เอกสารของธนาคารโลก ใช้สาหรับเจ้าหน้าที่เท่านั้น รายงานเลขที่ 48799_TH ธนาคารเพื่อการบูรณะและพัฒนาระหว่างประเทศ ่ แผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือระยะสั้ นเพือการพัฒนา ของ ราชอาณาจักรไทย 20 ตุลาคม พ.ศ. 2553 หน่วยบริ หารงานกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ภาคพื้นเอเชียและแปซิ ฟิก ้ ั เอกสารนี้ถูกจากัดการเผยแพร่ ผูได้รับเอกสารสามารถใช้เอกสารเพื่อการปฏิบติงานในหน้าที่ แต่ไม่อนุญาตให้มีการ เปิ ดเผยเนื้อหาเนื้อหาในเอกสารฉบับนี้ หากไม่ได้รับความยินยอมจากธนาคารโลก แผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศ (Country Partnership Strategy) ของราชอาณาจักรไทยฉบับ ล่ า สุ ด (รายงานเลขที่ 25077-TH) ได้ถู ก น าเสนอเพื่ อ พิ จ ารณาในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ห ารของกลุ่ ม ธนาคารโลก เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2545 1 เปรียบเทียบสกุลเงิน (อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2553) สกุลเงิน = บาท (THB) 1 เหรี ยญสหรัฐ = 29.90 บาท ปี งบประมาณ: 1 ตุลาคม – 30 กันยายน อักษรย่ อและคาย่ อ AAA การวิเคราะห์และให้คาปรึ กษา (Analytical and Advisory LIC(s) ประเทศที่มีรายได้ต่า (Low Income Countries) Activities) MDG(s) เป้ าหมายการพัฒนาแห่ งสหัสวรรษ (Millennium ADB ธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank) Development Goal(s) ART การรักษาด้วยยาต้านไวรัส (Anti-Retroviral Treatment) MIC(s) ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง (Middle Income ASEAN สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ Countries) (Association of Southeast Asian Nations) MOF กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) ASEM การประชุมเอเชีย-ยุโรป (Asia-Europe Meeting) MOU(s) บันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding) BMA พื้นที่เขตกรุ งเทพมหานคร (Bangkok Metropolitan MRC คณะกรรมาธิการแม่น้ าโขง (Mekong River Area) Commission) BOP ดุลการชาระเงิน (Balance of Payments) MTEF กรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง BOT ธนาคารแห่ งประเทศไทย (Bank of Thailand) (Medium Term Expenditure Framework) CDD การพัฒนาซึ่ งขับเคลื่อนโดยชุมชน (Community Driven NACC คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต Development) แห่ งชาติ (National Anti-Corruption Commission) CDP(s) ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศ (Country NESDB คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ Development Partnership(s) (National Economic and Social Development Board) CEM บันทึกข้อตกลงทางเศรษฐกิจของประเทศ (Country NGO องค์กรพัฒนาเอกชน (Non-governmental Economic Memorandum) Organization) CFC คลอโรฟลูออโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbons) NPL(s) หนี้ ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Performing Loan(s) CPS ยุทธศาสตร์ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศ NTC คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติ (National (Country Partnership Strategy) Telecommunications Commission) CTF กองทุนเทคโนโลยีที่สะอาด (Clean Technology Fund) OAG สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (Office of the Auditor DARP โครงการลดภาระทรัพย์สินรอการช่วยเหลือ (Distressed General) Asset Relief Program) OBEC สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Office EAP เอเชียตะวันออกและแปซิฟิก (East Asia and Pacific) of the Basic Education Commission) EGAT การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่ งประเทศไทย (Electricity ODS สารทาลายโอโซน (Ozone Depleting Substances) Generating Authority of Thailand) OECD องค์กรเพื่อความร่ วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา ERPA ข้อตกลงความร่ วมมือการซื้ อเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรื อน (Organization for Economic Cooperation & กระจก (Emissions Reduction Purchase Agreement) Development FCPF กองทุนความร่ วมมือเพื่อลดก๊าซคาร์บอนของภาคการป่ า OPDC สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (Office ไม้ (Forestry Carbon Partnership Fund) of the Public Sector Development Commission) FPO สานักงานเศรษฐกิจการคลัง (Fiscal Policy Office) PAD พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People’s FY ปี งบประมาณ (Fiscal Year) Alliance for Democracy) GDP ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic PDMO สานักงานบริ หารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง Product) (Public Debt Management Office) GEF กองทุนสิ่ งแวดล้อมโลก (Global Environment Facility) 2 GFDRR ั กองทุนโลกเพื่อการลดและฟื้ นฟูจากภัยพิบติ (Global PEFA ความรับผิดชอบด้านการเงินการคลังสาธารณะ (Public Facility for Disaster Reduction & Recovery) Expenditure and Financial Accountability) GHG ก๊าซเรื อนกระจก (Greenhouse Gas) PEA การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค (Provincial Electricity GTI โครงการริ เริ่ มเสื อโคร่ ง (Global Tiger Initiative) Authority) GMS อนุภาคลุ่มน้ าโขง (Greater Mekong Sub-region) PFM(R)(S) รายงาน/ระบบการบริ หารการคลังภาคสาธารณะ GNI รายได้มวลรวมประชาชาติ (Gross National Income) (Public Financial Management (Report) (System) GPF กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ (Government PISA โครงการประเมินผลนักเรี ยนในระดับนานาชาติ Pension Fund) (Program for International Student Assessment) IRBD ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนา PPIAF การบริ การให้คาปรึ กษาด้านโครงสร้ างพื้นฐานแก่ (International Bank for Reconstruction and ภาคเอกชนของรัฐ (Public Private Infrastructure Development) Advisory Service) ICT เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร (Information and PPP พรรคพลังประชาชน (People’s Power Party) Communications Technology) PPP(s) ความร่ วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (Public IDA สมาคมการพัฒนาระหว่างประเทศ (International Private Partnership(s) Development Association) ้ื PSRDPL เงินกูยมเพื่อนโยบายพัฒนาการปฏิรูปภาครัฐ (Public IDF กองทุนเพื่อการฟื้ นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน Sector Reform Development Policy Loan) (Institutional Development Fund) REDD การลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกจากการทาลายป่ าไม้ IFC บรรษัทการเงินระหว่างประเทศ (International Finance และการเสื่ อมโทรมของป่ าไม้ (Reducing Emissions Corporation) from Deforestation & Forest Degradation) INT สานักรองประธานฝ่ ายสอบสวนการทุจริ ตของ SFI(s) สถาบันการเงินเฉพาะกิจ (Specialized Financial ธนาคารโลก (World Bank’s Integrity Vice-Presidency) Institution(s) ISN แผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือระยะสั้นเพื่อการพัฒนา SME(s) วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Small and Medium (Interim Strategy Note) Sized Enterprise(S) JICA องค์กรความร่ วมมือระหว่างประเทศแห่ งประเทศญี่ปุ่น SP2 ้ แผนกระตุนเศรษฐกิจระยะที่สอง (Second Stimulus (Japan International Cooperation Agency) Package) JSDF กองทุนเพื่อพัฒนาสังคมแห่งประเทศญี่ปุ่น (Japan Social SPF กองทุนเพื่อชาติและการสร้างสันติภาพ (State and Development Fund) Peace Building Fund) TA ความช่วยเหลือทางวิชาการ (Technical Assistance) TRT พรรคไทยรักไทย (Thai Rak Thai) UDD แนวร่ วมประชาธิ ปไตยต่อต้านเผด็จการแห่ งชาติ (United Front for Democracy against Dictatorship) UNFPA กองทุนประชากรแห่ งสหประชาชาติ (United Nations Population Fund) UNICEF กองทุนเพื่อเด็กแห่ งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund) WHO องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) 3 ่ แผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือระยะสั้ นเพือการพัฒนา สารบัญ I. บทนา 5 II. ่ หลักการและเหตุผลของแผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือระยะสั้ นเพือการพัฒนา 6 III. การพัฒนาประเทศและความท้ าทาย 6 ก. บริ บทของประเทศ 6 ข. