้ างพื ้นฐานระยะเร่งด่วน พ.ศ. 2553 – 2557 และความเห็นของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม 82<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 การทำงาน แห่งชาติเกี่ยวกับการเร่งดำเนินการแผนการลงทุนด้ านโครงสร้ างพื ้นฐานไปพิจารณาดำเนินการโดยด่วนต่อไปด้ วย 8 การจัดแบ่งวัตถุประสงค์ของการปฏิรูประบบราชการและระบบธรรมาภิบาลภาครัฐเป็ นไปตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาภาครัฐ (2548-2550) และแผนการบริ หารภาครัฐล่าสุด วัตถุประสงค์ มาตรการปฏิรูปที่ได้ ดำเนินการ 83<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ่ มาตรการทีจะดำเนิ นการในอีก 6-12 เดือนข้างหน้า • คณะรัฐมนตรีมมติเห็นชอบร่ างพระราชบัญญัตการเงินการคลังในเดือนต.ค.2552ซึ่งปั จจุบนกำลังอยู่ระหว่ างการพิจารณาโดย ี ิ ั สำนักงานกฤษฎีกาก่ อนนำเข้ าพิจารณาอนุมัตเห็นชอบในสภา ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ 2550 บัญญัตให้ รัฐบาลร่าง ิ ิ ั กฎหมายการเงินการคลังเพื่อกำหนดกรอบวินยทางการเงินการคลังของประเทศ โดยร่างพ.ร.บ. มีสาระสำคัญครอบคลุมประเด็นต่างๆ ั ในกรอบวินยทางการคลัง ได้ แก่ กรอบการคลังระยะปานกลาง การจัดเก็บรายได้ ของรัฐ การจัดเตรี บมงบประมาณ การจัดบริ หารจัดการเงินคลัง และการรายงานการเงินการคลัง ง. ปรับปรุงระบบการบริ หารกิจ ่ มาตรการทีได้ดำเนิ นในช่วง 6 เดือนทีผ่านมา และนัยสำคัญ ่ การบ้ านเมืองที่ดีโดยการ • คณะรั ฐมนตรี รับทราบการแก้ ไขเพิ่มเติมร่ างพระราชบัญญัตประกอบรั ฐธรรมนูญรวม 3 ฉบับ ตามที่สำนักงานคณะกรรม ิ ่ ให้ มีสวนร่วม ความรับผิดชอบ ิ ้ การการเลือกตัง (กกต.) เสนอ ได้ แก่ (1) ร่างพระราชบัญญัตประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้ วยการเลือกตังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและ ้ และความโปร่งใส การได้ มาซึงสมาชิกวุฒิสภา (2) ร่างพระราชบัญญัตประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้ วยคณะกรรมการการเลือกตัง้ และ (3) ร่างพระราชบัญญัติ ่ ิ ่ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้ วยพรรคการเมือง ซึงได้ เสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรแล้ ว เสนอคณะรัฐมนตรี ทราบ โดยสาระสำคัญให้ ผ้ มีสทธิ ู ิ ้ ่ ออกเสียงเลือกตังหนึงคนมีสทธิออกเสียงเลือกตังได้ หนึงเสียง (One man one vote) เลือกส.ส.จำนวน 500 คน แบ่งเป็ น ส.ส.ระบบแบ่งเขต ิ ้ ่ 375 คน ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ร่างพรบ.ฯ ดังกล่าวได้ รับความเห็นชอบในหลักการจากสภาฯแล้ ว และกำลังรอเสนอเพื่อ ่ พิจารณาในวาระที่ 2 และ 3 ต่อไป ซึงคาดว่าจะมีผลบังคับใช้ ในช่วงเดือนพ.ค. 54 ก่อนการประกาศยุบสภา ิ ุ * จัดทำโดย ณัฐพร ตรี รัตน์ศริกล 5. การคุ้มครองทางสังคม วัตถุประสงค์ มาตรการปฏิรูปที่ได้ ดำเนินการ ก. พัฒนากลไกการประกันสังคมสำหรับ ่ ่ มาตรการทีดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมาและนัยสำคัญ ู ผู้สงอายุและผู้ได้ รับผลกระทบจาก • เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2554 คณะรั ฐมนตรี รับทราบเรื่ องการสร้ างหลักประกันด้ านรายได้ แก่ ผ้ ูสูงอายุท่ มีรายได้ ไม่ เพียง ี การว่างงานการบาดเจ็บจากการทำ ่ พอแก่ การยังชีพ ตามที่คณะกรรมการประสานงานและขับเคลือนการดำเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรี (ปคค.) รายงานผลการดำเนิน ่ งาน หรื อปั จจัยอื่น ๆ ที่สงผล ู การตามนโยบายรัฐบาล (การจ่ายเบี ้ยยังชีพผู้สงอายุ) กระทบต่อรายได้ • เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2554 คณะรั ฐมนตรี อนุมัตหลักการร่ างพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์ และอัตราการจ่ าย ิ เงินสมทบในการสร้ างระบบความคุ้มครองและหลักประกันทางสังคมให้ แก่ แรงงานนอกระบบ ตามที่กระทรวงแรงงานเสนอ ่ ้ แรงงานนอกระบบประมาณ 24 ล้ านคนไม่ได้ รับอยูในระบบประกันสังคม ทังนี ้ ร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และอัตราการ ่ จ่ายเงินสมทบ ประเภทของประโยชน์ของบุคคลซึงสมัครเป็ นผู้ประกันตน ข. สร้ างสิงแวดล้ อมการทำงานที่ปลอดภัย ่ ่ ่ มาตรการทีดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมาและนัยสำคัญ โดยกำหนดมาตรฐานและการควบคุม • เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2554 คณะรั ฐมนตรี เห็นชอบร่ างพระราชกฤษฎีกาจัดตังสถาบันคุณวุฒวชาชีพ (องค์ การมหาชน) ้ ิิ ตามกฎหมาย ตลอดจนเพิ่มประสิทธิ ั ้ ่ โดยมีวตถุประสงค์เพื่อจัดตังมาตรฐานของคุณวุฒิวิชาชีพในตลาดแรงงาน ซึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ ตรวจพิจารณาร่าง ภาพตลาดแรงงานด้ วยการอำนวย พระราชกฤษฎีกาแล้ ว โดยให้ คงองค์ประกอบของคณะกรรมการบริ หารสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพไว้ ตามเดิมและให้ ดำเนินการต่อไปได้ ความสะดวกในการจัดหางาน • เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2553 คณะรั ฐมนตรี เห็นชอบการขึนอัตราค่ าจ้ างขันตํ่า ประจำปี 2554 ตามที่กระทรวงแรงงานเสนอ ้ ้ โดยคณะรัฐมนตรี เห็นชอบประกาศคณะกรรมการค่าจ้ างเรื่ อง อัตราค่าจ้ างขันต่ำ โดยเพิ่มอัตราค่าจ้ างขันต่ำในปี 2554 โดยที่ภเู ก็ตได้ รับ ้ ้ อัตราสูงสุดที่ 221 บาทต่อวัน ส่วนพะเยาได้ รับอัตราต่ำสุดที่ 159 บาทต่อวัน ค. จัดทำโครงการช่วยเหลือทางสังคม ่ ่ มาตรการทีดำเนินการในช่ วง 6 เดือนทีผ่านมาและนัยสำคัญ และบรรเทาความยากจนที่มีประสิทธิ • เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2554 คณะรั ฐมนตรี เห็นชอบในการขยายความช่ วยเหลือของรั ฐบาลในการลดภาระ ภาพสำหรับผู้ที่ไม่สามารถเข้ าถึง ค่ าครองชีพ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ คณะรัฐมนตรี เห็นชอบในการขยายมาตรการของรัฐบาลในการช่วยลด 84<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 ความช่วยเหลือหรื อเข้ าถึงได้ ุ ้ ึ ภาระค่าครองชีพถึงเดือนมิถนายน 2554 มาตรการต่าง ๆ ประกอบด้ วย 1) ค่าไฟฟาฟรี สำหรับครัวเรื อนที่ใช้ ไฟไม่ถง 90 หน่วยต่อเดือน อย่างจำกัด ้ 2) การจัดรถโดยสารประจำทางธรรมดา จำนวน 800 คันต่อวัน ใน 73 เส้ นทางในกรุงเทพและปริ มณฑล 3) รถไฟชัน 3 จำนวน 164 ขบวนและรถไฟระยะทางไกลจำนวน 8 ขบวน • เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2554 คณะรั ฐมนตรี เห็นชอบในหลักการมาตรการให้ ความช่ วยเหลือเกษตรกรที่เป็ นลูกค้ าของธนา คารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) ตามที่ ธ.ก.ส. เสนอ คณะรัฐมนตรี เห็นชอบในหลักการมาตรการ ัิ ให้ ความช่วยเหลือเกษตรกรและอนุมตเงินงบประมาณเพื่อชดเชยดอกเบี ้ยเงินกู้ของเกษตรกรให้ แก่ ธ.ก.ส. และจัดสรรเงินงบประมาณ ให้ กรมส่งเสริ มสหกรณ์รับไปดำเนินการ 85<< รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย เมษายน 2554 วัตถุประสงค์ มาตรการปฏิรูปที่ได้ ดำเนินการ • เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2553 คณะรั ฐมนตรี อนุมัตงบประมาณแก่ เกษตรกรที่ประสบปั ญหาภัยแล้ ง คณะรัฐมนตรี ได้ มอบ ิ หมายให้ สำนักงบประมาณในการจัดสรรงบประมาณจำนวน 924 ล้ านบาทให้ แก่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เพื่อให้ ่ ั ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรเป็ นผู้จายเงินให้ กบเกษตรกรผู้ได้ รับความเสียหายจากภัยแล้ งโดยตรงต่อไป จัดทำโดย พิริยะ ผลพิรุฬห์