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจมหภาคที่เกิดขึ้นและการคาดการณ์ในอนาคต 7 ค. การแก้ไขปัญหาความยากจนและการพัฒนาคน 9 ง. บริ บทด้านการเมืองและธรรมาภิบาล 16 IV. วาระการพัฒนาแห่ งชาติของประเทศไทย 20 V. ประมวลการมีส่วนร่ วมของธนาคารโลก 22 ่ ก. บทเรี ยนที่ได้รับจากแผนยุทธศาสตร์ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศที่ผานมา 22 ข. การดาเนินโครงการในปัจจุบน ั 24 VI. ่ ยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือเพือการพัฒนา ปี งบประมาณ 2554–2555 27 ก. การรับมือกับความท้าทายที่สาคัญ 27 ข. ยุทธศาสตร์ที่ 1 การฟื้ นฟูวิกฤตที่ให้ความสาคัญกับประชากรที่มีฐานะยากจน 28 ค. ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาความสามารถในการแข่งขันและการเติบโตอย่าง 31 มีส่วนร่ วม และยังยืน ่ ง. การสนับสนุนบทบาทของประเทศไทยในระดับภูมิภาคและระดับโลก 40 จ. การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ 42 VII. ข้ อเสนอแนะจากการทาประชาพิจารณ์ 45 VIII. ่ ความเสี่ ยงที่เกิดจากการดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือระยะสั้ นเพือการ 46 พัฒนา 4 ่ แผนยุทธศาสตร์ ระยะสั้ นเพือการพัฒนาของธนาคารโลกและประเทศไทย I. บทนา 1. แผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือระยะสั้ นเพื่อการพัฒนา (Interim Strategy Note – ISN) ฉบับนี้ เป็ นการ ่ นาเสนอรายละเอียดเกียวกับแผนงานของธนาคารโลกในการให้ ความช่ วยเหลือแก่ ประเทศไทย ในช่ วงปี งบประมาณ ั 2554 จนถึง 2555 แผนยุทธศาสตร์ฉบับนี้ มีวตถุประสงค์โดยรวมเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศไทยในการฟื้ นฟู จากวิกฤตเศรษฐกิจโลกอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนให้ความช่วยเหลือเพื่อให้ประเทศไทยสามารถบรรลุถึงการเติบโตที่ ประชากรส่ ว นใหญ่มีส่วนร่ วมและมี ค วามยังยื นมากยิ่ งขึ้ น อันจะช่ วยส่ งเสริ มให้เกิ ด ความสมานฉันท์ทางการ ่ เมืองขึ้นได้ แม้ว่าประเทศไทยจะประสบความสาเร็ จด้านการพัฒนาในหลายประการ แต่การขาดเสถียรภาพทาง การเมือง การลงทุนภาครัฐที่ ดาเนิ นไปอย่างเชื่ องช้า ตลอดจนความไม่เสมอภาคในการให้บริ การสาธารณะกลับ ลดทอนความสามารถของประเทศในการรับมือกับความท้าทายด้านการพัฒนาในระยะยาวลงไป การดาเนิ นการ ตามยุทธศาสตร์ 2 ประการนี้จะทาให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้ าหมายระยะสั้นในการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจอย่าง แข็งแกร่ งได้ดีที่สุด ในขณะเดี ยวกับที่ จะช่ วยให้ประเทศอยู่ในตาแหน่งที่สามารถรับนโยบายและโครงการต่าง ๆ เพื่อให้สามารถบรรลุถึงเป้ าหมายด้านสังคมและเศรษฐกิจในระยะยาวได้ในที่สุด II. ่ หลักการและเหตุผลของแผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือระยะสั้ นเพือการพัฒนา 2. แผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศ (Country Partnership Strategy – CPS) พ.ศ. 2545 มุ่งเน้ นการมีส่วนร่ วมกับประเทศไทยในลักษณะฐานความรู้ ซึ่ งจะช่ วยให้ การแลกเปลี่ยนความรู้ ตลอดจนการให้ คาแนะนาด้ านนโยบายในประเด็นด้ านโครงสร้ างในระยะปานกลางที่มีความจาเป็ นต่ อความสาเร็ จของประเทศไทย เพือให้ การบรรลุถึงวาระการพัฒนาแห่ งชาติเป็ นไปอย่ างสะดวกและง่ ายยิ่งขึน หลังจากช่วงเวลาที่ธนาคารโลกได้ ่ ้ เข้าไปมีส่วนร่ วมอย่างจริ งจังในช่วงวิกฤตการเงินในเอเชี ย ในระยะแรกนั้น ธนาคารโลกได้ดาเนิ นการให้บริ การ ด้านการวิเคราะห์และให้คาปรึ กษาแก่ประเทศไทยในระหว่างความร่ วมมือเพื่อการพัฒนา สาเหตุประการหนึ่ ง เนื่ องจากหลังจากการฟื้ นตัวจากวิกฤตใน พ.ศ. 2540 นั้น ประเทศไทยมี โครงการปฏิ รูปที่ เข้มแข็ง ซึ่ งทาให้ไทย กลายเป็ นประเทศที่ มีความน่ าสนใจเมื่ อเข้าสู่ ตลาดเงิ นทุ น นอกจากนี้ ในช่ วงเวลาดังกล่าว ธนาคารโลกยังได้ เดินหน้าเข้าไปมีส่วนร่ วมในประเด็นด้านนโยบายต่าง ๆ ที่ทาให้วาระการปฏิรูปของประเทศก่อตัวเป็ นรู ปเป็ นร่ าง ั ขึ้ นตามคาร้องขอของประเทศไทย และยังมีส่วนในการสร้ างชื่ อเสี ยงให้กบประเทศไทยในฐานะผูนาการปฏิ รูป ้ ภาครัฐในภูมิภาคอีกด้วย 3. ในฤดูร้ อนของปี พ.ศ. 2551 รั ฐบาลไทยได้ ขอให้ ธนาคารโลกพิจารณาความเป็ นไปได้ ใ นการให้ ค วาม ช่ วยเหลือด้ านการเงินเพื่อทาให้ การปฏิรูปซึ่ งกาลังดาเนินอยู่น้ ันเป็ นไปอย่ างเข้ มแข็งยิ่งขึ้น รวมทั้งเพื่อเร่ งให้ การ ลงทุนภาครั ฐเป็ นไปอย่ างรวดเร็ วมากยิ่งขึ้นด้ วย ธนาคารโลกได้ตอบสนองความต้องการดังกล่าวโดยการให้เงิ น ้ กูยืมเพื่อนโยบายพัฒนาการปฏิรูปภาครัฐ (Public Sector Reform Development Policy Loan (PSPDPL) ซึ่ งเป็ น ้ เงิ นกูที่ให้การสนับสนุ นด้านงบประมาณในการมีส่วนร่ วมเชิ งนโยบายในการปฏิรูปด้านต่าง ๆ ที่ มีความสาคัญ ความต้องการดังกล่าวเกิดขึ้นก่อนที่จะเกิดวิกฤตการเงิน และเป็ นการส่ งเสริ มนโยบายด้านการการเงินที่ถูกออกแบบ 5 ขึ้นเพื่อปรับปรุ งความสมบูรณ์ของนโยบายเหล่านี้ รวมทั้งเพื่อช่ วยให้เติ บโตเป็ นไปอย่างเสมอภาคมากขึ้นในช่วง ฟื้ นตัวหลังวิกฤต 4. แม้ ว่าความวุ่นวายทางการเมืองที่ดาเนินไปอย่ างต่ อเนื่องในประเทศไทยจะทาให้ ผลกระทบที่เกิดจากวิกฤต ้ การเงินทวีความรุ นแรงมากขึน แต่ ก็ไม่ ได้ ก่อเกิดข้ อขัดข้ องที่สาคัญใด ๆ ต่ อระบบราชการ หรื อลดทอนความเป็ น เจ้ าของวาระการปฏิ รู ป ลงไปแต่ อ ย่ างใด อันที่ จริ งนั้น นับตั้ง แต่ เ กิ ด วิ กฤตขึ้ นใน พ.ศ. 2540 ประเทศไทยได้ ออกแบบและดาเนิ นการปฏิ รู ปอย่างต่ อเนื่ องแม้จะมี การเปลี่ยนแปลงผูนาทางการเมืองอยู่บ่อยครั้ ง นอกจากนี้ ้ แรงผลักดันในการปฏิรูปดังกล่าวก็ได้แสดงให้เห็นถึงฉันทามติทางการเมืองเกี่ยวกับวิธีการบริ หารจัดการเศรษฐกิจ ตลอดจนความมุ่งมันของข้าราชการที่ มีความสามารถและศักยภาพสู ง (ซึ่ งทางธนาคารโลกได้มีการรักษาระดับ ่ ั ความสัมพันธ์ที่ดีกบกลุ่มคนกลุ่มนี้) ในการขับเคลื่อนวาระการปฏิรูปต่อไป 5. แผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนามีกรอบเวลาระยะสั้ น (ระหว่ างปี งบประมาณ 2554 ถึง 2555) เนื่ อ งจากความกดดั นทางเศรษฐกิจและความไม่ แน่ นอนทางการเมือ งที่ ดาเนิ นไปอย่ างต่ อ เนื่ อ ง ทั้ งนี้ เพื่อ ให้ ธนาคารโลกสามารถให้ ความช่ วยเหลือแก่ ประเทศไทยได้ อย่ างมีความยืดหยุ่น ไปพร้ อม ๆ กับการให้ การสนับสนุน ่ การปฏิรูปเพือจัดการกับความไม่ เสมอภาคทางสั งคมและเศรษฐกิจ ตลอดจนความท้ าทายด้ านความสามารถในการ แข่ งขันอีกด้ วย แม้ว่าแผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมื อระยะสั้นเพื่อการพัฒนาจะครอบคลุมการให้กูยืมเป็ นระยะ้ เวลานานโดยปราศจากข้อผูกมัดทางการเงิ นใหม่ ๆ ที่ เป็ นสาระสาคัญ แต่โครงการหลัก ๆ ก็จะยังคงมีพ้ืนฐานจาก รู ปแบบการแลกเปลี่ยนความรู ้ระหว่างประเทศไทยและธนาคารโลกที่ประสบความสาเร็ จอยู่ในปั จจุบน โครงการ ั ที่ได้รับการนาเสนอจะเป็ นไปในรู ปแบบที่ มีการคัดเลือก ซึ่ งจะมีการดาเนิ นงานในกิจกรรมที่ประเทศเป็ นเจ้าของ และต้อ งการอย่า งชัด เจนเท่ า นั้น และจะมุ่งเป้ าเพื่ อให้ความช่ วยเหลื อแก่ รั ฐบาลในการด าเนิ นโครงการปฏิ รู ป นโยบาย ซึ่ งจะช่ วยให้การฟื้ นตัวจากวิกฤตเป็ นไปอย่างสมบูรณ์มากยิ่งขึ้ น พร้อมกับจัดการกับประเด็นด้านสังคม และการปกครองที่ มีค วามสาคัญ ซึ่ งเป็ นสาเหตุ ที่นาไปสู่ ความตึ งเครี ยดทางการเมื อง ทั้งนี้ จะมี การประเมิ น โครงการดังกล่าวเป็ นระยะเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกิดขึ้นกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและการเมือง III. การพัฒนาประเทศและความท้าทาย ก. บริบทของประเทศ 6. ประเทศไทยนับเป็ นประเทศตัวอย่ างที่ประสบความสาเร็จในการพัฒนา ซึ่ งมีการเติบโตอย่ างเข้ มแข็ง และ มีการดาเนินการการแก้ ไขปัญหาความยากจนที่ดี เมื่อสิ้ นสุ ดทศวรรษในปี พ.ศ. 2538 นั้น ประเทศไทยมีอตราการั เติ บโตทางเศรษฐกิ จรวดเร็ วที่ สุดประเทศหนึ่ งของโลกด้วยอัตราเฉลี่ยร้อยละ 8-9 ต่อปี หลังจากการฟื้ นตัวจาก วิกฤตเศรษฐกิจที่ เกิดขึ้นในทวีปเอเชี ยในช่ วงพ.ศ. 2545 จนถึงพ.ศ. 2546 เศรษฐกิจไทยก็ได้เติบโตขึ้ นอีกครั้งหนึ่ ง ั โดยมีอตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ 5 ในช่วงปี พ.ศ. 2545 – 2550 ผลจากการเติบโตทางเศรษฐกิจอัน ั ยังยืนนี้ ได้ทาให้อตราความยากจนลดลงจากร้อยละ 42 ในพ.ศ. 2531 เหลือเพียงประมาณร้อยละ 9 ใน พ.ศ. 2551 ่ อย่างไรก็ตามการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกลับชะลอตัวลงเมื่อไม่นานมานี้ ทั้งนี้เนื่องมาจากการบริ โภค 6 ภาคเอกชน และความต้องการด้านการลงทุนที่ลดลง ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นผลมาจากสถานะทางเศรษฐกิจของโลกและ ความไม่แน่นอนทางการเมือง การเติบโตที่ชาลงนี้ได้ส่งผลให้ความสาเร็ จในการลดความยากจนที่เกิดขึ้นกลับพลิก ้ ผันไปในทิศทางตรงกันข้าม 7. ้ ผลประโยชน์ ที่เกิดขึนจากความสาเร็ จทางเศรษฐกิจของประเทศไทยไม่ ได้ รับการแบ่ งปันอย่ างเสมอภาค ิ โดยการแก้ ไขปัญหาความยากจนในบางภูมภาค โดยเฉพาะในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เป็ นไปอย่ าง ล่ าช้ ากว่ าภูมิภาคอื่น ๆ ของประเทศ แม้ว่าความไม่เสมอภาคในภูมิภาคจะเกิดขึ้นเป็ นปกติในกระบวนการพัฒนา1 แต่ความท้าทายที่รัฐบาลต้องเผชิ ญก็คือ การส่ งเสริ มการพัฒนาแบบมีส่วนร่ วมผ่านทางการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิ จ ็ั แม้จะประสบความสาเร็ จในการแก้ไขปัญหาความยากจน แต่ความไม่เสมอภาคด้านรายได้กยงคงอยูในอัตราสู งและ ่ ยากที่จะแก้ไข เรื่ องดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความจาเป็ นที่จะต้องพัฒนานโยบายและโครงการต่าง ๆ เพื่อเชื่ อมโยง เขตเมืองที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ วเข้ากับภูมิภาคต่างๆ ที่การเติบโตเป็ นไปอย่างเชื่ องช้า รวมถึงการส่ งเสริ มการให้ ประชาชนได้รับบริ การสาธารณะอย่างเท่าเที ยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้บริ การด้านการศึ กษา และมุ่งเป้ าไปที่ ประชากรที่มีฐานะยากจนที่สุด ข. การพัฒนาด้ านเศรษฐกิจมหภาคทีเ่ กิดขึ้นและการคาดการณ์ในอนาคต 8. ภาคการผลิตเพื่อการส่ งออกซึ่ งเติบโตในอัตราร้ อยละ 7.5 ในพ.ศ. 2553 ได้ ช่วยให้ เศรษฐกิจไทยสามารถ ฟื้ นตัวจากวิกฤตเศรษฐกิจและการเงินโลกได้ อย่ างเข้ มแข็ง (ตารางที่ 1) วิกฤตเศรษฐกิจโลกส่ งผลกระทบต่อระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยโดย (ก) อุปสงค์ต่อผลผลิตขององค์กรธุรกิจในห่วงโซ่ อุปทานที่ลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในภาคอิเล็กทรอนิ กส์ และ (ข) ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาตกต่ าลง ด้วยเหตุน้ ี ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศจึ ง ั ลดลงถึงร้อยละ 6.3 ในช่วงไตรมาสที่ 3 ของปี พ.ศ. 2551 จนถึงไตรมาสแรกของพ.ศ. 2552 (ซึ่ งมีอตราของการลดลง โดยเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 2.2) เนื่ องจากความต้องการภายนอกเริ่ มฟื้ นตัวขึ้ นในไตรมาสที่ 2 ของพ.ศ. 2552 เศรษฐกิ จ ของประเทศจึงเริ่ มฟื้ นตัวขึ้นโดยมีอตราการเติบโตเพิ่มขึ้นร้อยละ 12 ในอีก 4 ไตรมาสต่อมา แม้ว่าปั จจัยหลักของ ั การเติบโตดังกล่าวจะเป็ นผลมาจากภาคการส่ งออก แต่การฟื้ นตัวของราคาผลผลิตทางการเกษตร ตลอดจนนโยบาย ด้านการเงิ นการคลังที่ เอื้ อให้เกิ ดการฟื้ นตัวก็ได้นาไปสู่ การของการบริ โภคภายในประเทศและการลงทุน ที่ เพิ่ ม สูงขึ้น การเติบโตดังกล่าวเริ่ มชะลอตัวลงในไตรมาสที่ 2 ของ พ.ศ. 2553 และคาดการณ์ว่าจะทรงตัวต่อไปเมื่อผล จากปั จจัยด้านสิ นค้าคงคลังค่อย ๆ หมดไป ตลอดจนการเพิ่มขึ้ นของอุปสงค์โลกและราคาโภคภัณฑ์ทรงตัวอยู่ที่ ระดับต่ากว่าก่อนเกิดวิกฤต และอัตราดอกเบี้ยกลับสู่ ระดับปกติ (ซึ่ งสู งกว่า) อย่างไรก็ตามก็มีการคาดการณ์ว่าการ ดาเนิ นการที่มีประสิ ทธิ ภาพในช่วงครึ่ งปี แรกและฐานการเติบโตทางเศรษฐกิจที่เดิมอยู่ในระดับต่าจะทาให้มีอตราั การเติบโตทางเศรษฐกิจสูงขึ้นเป็ นร้อยละ 7.5 ใน พ.ศ. 2553 1 กระบวนการพัฒนาเป็ นประเด็นหลักของรายงานการพัฒนาโลกประจาปี พ.ศ. 2552 เรื่ อง การปรับเปลี่ยนภูมิศาสตร์ ทาง เศรษฐกิจ (World Development Report 2009: Reshaping Economic Geography) รายงานดังกล่าวได้เน้นถึง (ก) ธรรมชาติของการ เติบโตทางเศรษฐกิจที่ไม่สมดุล ซึ่งส่ งผลให้เกิดความไม่เสมอภาคทางภูมิศาสตร์ และ (ข) ความจาเป็ นในการกระจายสวัสดิการอย่าง เท่าเทียมผ่านทางการให้บริ การและการเชื่อมโยงที่มีคุณภาพมากยิงขึ้น ่ 7 ตารางที่ 1 ตัวชี้วัดเศรษฐกิจหลัก ตัวเลขในอดีต ตัวเลขที่มีการคาดการณ์ 1/ 2550 2551 2552 2553 2554 2555 ผลผลิต การจ้ างงาน และราคา ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศจริ ง (การเปลี่ยนแปลงปี ต่อปี คิดเป็ นร้อยละ) 4.9 2.5 -2.2 7.5 3.2 4.2 ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (2000=100) 180.7 190.2 180.4 .. .. .. (การเปลี่ยนแปลงปี ต่อปี คิดเป็ นร้อยละ) 8.2 5.3 -5.1 .. .. .. การว่างงาน (คิดเป็ นร้อยละ) 1.4 1.4 1.5 1.3 1.3 1.3 ค่าแรงจริ ง (การเปลี่ยนแปลงปี ต่อปี คิดเป็ นร้อยละ)2/ 0.7 4.8 -1.6 .. .. .. ้ ดัชนีราคาผูบริ โภค (การเปลี่ยนแปลงปี ต่อปี คิดเป็ นร้อยละ) 2.2 5.5 -0.8 3.5 3.0 3.0 ภาครัฐ งบดุลภาครัฐ (ร้อยละของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ)3/ -2.5 -1.9 -3.8 -2.7 -2.7 -2.0 หนี้สาธารณะ (ร้อยละของผลิตภัณฑ์มวลรวม 37.5 38.2 45.2 44.0 45.7 46.0 ภายในประเทศ) ้ การค้าระหว่างประเทศ ดุลการชาระเงิน และหนีต่างประเทศ ดุลการค้า (พันล้านเหรี ยญสหรัฐ) 12.8 -0.4 19.4 5.2 0.3 -2.6 การส่งออกสิ นค้า (พันล้านเหรี ยญสหรัฐ) 151.3 175.2 150.7 175.3 192.2 216.1 (การเปลี่ยนแปลงปี ต่อปี คิดเป็ นร้อยละ) 18.2 15.9 -14.0 16.3 9.7 12.5 การส่งออกหลัก (การเปลี่ยนแปลงปี ต่อปี คิดเป็ นร้อยละ)4/ 16.4 7.6 -15.2 .. .. .. การนาเข้าสิ นค้า (พันล้านเหรี ยญสหรัฐ) 138.5 175.6 131.4 170.0 191.9 218.8 (การเปลี่ยนแปลงปี ต่อปี คิดเป็ นร้อยละ) 9.1 26.8 -25.2 29.4 12.9 14.0 ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านเหรี ยญสหรัฐ) 15.7 1.2 20.3 7.0 1.4 -0.8 (ร้อยละของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ) 6.3 0.4 7.7 2.3 0.4 -0.2 การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ (พันล้านเหรี ยญสหรัฐ)5/ 10.3 7.6 5.3 7.6 9.3 11.3 (ร้อยละของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ) 4.1 2.8 2.0 2.5 2.6 3.0 หนี้ต่างประเทศ (พันล้านเหรี ยญสหรัฐ)6/ 61.9 65.2 69.5 .. .. .. (ร้อยละของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ) 24.8 24.0 26.4 .. .. .. หนี้ต่างประเทศระยะสั้น (พันล้านเหรี ยญสหรัฐ)6/ 21.6 24.2 27.4 .. .. .. อัตราส่ วนภาระการชาระหนี้ (การส่ งออกสิ นค้าและบริ การ 11.8 7.1 6.7 .. .. .. คิดเป็ นร้อยละ) ทุนแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ รวม (พันล้านเหรี ยญสหรัฐ) 87.5 111.0 138.4 143.1 .. .. (จานวนเดือนทีมีการนาเข้าสิ นค้าและบริ การ) 7.9 7.9 13.2 10.1 .. .. ตลาดเงิน สิ นเชื่อภายในประเทศ (การเปลี่ยนแปลงปี ต่อปี คิดเป็ นร้อยละ)7/ 4.9 9.3 3.1 .. .. .. อัตราดอกเบี้ยระยะสั้น (ร้อยละต่อปี )8/ 3.69 3.40 1.35 .. .. .. อัตราแลกเปลี่ยน (บาท/เหรี ยญสหรัฐ โดยเฉลี่ย) 34.2 33.4 34.3 32.5 30.0 30.0 อัตราแลกเปลี่ยนที่แท้จริ ง (2000=100)9/ 112.2 112.8 108.8 .. .. .. ดัชนีตลาดหุ้น (ธันวาคม พ.ศ.2539=100) 858 450 735 .. .. .. รายการบันทึก ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเบื้องต้น (พันล้านเหรี ยญ 249.0 272.0 263.7 309.8 356.9 383.1 สหรัฐ) 8 ตัวเลขในอดีต ตัวเลขที่มีการคาดการณ์ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเบื้องต้น (พันล้านบาท) 8,529.8 9,075.5 9,050.7 10,070.0 10,705.7 11,492.6 รายได้มวลรวมประชาชาติที่แท้จริ งต่อบุคคล (2000 เหรี ยญ 2,876.3 3,055.0 2,950.1 3,391.0 3,772.9 3,912.7 สหรัฐ) ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ กระทรวงการคลัง สานักงานสถิติแห่ งชาติ กระทรวง พาณิ ชย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และการคานวณของเจ้าหน้าที่ธนาคารโลก หมายเหตุ (1) การคาดการณ์การเติบโตใน พ.ศ. 2553 ของธนาคารโลกและองค์กรภาครัฐต่างๆเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ (ก) คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ: ร้อยละ 7-7.5 (ข) กระทรวงการคลัง: ร้อยละ 7.3-8.8 (ค) ธนาคารแห่ งประเทศไทย: ้ ร้อยละ 6.5-7.5 (2) ค่าแรงเฉลี่ยของผูมีอาชีพ (จากการสารวจกาลังแรงงานของสานักงานสถิติแห่ งชาติ) ลดลงเนื่องจากภาวะเงินเฟ้ อของดัชนี ้ ราคาผูบริ โภค (3) งบดุลเงินสดของรัฐบาลกลางในปี ปฏิทิน (4) เครื่ องมือเครื่ องใช้ที่เป็ นเครื่ องยนต์และเครื่ องจักรกล (5) การลงทุนโดยตรง จากต่างประเทศที่ไม่ได้มาจากธนาคาร (6) ที่มา: ธนาคารแห่ งประเทศไทย (7) คาจากัดความของสถิติการเงินระหว่างประเทศ (สิ นเชื่อสุทธิ ั ั ให้กบภาครัฐที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน สิ นเชื่ อให้กบภาคเอกชน และบัญชี อื่น ๆ ) (8) อัตรานโยบายของธนาคารแห่ งประเทศไทย (หน้าต่างปรับ ู้ ื สภาพคล่อง ณ สิ้นวัน และกองทุนให้กยม) (9) ที่มา: ธนาคารเพื่อการชาระเงินระหว่างประเทศ 9. ความวุ่นวายทางการเมืองที่เกิดขึ้นในช่ วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม พ.ศ. 2553 ไม่ ได้ ส่งผลกระทบต่ อ เศรษฐกิจของประเทศไทยมากนัก แม้ จะดูเหมือนว่ าผลกระทบทางสั งคมจะมีความรุ นแรงมากกว่ าก็ตาม ภาคการ ผลิตเพื่อการส่ งออกที่มีความสาคัญได้รับผลกระทบจากความวุ่นวายดังกล่าวเพียงเล็กน้อย และยังคงดาเนิ นไปได้ดี มากแม้จะเกิ ดการลอยตัวของอุปสงค์การส่ งออกในไตรมาสที่ 2 และความต้องการรถยนต์ภายในประเทศที่ ไม่ แน่นอน ในทางกลับกัน ภาคการท่องเที่ยวกลับประสบความเสี ยหายอย่างหนัก ภาคการให้บริ การหดตัวลงถึงร้อย ละ 18 จากไตรมาสก่อนหน้า (จากตัวเลขประจาฤดู ไม่ใช่ ตวเลขประจาปี )2 แม้ว่าการบริ โภคภาคเอกชนจะมีการ ั เติบโตขึ้น แต่ภาคการค้าปลีกกลับหดตัวลงในไตรมาสดังกล่าว ซึ่ งแสดงให้เห็นว่าภาคส่ วนนี้ ได้รับผลกระทบจาก ความวุ่นวายทางการเมือง เนื่ องจากภาคการค้าส่ งและภาคการท่องเที่ยวมีการจ้างงานเป็ นอัตราส่ วนถึงร้อยละ 25 ของแรงงานทั้งหมด (เมื่อเที ยบกับการจ้างงานร้อยละ 15 ในภาคการผลิต) จึ งดูเหมือนว่าผลกระทบทางสังคมจาก วิกฤตที่เกิดขึ้นจะมีความรุ นแรงมากกว่าผลกระทบที่มีต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ 10. ่ ้ แม้ ว่าการบริโภคของครัวเรือนจะเพิมสู งขึนในไตรมาสที่ 2 ของ พ.ศ. 2553 แต่ การส่ งออกก็ยังคงเป็ นส่ วน ขับเคลือนหลักของการเติบโตที่เกิดขึนในช่ วงเวลาต่ อมา ภาคส่ วนที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสิ นค้าและบริ การ (ได้แก่ ่ ้ การอุตสาหกรรม โรงแรม และการขนส่ ง) ซึ่ งเคยเป็ นปั จจัยหลักของการเติ บโต นับตั้งแต่ประเทศไทยฟื้ นตัวจาก วิกฤตการเงินที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2540 และเป็ นสาเหตุของพลวัตเศรษฐกิจนับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจได้เริ่ มต้นขึ้น เมื่อ พิจารณาการเติ บโตทางเศรษฐกิ จที่ ชะลอตัวลงของกลุ่มประเทศเศรษฐกิ จก้าวหน้าและความเสี่ ยงที่ต่อเนื่ องที่ เกิ ด ขึ้ นกับการฟื้ นตัวของเศรษฐกิ จโลกแล้ว ประเทศไทยจึ งมีแนวโน้มจะประสบกับภาวะชะลอตัวทางเศรษฐกิ จใน พ.ศ. 2554 2 ภาคการท่อ งเที่ยวเป็ นภาคส่ วนที่ฟ้ื นตัวได้อย่างเข็มแข็งมากที่ สุด จานวนนักท่อ งเที่ยวที่เดิ นทางเข้ามาในประเทศไทย เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 14.2 ในเดือนกรกฎาคม เพื่อเปรี ยบเทียบกับจานวนนักท่องเที่ยวในเดือนเดียวกันของปี ก่อนหน้า หรื อคิดเป็ นร้อยละ 84 ของจานวนนักท่องเที่ยวในฤดูท่องเที่ยวก่อนเกิดวิกฤต 9 11. ่ ้ เพือบรรเทาผลกระทบทางสั งคมที่เกิดขึนอย่ างฉับพลันจากวิกฤติเศรษฐกิจ รั ฐบาลจึงได้ กาหนดนโยบาย พัฒนาการให้ บริ การเพื่อตอบสนองต่ อความจาเป็ นในการป้ องกันทางสั งคม ตลอดจนความจาเป็ นในการลงทุ น ระยะยาวที่ได้ ผล แผนกระตุนทางการเงินที่ประกาศใช้ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2552 มุ่งเป้ าไปที่มาตรการการบริ โภค ้ ที่มีการชาระเงิน (ซึ่ งรวมถึงการโอนเงินสด) มูลค่า 97,6000 ล้านบาท (คิดเป็ นร้อยละ 1 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ้ ประเทศ) โดยใช้งบประมาณเสริ มจากปี งบประมาณพ.ศ. 2552 แผนกระตุนดังกล่าวประกอบด้วย (ก) การจ่ายค่า ั ้ ครองชีพรายเดือนมูลค่า 2,000 บาทให้กบผูมีรายได้ต่ากว่า 15,000 บาท : เดือน จานวน 1 ครั้ง (ข) การขยายโอกาส ทางการศึกษาโดยผูเ้ รี ยนไม่ตองเสี ยค่าใช้จ่ายจาก 12 ปี เป็ น 15 ปี (ค) การให้การสนับสนุนด้านการเงินกับหมู่บาน ้ ้ และชุมชนต่าง ๆ ผ่านกองทุนหมู่บานและชุมชน (Sufficiency Fund) (ง) การต่อระยะเวลาการใช้สาธารณู ปโภค ้ และการขนส่ งสาธารณะโดยไม่เสี ยค่าใช้จ่ายออกไปอีก 6 เดือน (แต่ไม่มีการต่ออายุโครงการช่วยเหลือค่าน้ ามันและ ั ้ ดีเซล) (จ) การจ่ายค่าครองชี พรายเดือน 500 บาทให้กบผูสูงอายุ และ (ช) การฝึ กอบรมโดยไม่เสี ยค่าใช้จ่ายเป็ น ู้ ่ ระยะเวลา 1 เดือน และสนับสนุนค่าใช้จ่ายเป็ นเงินสดนาน 3 เดือนให้แก่ผวางงาน อนึ่งโครงการหลักทั้ง 6 โครงการ ้ ข้างต้นคิดเป็ นร้อยละ 70 ของแผนการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาล 12. นอกจากนี้ ยังมีการประกาศใช้ โครงการลดภาษี ซึ่ งประกอบด้วย (ก) การลดหย่อนภาษีเงิ นได้บุคคล ั ้ ธรรมดาให้กบดอกเบี้ยเงินกูสูงสุ ด 300,000 บาทต่อปี (ข) การต่ออายุโครงการลดภาษีและค่าธรรมเนี ยมที่ดิน (ค) ั การเพิ่มรายได้ให้กบวิสาหกิ จขนาดกลางและขนาดย่อมที่ อยู่ในข่ายต้องชาระภาษีร้อยละ 0.5 ตั้งแต่ 60,000 บาท ั จนถึง 1,000,000 บาท (ง) เพิ่มการงดเว้นภาษีให้กบวิสาหกิจชุมชนที่มีรายได้ไม่เกิน 1.8 ล้านบาท และ (จ) งดเว้น ภาษีการดาเนิ นธุ รกรรมใด ๆ ที่เกิดจากหนี้ และการปรับโครงสร้างองค์กร การลดภาษีเหล่านี้ คิดเป็ นมูลค่าทั้งสิ้ น ประมาณ 40,000 ล้านบาท (คิดเป็ นร้อยละ 0.4 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ) 13. มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจรอบที่ 2 (Fiscal Stimulus Measures หรื อ SP2) ถูกประกาศใช้ เพื่อแก้ ปัญหา การลงทุนในภาคสาธารณะที่เป็ นไปอย่ างเชื่องช้ านับตั้งแต่ เกิดวิกฤตในพ.ศ. 2540 การลงทุนภาคสาธารณะโดยเฉลี่ย มีเพียงร้อยละ 5.7 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่แท้จริ งนับตั้งแต่ พ.ศ. 2547 จนถึง พ.ศ. 2551 เปรี ยบเทียบกับ อัตราร้อยละ 1 ก่อนเกิดวิกฤต การลงทุนภาคเอกชนลดลงเกือบร้อยละ 5 ในพ.ศ. 2551 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก ความไร้เสถียรภาพทางการเมือง ซึ่ งทาให้การตัดสิ นใจในการลงทุนเกิดความล่าช้า มาตรการ SP2 นี้ ประกอบด้วย องค์ประกอบด้านการลงทุนที่ จะช่ วยให้การลงทุนภาคสาธารณะเพิ่มสู งขึ้นได้เกื อบร้อยละ 5 ในช่ วงปี พ.ศ. 2553 จนถึง พ.ศ. 2555 เนื่องจากมีโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานเป็ นจานวนมาก 14. ื ่ เงินกู้ยมเพือนโยบายพัฒนาการปฏิรูปภาครั ฐ (PSRDPL) ที่มีการดาเนินการควบคู่ไปกับมาตรการข้ างต้ น จะช่ ว ยเพิ่มมูลค่ าของเงินช่ วยเหลือในโครงการกระตุ้นเศรษฐกิจต่ างๆ ตลอดจนส่ งเสริ มการปฏิรู ปภาครั ฐที่ มี เป้ าหมายเพื่ อ เชื่ อ มโยงการใช้ จ่ ายงบประมาณของภาครั ฐ กั บผลกระทบเชิ ง นโยบายที่ ต้ อ งการผ่ านระบบที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพ เชื่ อถื อได้ โปร่ งใส และให้ ผลลัพ ธ์ ที่ต้องการ ความส าเร็ จของมาตรการกระตุ ้นการเติ บโตทาง ั เศรษฐกิจและเข้าถึงประชาชนที่มีฐานะยากจนนั้น ขึ้นอยู่กบการดาเนิ นงานของภาครัฐ อันได้แก่ การปฏิรูปซึ่ งเป็ น ้ ประเด็นหลักของนโยบายเงินกูยืมเพื่อนโยบายพัฒนาการปฏิรูปภาครัฐ (PSRDPL) 10 15. แม้ ว่าวิกฤตการเงินโลกจะส่ งผลต่ อเศรษฐกิจที่แท้ จริ งอย่ างชัดเจน แต่ งบดุลของภาครั ฐและภาคเอกชนที่มี สภาพคล่ องช่ วยให้ ผลกระทบที่มีต่อภาคการเงินไม่ รุนแรงมากนัก ซึ่ งส่ งผลให้ ประเทศไทยมีความสามารถเพียง พอที่จะดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจต่ าง ๆ ได้ ความมันคงทางการเงินในอดีตส่ งผลให้ปริ มาณหนี้ สาธารณะ ่ ลดจานวนลง รวมไปถึงองค์ประกอบหนี้ ที่มีการบริ หารจัดการเพื่อลดผลกระทบที่ เกิ ดจากปั จจัยภายนอก3 ปั จจัย ้ ดังกล่าวยังช่วยให้ประเทศไทยสามารถกูยืมเพิ่มได้หากมีความต้องการ เงินสารองระหว่างประเทศที่อยู่ในระดับสู ง (สูงกว่ามูลค่าการส่ งออก 10 เดือนหรื อคิดเป็ น 4.7 เท่าของหนี้ ต่างประเทศระยะสั้น) ประกอบกับหนี้ ต่างประเทศที่ มีมูลค่าต่ าได้ช่วยลดความเปราะบางจากผลกระทบภายนอกประเทศลงได้ นอกจากนี้ ภาคการเงินก็ยงคงมีความ ั เข้มแข็งและได้รับการปกป้ องจากผลกระทบอย่างฉับพลันของวิกฤตการเงินโลก เนื่ องมาจากอัตราส่ วนเงินกองทุน ่ ต่อสิ นทรัพย์เสี่ ยงของทั้งภาคส่ วนที่อยูในระดับสูง ประกอบกับสภาพคล่องในระบบธนาคารภายในประเทศอีกด้วย 16. ประเทศไทยจาเป็ นต้ องเตรี ยมพร้ อมสาหรั บ สภาวะการณ์ ทางเศรษฐกิจโลกที่เปลี่ยนแปลงไปหลังจาก วิกฤตค่ อย ๆ ลดความรุ นแรงลง สภาวะแวดล้อมหลังเกิดวิกฤตจะเป็ นไปในลักษณะดังนี้ กลุ่มประเทศที่เศรษฐกิจ ั ก้าวหน้าจะมีความต้องการในการนาเข้าลดลง การแข่งขันด้านที่ ต้ งฐานการผลิตจะเพิ่มสู งขึ้ น ประเทศเศรษฐกิ จ ก้าวหน้าใหม่ ๆ จะเข้ามามีส่วนร่ วมในการเติ บโตของอุปสงค์โลกมากขึ้ น และส่ วนต่างของอัตราดอกเบี้ ยใน ประเทศกาลังพัฒนาและประเทศเศรษฐกิ จก้าวหน้าก็จะเพิ่ มมากขึ้ นอี กด้วย (ซึ่ งบ่ งชี้ เป็ นนัยถึ งการไหลเข้าของ เงินทุนรวมทั้งอัตราการแลกเปลี่ยนที่เพิ่มสู งขึ้น) อนึ่ ง ภาครัฐและภาคเอกชนควรเริ่ มศึกษามาตรการบางประการ ได้ อาทิ การมองหาตลาดส่ งออก การส่ งเสริ มคุ ณภาพการศึ กษา การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริ การใหม่ ๆ ที่ มี มูลค่าเพิ่มสู งขึ้ นให้มีแหล่งการเติ บโตทางเศรษฐกิจที่ หลากหลาย รวมทั้งการวางกรอบการป้ องกันทางสังคมที่ มี ความสมบูรณ์ เพื่อจัดการกับปัญหาความยากจนในประเทศที่ยงคงอยู่ ความไม่เท่าเทียมกันที่เพิ่มมากขึ้น รวมไปถึง ั วิกฤตเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตด้วย ค. การแก้ไขปัญหาความยากจนและการพัฒนาคน 17. นับตั้งแต่ ปลายทศวรรษที่ 1980 หรื อประมาณช่ วงปี พ.ศ. 2523 นั้น ความยากจนในประเทศไทยได้ ลดลง อย่ างต่ อเนื่อง ทั้งนี้มีสาเหตุสาคัญมาจากเศรษฐกิจที่เติบโตในอัตราสู ง (ตารางที่ 1)4 ในช่วงทศวรรษที่ ผ่านมานั้น ประเทศไทยสามารถลดความยากจนลงจากอัตราที่สูงที่สุด คือ ร้อยละ 21 เมื่อพ.ศ. 2544 (ซึ่ งเป็ นผลมาจากวิกฤตที่ เกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2540) เหลือเพียงร้อยละ 9 ในพ.ศ. 2551 อนึ่ ง ความยากจนในประเทศไทยเป็ นปรากฏการณ์ที่ 3 ั ู ั หนี้สาธารณะในปัจจุบนมีมลค่าร้อยละ 42 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศซึ่งยังคงมีอตราต่ากว่าเพดานที่ร้อยละ 60 ตาม กรอบการดาเนินการเพื่อความยังยืนทางการเงินของประเทศไทย องค์ประกอบของปริ มาณหนี้ได้เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากหนี้ที่เป็ น ่ สกุลเงินตราต่างประเทศ ซึ่ งมีมูลค่าคิดเป็ นร้อยละ 39 ของหนี้ สาธารณะทั้งหมดเมื่อ พ.ศ. 2542 ลดลงเหลือเพียงประมาณร้อยละ 12 แม้ว่าหนี้ สาธารณะจะยังคงเพิ่มสู งขึ้นจนถึงปี พ.ศ. 2555 (ซึ่ งสะท้อนให้เห็นถึงโครงการกระตุนเศรษฐกิ จ) แต่ก็มีการคาดการณ์ว่า ้ สถานการณ์ดงกล่าวจะไม่ก่อให้เกิดความเสี ยหายใด ๆ ั 4 การลดความยากจนในระยะยาวมีความเกี่ ยวข้อ งกับการเติ บโตทางเศรษฐกิ จอย่างชัดเจน เนื่ องจากระบบตาข่ายความ ่ ปลอดภัยทางสังคมและนโยบายอื่นๆ เพื่อช่วยลดปัญหาความยากจนยังมีอยูจากัด 11 เกิ ดขึ้ นในเขตชนบทเป็ นส่ วนใหญ่ มีประชากรที่ มีฐานะยากจนจานวน 5.4 ล้านคน ซึ่ งร้ อยละ 88 ของจานวน ดังกล่าวอาศัยในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ 18. วิกฤตการเงินของโลกส่ งผลให้ การดาเนินการแก้ ไขปั ญหาความยากจนต้ องหยุดชะงักลงใน พ.ศ. 2552 ผลกระทบที่โยงใยจากความผันผวนทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นกับประชากรที่มีฐานะยากจนในประเทศไทยนั้นยากที่จะ ั ทาการชี้ วด อย่างไรก็ตามมีแนวโน้มว่าจานวนประชากรที่ ยากจนเพิ่มจานวนขึ้ น ระดับการบริ โภคต่อบุคคลที่ ั แท้จริ ง ซึ่ งมีความสัมพันธ์กบอัตราความยากจนเป็ นอย่างมากลดลงเป็ นครั้งแรกในพ.ศ. 2552 นับจากครั้งเกิดวิกฤต เมื่อ พ.ศ. 2540 เมื่อนาความยืดหยุ่นระหว่างการบริ โภคในครัวเรื อนและอัตราความยากจนมาพิจารณาจะสามารถ ่ คาดการณ์ได้วาอัตราการบริ โภคในครัวเรื อนต่อบุคคลที่ลดลงในอัตราร้อยละ 1.7 นั้นอาจมีความเกี่ยวกับอัตราความ ยากจนที่เพิ่มสูงขึ้นระหว่าง 0.5 ถึง 1 จุด ่ ี ่ แผนภาพที่ 1 จานวนประชากรทีมฐานะยากจนและผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศทีแท้ จริง ตั้งแต่ พ.ศ. 2531 – 2550 ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายด้ านเศรษฐกิจที่ดีส่งผลให้ ประเทศไทยมีความก้ าวหน้ าในการบรรลุถึงเป้ าหมายการพัฒนาแห่ งสหัสวรรษ และมีแนวโน้ มที่จะบรรลุเป้ าหมายดังกล่ าวได้ ท้ ังหมดอีกด้ วย (ตารางที่ 2)5 อย่างไรก็ตาม ยังคงมีความแตกต่าง เกิ ด ขึ้ น ในภู มิ ภ าคและกลุ่ มชาติ พ น ธุ์ ต่ า ง ๆ 6 นอกจากนี้ ยังคงมี ค วามกัง วลในเป้ าหมายด้า นความยัง ยื น ทาง ั ่ 5 จากการวิเคราะห์ (“Who are the MDG Trailblazers? A new MDG Progress Index”, by Benjamin Leo and Julie Barmeia, Center for Global Development, August 2010) ประเทศไทยได้คะแนนความก้าวหน้าในการบรรลุเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ ่ ของประเทศไทยอยูในระดับปานกลางสาหรับกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง 6 ประเทศไทยประกอบด้วยกลุ่มชาติพนธุ์กว่า 30 กลุ่ม ที่มีความแตกต่างกันในด้านต่าง ๆ อาทิ ประวัติศาสตร์ ภาษา และ ั รู ปร่ างหน้าตา ประชากรส่ วนใหญ่ซ่ ึ งมีจานวนประมาณร้อยละ 75 ของจานวนประชากรทั้งหมด และพูดภาษาเดียวกัน สามารถแบ่ง ออกได้เป็ น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ (ก) ไทยกลาง (ข) ไทยอิสาน และ (ค) ไทยใต้ ชนกลุ่มน้อยที่มีจานวนมากที่สุด ได้แก่ ชาวไทยเชื้อ สายจีน (ประมาณร้อยละ 14 ของจานวนประชากรทั้งหมด) ชาวไทยเชื้อสายมาเลย์ (ร้อยละ 3 ถึง 4) และชาวไทยเชื้อสายเขมร (ร้อยละ ่ 1) ในหมู่ชนกลุ่มน้อยต่างๆ ยังประกอบด้วยชนเผ่าต่าง ๆ ซึ่งโดยมากเป็ นชาวไทยภูเขาที่อาศัยอยูในหุ บเขาทางภาคเหนื อของประเทศ อาทิ กุย กะเลิง มอญ ม้ง กะเหรี่ ยง อาข่า มูเซอ แม้ว ขมุ ถิ่น ละว้า และ โส้ 12 ่ สิ่ งแวดล้อม ถึงแม้วาในขณะที่มีแนวโน้มว่าประชากรจะมีน้ าสะอาดและระบบสุ ขาภิบาลสาหรับอุปโภคที่ดีข้ ีน แต่ ประเทศไทยยังคงต้องใช้ความพยายามร่ วมกันในการดาเนิ นการด้านสิ่ งแวดล้อมอี กหลายประเด็น ซึ่ งรวมถึ ง คุณภาพอากาศในกรุ งเทพมหานคร คุณภาพน้ าในแม่น้ าสายหลัก และการตัดไม้ทาลายป่ า หากประเทศไทยต้องการ บรรลุเป้ าหมายดังกล่าว ่ ตารางที่ 2 ความก้ าวหน้ าในการดาเนินการเพือบรรลุเป้ าหมายการพัฒนาแห่ งสหัสวรรษ ประเทศที่มีรายได้ต่า ประเทศที่มีรายได้ และประเทศที่มี ค่ อนข้ างต่าในกลุ่มที่ ้ เปาหมายการพัฒนาแห่ งสหัสวรรษ/ตัวชี้วัด ประเทศไทย รายได้ปานกลางใน ประเทศที่มีรายได้ ภูมิภาคเอเชียและ ปานกลางของโลก แปซิฟิก ้ เปาหมายที่ 1 ขจัดความยากจนและหิวโหย 2533- 2543– 2533- 2543– 2533- 2543– 2535 2550(1) 2535 2550 2535 2550 สัดส่ วนประชากรที่อยู่ต่ากว่าเส้นแบ่งความยากจนของประเทศ 33.7 8.5 n/a n/a n/a n/a (ร้อยละ) ช่องว่างความยากจนที่จานวนเงิน 2 เหรี ยญสหรัฐต่อวัน 6.2 2.0 n/a n/a n/a n/a จานวนเด็กที่มีน้ าหนักต่ากว่ามาตรฐานที่มีอายุต่ากว่า 5 ปี 17.4 7.0 n/a 12.8 n/a 24.8 ้ เปาหมายที่ 2 ให้ เด็กทุกคนได้รับการศึกษาระดับประถมศึกษา อัตราส่ วนการเข้าศึกษาในระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งหมด 88 94 96 93 93 93 ้ เปาหมายที่ 3 ส่ งเสริมความเท่ าเทียมกันทางเพศและการส่ งเสริมบทบาทสตรี อั ต ราส่ วนของนั ก เรี ยนเพศหญิ ง ต่ อ เพศชายในโรงเรี ยน 97 104 89 99 89 98 ประถมศึกษา/มัธยมศึกษา (ร้อยละ) ้ เปาหมายที่ 4 ลดอัตราการเสี ยชีวิตของเด็ก ิ อัตราการการเสี ยชีวตของเด็กที่มีอายุต่ากว่า 5 ปี (ต่อ 1,000 คน) 31 8 56 29 60 36 ิ อัตราการการเสี ยชีวตของทารก (ต่อ 1,000 คน) 26 6 42 22 58 38 ้ เปาหมายที่ 5 พัฒนาสุ ขภาพหญิงมีครรภ์ ิ อัตราการเสี ยชีวตของหญิงมีครรภ์ (ต่อเด็กเกิดมีชีวิต 100,000 คน) n/a 110 n/a 150 n/a 180 ิ อัตราการเสี ยชีวตทั้งหมด 2.1 1.8 2.4 2.0 2.6 2.1 ้ ั ่ เปาหมายที่ 6 ต่ อสู้ กบเชื้อเอชไอวี/โรคเอดส์ มาลาเรีย และโรคสาคัญอืน ๆ จานวนประชากรที่ติดเชื้อเอชไอวี (ร้อยละของจานวนประชากร n/a 1.4 n/a 0.3 n/a 0.2 ที่มีอายุระหว่าง 15 – 49 ปี ) ั สถานการณ์วณโรค (ต่อประชากร 100,000 คน) n/a 142 n/a 135 n/a 116 ้ เปาหมายที่ 7 รักษาและจัดการสิ่ งแวดล้ อมอย่ างยั่งยืน การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (เมตริ กตันต่อหัว) 1.8 4.3 1.9 3.3 2.3 3.4 ั การเข้าถึงการให้บริ การด้านสุ ขาภิบาลที่พฒนาขึ้น (ร้อยละของ 80 99 30 51 37 55 จานวนประชากร) ข้ อมูลอ้างอิง รายได้มวลรวมประชาชาติต่อหัว (เหรี ยญสหรัฐ) 3,050 1,856 2,038 13 ที่มา: กองทุนเพื่อเด็กแห่ งสหประชาชาติ, State of the World’s Children 2008, World Development Indicators สานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หมายเหตุ: (1) ข้อมูลที่อยู่ในหัวข้อ (2543-2550) เป็ นข้อมูลที่เป็ นปั จจุบนที่มีอยู่ (2) การวัดการเสี ยชี วิตของหญิงมีครรภ์สามารถ ั ดาเนิ นการได้ 2 วิธี ได้แก่ (ก) การประมาณการณ์ของประเทศ ซึ่ งมีพ้ืนฐานจากการสารวจ การบันทึกสถิติ ฯลฯ และ (ข) การ คาดการณ์ โดยการสร้ างแบบจาลอง ซึ่ งมีพ้ืน ฐานจากการดาเนิ นการขององค์การอนามัยโลก กองทุ นเพื่อเด็กแห่ งสหประชาชาติ กองทุ น ประชากรแห่ งสหประชาชาติ และธนาคารโลก การคาดการณ์ เหล่ านี้ อาจแตกต่ างกัน ไปในแต่ ล ะประเทศเป็ นอย่างมาก ั สาหรับตัวเลขในตารางข้างต้นมาจากการคาดการณ์โดยการสร้างแบบจาลอง เพื่อให้มีตวเลขเปรี ยบเทียบ 19. เนื่ อ งจากมีแนวโน้ มที่ จะบรรลุ เ ป้ าหมายส่ วนใหญ่ ข องการพัฒ นาแห่ งสหั สวรรษ ประเทศไทยจึงได้ นาเสนอแนวคิด “เป้ าหมายการพัฒนาแห่ งสหัสวรรษพิเศษ (MDG Plus)” ซึ่ งเป็ นเป้ าหมายที่กาหนดขึ้นเพื่อ ้ วัตถุประสงค์ เฉพาะ และจาเป็ นต้ องมีความพยายามในการบรรลุมากยิ่งขึนกว่ าเป้ าหมายการพัฒนาแห่ งสหัสวรรษ ั สากล (ตารางที่ 3) กรอบเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษพิเศษนี้ครอบคลุมถึงดัชนีช้ ีวดที่ได้รับการขยายขอบเขต ั ให้มากยิ่งขึ้ นเพื่อกากับดูแลการพัฒนามนุ ษย์ในประเทศไทย ตลอดจนพัฒนาดัชนี ช้ ี วดเป้ าหมายการพัฒนาแห่ ง ั สหัสวรรษเดิ มไปในแนวทางที่สาคัญ 3 ประการดังนี้ ประการแรก กาหนดดัชนี ช้ ี วดที่มีการพิจารณาข้อมูลที่ มี ั คุณภาพเพื่อการกากับดูแลที่ดียิ่งขึ้น ซึ่ งข้อมูลเหล่านี้อาจไม่ปรากฎในตัวชี้วดเป้ าหมายการพัฒนาแห่ งสหัสวรรษเดิม ประการที่ ส อง มี การขยายขอบเขตการกากับดูแ ลเพื่ อวัดผลประโยชน์ที่มีต่ อสมาชิ กทุ กคนในสังคมไทย และ ั ประการที่สาม มีการระบุความแตกต่างในด้านภูมิศาสตร์ เนื่ องจากดัชนี ช้ ี วดของประเทศโดยรวมอาจไม่เอื้อให้มี การระบุถึงความไม่เสมอภาคในภูมิภาคและกลุ่มชาติพนธุ์ที่สาคัญ ๆ บางประการ โดยมีการมุ่งเน้นไปยังจังหวัด ั แถบภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ พื้นที่แถบภูเขา และ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 20. แม้ ว่าการริ เริ่ มเป้ าหมายการพัฒนาแห่ งสหั สวรรษพิเศษนี้จะเป็ นการแสดงให้ เห็นถึงสิ่ งที่ประเทศไทย ้ “สามารถดาเนินการได้ ” และเป็ นวิธีการเพื่อการพัฒนาที่มีพืนฐานมาจากผลการดาเนินการ หากแต่ การบรรลุถึง ั เป้ าหมายดังกล่ าวก็ยงคงเป็ นความท้ าทายที่ยากจะรับมือได้ ในปัจจุบน ประเทศไทยยังไม่สามารถบรรลุถึงเป้ าหมาย ั การพัฒนาแห่ งสหัสวรรษส่ วนใหญ่ที่จะต้องบรรลุใน พ.ศ. 2549 และเป้ าหมายที่จะลดความยากจนให้เหลือต่ากว่า ้ ร้อยละ 4 ภายใน พ.ศ. 2552 ก็ตองประสบความท้าทายที่เกิดจากวิกฤตที่เพิ่งเกิดขึ้น ยิ่งไปกว่านั้น ประเทศไทยยังคง ต้องเผชิ ญหน้ากับปั ญหาด้านคุ ณภาพและความถูกต้องของข้อมูล รวมทั้งการเก็บข้อมูลในภูมิภาคที่ การพัฒนา เป็ นไปอย่างเชื่องช้า และในกลุ่มชาติพนธุ์ที่แตกต่างกันอีกด้วย ั ตารางที่ 3 เป้ าหมายMDG+ ของประเทศไทย จุดมุ่งหมาย เป้ าหมาย ขจัดความยากจนและหิ วโหย - ลดความยากจนให้ต่ากว่าร้อยละ 4 ภายในพ.ศ.2552 ให้ เ ด็ ก ทุ ก คนได้ รั บ การศึ ก ษา - การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นทัวประเทศภายในพ.ศ. 2549 ่ ระดับประถมศึกษา - การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทัวประเทศภายในพ.ศ. 2558 ่ ส่งเสริ มความเท่าเทียมกันทางเพศ - เพิ่มสัดส่ วนสตรี ในรัฐสภา องค์การบริ หารส่ วนตาบล และตาแหน่ งบริ หารใน และส่งเสริ มบทบาทสตรี หน่วยงานราชการขึ้นเป็ น 2 เท่าภายในพ.ศ. 2549 14 ลดอัตราการตายของเด็ก ิ - ลดอัตราการเสี ยชีวตของทารกให้เหลือ 15 คนต่อจานวนเด็กเกิดมีชีวิต 1,000 คน ภายในพ.ศ. 2549 - ลดจานวนเด็กที่ เสี ยชี วิตก่อนอายุ 5 ปี ในพื้นที่ ภูเขา จังหวัดในภาคเหนื อบาง จังหวัด และ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ลงครึ่ งหนึ่ ง ในระหว่าง พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2558 พัฒนาสุขภาพสตรี มีครรภ์ ิ - ลดอัตราการเสี ยชีวตของหญิงมีครรภ์ให้เหลือร้อยละ 18 ต่อจานวนเด็กแรกเกิดที่ ิ มีชีวต 100,000 คน ภายใน พ.ศ. 2549 - ลดอัตราการเสี ยชีวิตของหญิงมีครรภ์ในพื้นที่ ภูเขาในภาคเหนื อ และ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ลงครึ่ งหนึ่งระหว่าง พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2558 ต่อสูโรคเอดส์ ้ - ลดการแพร่ เชื้ อเอชไอวี/เอดส์ในกลุ่มประชากรวัยเจริ ญพันธุ์ลงเหลือร้อยละ 1 ก่อน พ.ศ. 2549 มาลาเรี ยและวัณโรค - ลดการเกิ ดโรคมาลาเรี ยใน 30 จังหวัดชายแดนให้เหลื อ 1.4 คนต่อ 1,000 คน ภายใน พ.ศ. 2549 - เพิ่มสัดส่ วนของการใช้พลังงานทดแทนขึ้นเป็ นร้อยละ 8 ของการใช้พลังงานเชิง ั พาณิ ชย์ข้ นต้นภายใน พ.ศ. 2554 - เพิ่มสัดส่ วนการนาสิ่ งปฏิกูลจากชุมชนกลับมาใช้ใหม่ข้ ึนเป็ นร้อยละ 30 ภายใน พ.ศ. 2549 ง. บริ บทด้ านการเมืองการปกครอง 21. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิ ทธิราชเป็ นประชาธิปไตยเมื่อ พ.ศ. 2475 การเมืองของประเทศไทยก็ตกอยู่ในสภาวะไร้ เสถียรภาพและความไม่ แน่ นอนอยู่เป็ นระยะเวลาหลายต่ อหลาย ทศวรรษ โดยมีการปฏิวัติของทหารเกิดขึ้นเป็ นระยะ รวมถึงการจัดตั้งรั ฐบาลผสมที่ไม่ มีความมั่นคง ในช่วงเวลา ั ั ดังกล่าวนี้ แต่ละรัฐบาลมีวาระการปฏิบติงานโดยเฉลี่ยไม่เกิน 4 ปี มีอตราการซื้ อเสี ยงในการเลือกตั้งสู ง และหลาย รัฐบาลถูกกล่าวหาว่าทุจริ ต ยิ่งไปกว่านั้นการปะทะระหว่างกองทัพและกลุ่มการเมืองหลายกลุ่มยังเกิดขึ้นเป็ นระยะ ในบางกรณี น้ น การปะทะจะสงบลงได้ก็ต่อเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวซึ่ งเป็ นกษัตริ ยที่ชาวไทยถวายความ ั ั ์ จงรักภักดีทรงเข้ามามีส่วนร่ วมในการไกล่เกลี่ยเท่านั้น 22. ใน พ.ศ. 2540 เป็ นช่ วงที่วิกฤตเศรษฐกิจและการเงินในเอเชี ยตะวันออกตกต่าถึงขีดสุ ด ประเทศไทยได้ ประกาศใช้ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งเตรียมการโดยการมีส่วนร่ วมจากทุกภาคส่ วนที่สะท้ อนให้ เห็นถึงการแสดงออก ทางความคิดของชนชั้นกลางที่เพิ่มมากขึนอีกด้ วย คาดการณ์ว่า รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวจะนาไปสู่ ระบอบการ ้ ้ ปกครองที่มีเสถียรภาพ เปิ ดกว้าง และมีความเป็ นประชาธิ ปไตยมากยิ่งขึ้ น ตลอดจนจะเป็ นแรงกระตุนให้เกิดการ ปฏิ รู ปทางเศรษฐกิ จและสังคมครั้ งใหญ่ ในช่ วงเวลาระหว่า งปี พ.ศ. 2540 ถึ ง 2544 รั ฐบาลที่ นาโดยพรรค ประชาธิ ปัตย์ได้ก่อตั้งสถาบันเฝ้ าระวังอิสระขึ้ นภายใต้การกากับดูแลของรัฐบาล ดาเนิ นการฟื้ นฟูเสถียรภาพของ เศรษฐกิ จมหภาค รวมทั้งเริ่ มปฏิ รูปโครงสร้างภาคการเงิ น ภาคธุ รกิ จและสังคม ในการเลื อกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2544 พรรคไทยรั กไทย (ทรท.) โดยการนาของนายทักษิ ณ ชิ นวัตร ซึ่ งมุ่งเน้นนโยบายในการให้ค วามช่ วยเหลื อแก่ 15 ประชาชนที่ มีฐานะยากจนและพื้นที่ ชนบทได้ชนะการเลือกตั้งอย่างถล่มทลาย นายทักษิณได้รับการแต่งตั้งเป็ น นายกรั ฐมนตรี และจัด ตั้งรั ฐ บาลผสมที่ นาโดยพรรคไทยรั กไทยซึ่ งได้ปฏิ บัติหน้า ที่ จนครบวาระ และด าเนิ น โครงการสาคัญจากนโยบายการเลือกตั้ง อาทิ โครงการประกันสุ ขภาพถ้วนหน้า การส่ งเสริ มกองทุนหมู่บานเพื่อให้ ้ ความช่ วยเหลือแก่ โครงการต่ าง ๆ ในท้องถิ่น รวมทั้งโครงการพักชาระหนี้ เกษตรกร นอกจากนี้ รัฐบาลทักษิ ณ ชินวัตรยังได้สานต่อการปฏิรูปจากรัฐบาลชุดก่อนหน้าอย่างต่อเนื่องอีกด้วย 23. ภายหลังช่ วงเวลาที่การเมืองของประเทศดูเหมือนจะมีเสถียรภาพระหว่ างปี พ.ศ. 2543 – 2547 ความ ่ ั แตกแยกทางสั งคมก็ได้ ส่งผลให้ เกิดความตึงเครียดทางการเมืองขึนอีกครั้ง แม้วานายกรัฐมนตรี ทกษิณ ชิ นวัตรและ ้ ้ พรรคไทยรักไทยจะยังคงเป็ นผูนารัฐบาลภายหลังการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2548 แต่มีการประท้วงตามท้องถนนที่นา โดยกลุ่มชนชั้นกลางขึ้นในกรุ งเทพมหานคร เพื่อต่อต้านการทุจริ ต การเล่นพรรคเล่นพวก และการใช้อานาจในทาง มิ ช อบของรั ฐ บาลและนายกรั ฐมนตรี นอกจากนี้ กลไกตรวจสอบและถ่ ว งดุ ล อานาจนั้นยังถูก มองว่า ไร้ ซ่ ึ ง ประสิ ทธิ ภาพ เนื่องจากการแทรกแซงทางการเมือง การเลือกตั้งใหม่เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2549 ถูกตัดสิ นให้เป็ น โมฆะเนื่องจากความมิชอบในการจัดการเลือกตั้งและได้กาหนดการเลือกตั้งใหม่อีกครั้งในเดือนตุลาคม เมื่อเดือน กันยายน พ.ศ. 2549 กองทัพได้เข้าแทรกแซงโดยอ้างว่าเพื่อระงับการปะทะกันที่อาจเกิดขึ้ นระหว่างกลุ่มที่ให้การ สนับสนุ นและกลุ่มต่อต้านรัฐบาลได้ลมล้างรั ฐบาลให้หมดจากอานาจในการบริ หารประเทศ กองทัพได้จดตั้ง ้ ั รัฐบาลใหม่โดยมี พลเอกสุ รยุทธ์ จุลลานนท์ ดารงตาแหน่ง นายกรัฐมนตรี โดยมีคณะรัฐมนตรี ส่วนใหญ่มาจากกลุ่ม นักวิชาการในวงสังคมชั้นสู ง หลังจากนั้นได้มีการตรวจสอบพบว่ากรรมการบริ หารพรรคไทยรักไทยมีความผิด ฐานละเมิดกฎหมายเลือกตั้ง ศาลรัฐธรรมนูญจึงได้พิพากษาให้ยุบพรรคไทยรักไทยและเพิกถอนสิ ทธิ ทางการเมือง ั ของกรรมการบริ หารพรรคจานวน 111 คน เป็ นระยะเวลา 5 ปี ต่อมา พรรคไทยรักไทยได้จดตั้งพรรคการเมืองขึ้น ใหม่ภายใต้ชื่อ พรรคพลังประชาชน (พปช.) ซึ่ งประกอบด้วยสมาชิ กของพรรคไทยรั กไทยที่ ยงเหลื อ ในเดื อน ั ธันวาคม พ.ศ. 2550 ก็ได้มีการเลือกตั้งขึ้นอีกครั้งหนึ่ งซึ่ งนาไปสู่ การจัดตั้งรัฐบาลผสมที่มีพรรคพลังประชาชนเป็ น ้ ผูนารัฐบาล 24. ่ กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพือประชาธิปไตย (พธม.) ซึ่งเป็ นกลุ่มประชาชนที่ต่อต้ านรั ฐบาลที่รวมตัวกันขึน ้ เมื่อครั้ งการปฏิวัติรัฐประหารเมื่อ พ.ศ. 2549 ได้ ประท้ วงตามท้ องถนนในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2551 และบุกเข้ า ้ ั ไปยังทาเนียบรัฐบาลในเดือนกันยายน และเข้ ายึดพืนที่ดงกล่ าวไว้ เป็ นระยะเวลายาวนานเพื่อตอบโต้ ความสั มพันธ์ ที่ พรรคพลังประชาชนมีต่อ นายทักษิณ ชิ นวัตรนั้น ในเดื อนตุ ลาคม พ.ศ. 2551 ได้เกิ ดการปะทะกันขึ้ นระหว่าง เจ้าหน้าที่ตารวจและกลุ่มพันธมิตรฯ ซึ่ งนาไปสู่ การเรี ยกร้องให้นายกรัฐมนตรี ลาออกจากตาแหน่ ง ต่อมาในวันที่ 28 พฤศจิ กายน กลุ่ มพันธมิ ต รฯ ได้บุกเข้า ยึด พื้ นที่ ส นามบิ นสุ วรรณภู มิ ซึ่ งนาไปสู่ การประกาศสภาวะฉุ กเฉิ น หลังจากนั้น ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยว่ากรรมการบริ หารพรรคมีความผิดฐานซื้ อเสี ยงในคดีที่รับฟ้ องไว้เมื่อเดือน ุ มกราคม พ.ศ. 2551 จึงพิพากษาให้ยบพรรคพลังประชาชนรวมทั้งพรรคร่ วมรัฐบาลอีก 2 พรรค เหตุการณ์ดงกล่าว ั ทาให้จาเป็ นต้องเปลี่ยนรัฐบาล และด้วยเหตุน้ ี จึงได้มีการก่อตั้งพรรคการเมืองขึ้นมาใหม่ โดยใช้ชื่อพรรคว่า พรรค เพื่ อไทย ซึ่ ง สมาชิ ก พรรคก็คื อ สมาชิ กพรรคพลังประชาชนที่ ย งคงเหลื ออยู่นั่น เอง พัน ธมิ ตรประชาชนเพื่ อ ั ประชาธิ ปไตยก็ได้หยุดการชุมนุมประท้วงซึ่ งดาเนินต่อเนื่ องมาเป็ นระยะเวลายาวนานหลายเดือนของตนลงด้วยใน เวลาเดียวกัน 16 25. เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 สภาผู้แทนราษฎรได้ มีมติแต่ งตั้งนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้ าพรรค ประชาธิ ปัตย์ ขึ้นเป็ นนายกรั ฐมนตรี คนใหม่ ของประเทศไทย ซึ่ งส่ งผลให้ เกิดการจัดตั้ งรั ฐบาลผสมที่มีพรรค ประชาธิปัตย์ เป็ นผู้นา รัฐบาลผสมที่ ได้รับการแต่งตั้งขึ้ นนี้ มาจากสมาชิ กพรรคประชาธิ ปัตย์และสมาชิ กที่ ลาออก จากพรรคพลังประชาชนเดิมซึ่ งมีฐานเสี ยงจากประชาชนในพื้นที่ชนบทเนื่องจากมีความขัดแย้งกับพรรคเก่า ความ ตึงเครี ยดทางการเมืองอยู่ในสภาวะที่ ผ่อนคลายลงเป็ นระยะเวลา 2-3 เดื อน อย่างไรก็ตาม กลุ่มผูสนับสนุ นอดี ต ้ นายกรัฐมนตรี ทกษิณ ชิ นวัตร ภายใต้ชื่อ กลุ่มแนวร่ วมประชาธิ ปไตยต่อต้านเผด็จการแห่ งชาติ (นปช.) และพรรค ั เพื่อไทยยังคงแสดงออกถึงแรงต่อต้านที่มีต่อรัฐบาลชุดใหม่อย่างต่อเนื่อง นปช. ได้ชุมนุมประท้วงในเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 ทาให้การประชุ มสุ ดยอดผูนาอาเซี ยนต้องถูกยกเลิกไป และยังนาไปสู่ สภาวการณ์รุนแรงที่ เกิดขึ้ นใน ้ กรุ งเทพมหานครที่ ต่อเนื่ องกันเป็ นระยะเวลาถึ ง 3 วัน ส่ งผลให้รัฐต้องประกาศสภาวะฉุ กเฉิ นในพื้นที่ ดงกล่าว ั ภายใต้คาสังของนายกรัฐมนตรี กองทัพได้เข้าแทรกแซงความวุ่นวายที่เกิดขึ้น และนาความสงบเรี ยบร้อยกลับคืน ่ ่ มาในพื้นที่อีกครั้ง อย่างไรก็ตาม นปช. ยังคงมีการชุมนุมประท้วงอย่างสงบอยูในกรุ งเทพมหานคร 26. ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ศาลฎีกามีคาพิพากษาให้ยึดทรัพย์สินกว่าครึ่ งของทรัพย์สินที่ไม่สามารถ เปลี่ยนเจ้าของได้ของอดี ตนายกรัฐมนตรี ทกษิณ ชิ นวัตร และครอบครัว มูลค่า 75 ล้านบาท 7 แม้ว่านักสังเกตการณ์ ั ทางการเมืองจะมองว่าคาพิพากษาดังกล่าวเป็ นการประนีประนอมในการเผชิญหน้าทางการเมืองแบบ “ผูชนะได้ทุก ้ อย่าง” ที่ กาลังทวีความรุ นแรงขึ้นในประเทศไทย แต่ก็ไม่ได้ทาให้กลุ่ม นปช. ซึ่ งเป็ นผูสนับสนุนหัวรุ นแรงที่เรี ยก ้ กันในนาม “คนเสื้ อแดง” พอใจ กลุ่มผูประท้วงเสื้ อแดงเริ่ มเดิ นขบวนเข้าสู่ กรุ งเทพมหานครในช่ วงกลางเดื อน ้ มีนาคม8 และตั้งพื้นที่ ชุมนุ มขึ้ นในเขตการค้าใจกลางกรุ งเทพมหานครในเวลาไม่กี่สัปดาห์ต่อมา การปะทะกัน ้ ระหว่างเจ้าหน้าที่ความมันคงกับผูชุมนุมเกิดขึ้นเป็ นครั้งแรกในวันที่ 10 เมษายน ซึ่ งส่ งผลให้มีผเู ้ สี ยชี วิตทั้งสิ้ น 25 ่ คนจากทั้งสองฝ่ าย เหตุ ด ังกล่ า วส่ งผลให้ย่า นธุ ร กิ จใจกลางกรุ งเทพมหานคร ซึ่ งรวมถึ งอาคารที่ ทาการของ สานักงานธนาคารโลกประจาประเทศไทยถูกปิ ดลง นายกรัฐมนตรี ได้เสนอแผนปรองดองเพื่อแก้ไขความขัดแย้ง ้ ดังกล่าว ซึ่ งรวมถึ งการจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในเดื อนพฤศจิ กายน พ.ศ. 2553 ซึ่ งผูชุมนุ มได้ปฏิ เสธข้อเสนอ ั ดังกล่าว ท่ามกลางเสี ยงเรี ยกร้องให้จดตั้งรัฐบาลผสมเพื่อบังคับใช้กฎหมายนั้น กองกาลังเจ้าหน้าที่ทหารได้เริ่ มเข้า 7 คณะผูพิพากษาลงมติ เป็ นเอกฉันท์ว่า นายทักษิณ ชิ นวัตร ละเมิดกฎหมายต่อต้านการทุ จริ ตโดยถื อหุ ้นในองค์กรธุ รกิ จ ้ เอกชนผ่านตัวแทนในขณะดารงตาแหน่ งนายกรัฐมนตรี ในระหว่าง พ.ศ. 2544–2549 นอกจากนี้ ศาลยังพบว่า อดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ มีความผิดฐานมีผลประโยชน์ท ับซ้อ นและใช้อานาจในทางมิช อบ โดยการประกาศใช้น โยบายที่ มีมุ่งให้ผลประโยชน์แ ก่ ั บริ ษท ชิน คอร์ปอเรชัน ซึ่งเป็ นธุรกิจที่สาคัญที่สุดของครอบครัวส่ งผลให้รัฐสู ญเสี ยรายได้ที่พึงได้รับเป็ นมูลค่ามหาศาล ่ 8 ในขณะที่ผชุมนุมประท้วงเริ่ มรวมตัวกัน นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะได้เลื่อนการเดินทางไปยังประเทศออสเตรเลีย ู้ จากกาหนดการเดิม คือ ระหว่างวันที่ 13-17 มีนาคม และคณะรัฐมนตรี ก็ได้มีมติให้ประกาศให้ใช้พระราชกาหนดสถานการณ์ฉุกเฉิ น ในเขตกรุ งเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 11-23 มีนาคม จากพระราชกาหนดฉบับดังกล่าว กองทัพจึงสามารถให้ความช่วยเหลือแก่ ้ เจ้าหน้าที่ตารวจ และมีการให้อานาจแก่รัฐในการตั้งด่านตรวจ ตลอดจนจากัดการเคลื่อนไหวของผูชุมนุ มประท้วงในบางพื้นที่ ใน ่ ่ เวลาต่อมา ความวุนวายยังคงดาเนินต่อไปโดยผูชุมนุมได้เข้าร่ วมกับกลุ่มที่ชุมนุมประท้วงอยูที่บริ เวณรัฐสภา รัฐบาลได้มีการประกาศ ้ ั ภาวะฉุ กเฉิ นเมื่อวันที่ 7 เมษายน และขยายขอบเขตพื้นที่ที่มีผลบังคับใช้ ในช่ วงเวลาที่สถานการณ์คบขันจนถึงขีดสุ ดนั้นมีการ ั ประกาศภาวะฉุ กเฉิ นใน 24 จังหวัด จากทั้งหมด 76 จังหวัด และในวันที่ 8 กันยายน ก็ยงมีการประกาศภาวะฉุ กเฉิ นในพื้น ที่ กรุ งเทพมหานครและจังหวัดอื่น ๆ อีก 6 จังหวัด 17 ปิ ดล้อมพื้นที่ชุมนุมในวันที่ 14 พฤษภาคม ผูชุมนุ มที่ มีอุปกรณ์ที่สามารถใช้เป็ นอาวุธได้ในมือได้เข้าโจมตีด่าน ้ ตรวจของเจ้าหน้าที่ทหาร การปะทะกันตามท้องถนนดาเนิ นต่อเนื่ องอยู่เป็ นระยะเวลาหลายวันส่ งผลให้มีผเู ้ สี ยชี วิต ้ ้ 65 คน และผูได้รับบาดเจ็บอีกกว่า 800 คนจากทั้งสองฝ่ าย แกนนาผูชุมนุ มเสื้ อแดงยอมเข้ามอบตัวในวันที่ 19 พฤษภาคม อย่างไรก็ตาม ภายหลังการมอบตัว ได้เกิ ดการวางเพลิงอาคารหลายแห่ ง ซึ่ งรวมถึงห้างสรรพสิ นค้าที่ ใหญ่ที่สุดในกรุ งเทพมหานครและอาคารที่ทาการของราชการในหลายจังหวัดอีกด้วย 27. ่ ในขณะที่สถานการณ์ ความวุ่นวายได้ คลีคลายลง แต่ ความตึงเครี ยดทางการเมืองก็ยังคงมีอยู่ ซึ่ งสะท้ อนให้ เห็ นถึงการดิ้นรนเพื่อแย่ งชิ งอานาจจากกลุ่มทางการเมืองและผู้มีส่วนได้ เสี ยกลุ่มต่ าง ๆ นอกเหนื อไปจากเรื่ อง รายได้ที่ไม่เท่าเทียมกันและความไม่เสมอภาคในภูมิภาคต่าง ๆ ในอัตราที่สูงแล้ว ยังมีปัจจัยประการอื่น ๆ ซึ่ งรวมถึง ประเด็นด้านการทุจริ ตและความไม่โปร่ งใส ตลอดจนความคาดหวังที่ เพิ่มขึ้ นจากการเติ บโตทางเศรษฐกิ จอย่าง รวดเร็ วล้วนมี ส่วนก่ อให้เกิ ดความตึ งเครี ยดในปั จจุ บน รวมทั้งยังนาไปสู่ ความแตกแยกทางการเมื องในสังคม ั โดยเฉพาะอย่า งยิ่ งตามแนวเส้นแบ่ งเขตของภู มิภ าคต่ า งๆ ปั จจุ บัน รั ฐบาลกาลังด าเนิ นการตามแนวทางการ ปรองดอง ซึ่ งครอบคลุมถึ งการมองหาแนวทางปฏิ รูปเพื่อลดสาเหตุ สาคัญ ๆ ของความตึ งเครี ยด ตลอดจนการ สอบสวนเหตุการณ์ความรุ นแรง แม้ว่าการเลือกตั้งจะต้องจัดให้มีข้ ึนก่อนสิ้ นปี พ.ศ. 2554 เมื่อสมาชิ กสภาผูแทน ้ ราษฎรหมดวาระลง แต่ก็อาจจัดให้มีการเลือกตั้งขึ้ นได้ก่อนเวลาดังกล่าวซึ่ งเป็ นทางเลือกที่นายกรัฐมนตรี ไม่ได้ ั ปฏิเสธแต่อย่างใด ทั้งนี้ การจัดให้มีการเลือกตั้งนั้นจาต้องขึ้นอยู่กบการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจที่ต่อเนื่ อง การกาหนด กฎหมายเลื อกตั้งที่ ไ ด้รั บ การยอมรั บจากทุ กฝ่ าย ตลอดจนการมี เ สถี ย รภาพทางความมันคง 9 ในสภาวะการ ่ เปลี่ ยนแปลงสู่ ระบอบประชาธิ ปไตยของประเทศไทยในปั จจุ บน ที่ ชนชั้นกลางทวี ความเข้มแข็งขึ้ น ตลอดจน ั ้ ประชาชนทัวไป ซึ่ งรวมถึงผูมีสิทธิ ออกเสี ยงเลือกตั้งในชนบทที่ได้รับข้อมูลข่าวสารมากขึ้นจากการเชื่ อมโยงกับ ่ โลกภายนอกมากขึ้นนั้น ดังนั้นระดับความไร้เสถียรภาพและความไม่แน่นอนทางการเมืองจึงมีแนวโน้มที่จะคงอยู่ ในระดับเดิมไปอีกระยะหนึ่ ง อย่างไรก็ตามเพื่อจัดการกับความแตกแยกที่ เกิดขึ้นและยังดารงอยู่ในสังคมปั จจุบน ั จาเป็ นต้องมีความพยายามในระยะยาวเพื่อสร้างความปรองดอง การกระจายอานาจ รวมถึงความตั้งใจที่ จะทาให้ ประเทศเข้าสู่ระบอบประชาธิ ปไตยมากยิ่งขึ้น 28. นอกเหนื อ ไปจากความไม่ แน่ น อนทางการเมือ ง สถานการณ์ ค วามไม่ สงบซึ่ ง มีร ากฐานมาจากความ แตกต่ า งทางชาติ พัน ธุ์ ศาสนา และประวัติ ศ าสตร์ ในพื้น ที่ ส ามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ (ปั ต ตานี ยะลา และ นราธิวาส) ก็ยังคงเป็ นปัญหาที่ดาเนินไปอย่ างต่ อเนื่อง 10 เหตุการณ์ความไม่สงบในภาคใต้ที่ทวีความรุ นแรงยิ่งขึ้ น 9 ั ปั จจัยที่สร้างความซับซ้อนอีกประการหนึ่ งได้แก่ ในปั จจุบน พรรคประชาธิ ปัตย์ถูกฟ้ องร้องดาเนิ นคดีที่รอการพิจารณา จานวน 2 คดี ซึ่ งเกี่ ยวข้องกับการรั บ เงินบริ จาคที่ผิดกฎหมายและการใช้เงินกองทุนพรรคการเมืองผิดวัตถุประสงค์ ซึ่ งหากศาล พิพากษาว่ามีความผิด พรรคประชาธิปัตย์จะต้องถูกยุบพรรค ดังนั้น มีความเป็ นไปได้ที่ในท้ายที่สุดนั้น รัฐบาลผสมอาจจะแตกแยก ่ ั ออกจากกัน แม้วาจะมีแนวโน้มค่อนข้างต่า เนื่องจากรัฐบาลได้ปฏิบติหน้าที่มาแล้วมากกว่า 18 เดือนก็ตาม 10 มักมีการระบุว่า สาเหตุของสถานการณ์ความไม่สงบที่เกิ ดขึ้ นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มาจากความแตกต่างทาง ศาสนา เชื้ อชาติ และภาษา ระหว่างชาวมุสลิมที่เป็ นประชากรส่ วนใหญ่ กับชาวพุทธในพื้นที่ นอกจากนี้ ความรู้สึกขับข้องใจทาง ศาสนาและประวัติศาสตร์ รวมทั้งข้อเท็จจริ งที่ว่าทั้งสามจังหวัดนี้ จดอยู่ในจังหวัดที่ยากจนที่สุดของประเทศด้วย สถานการณ์ความ ั ั ขัดแย้งที่เพิ่มความรุ นแรงขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2547 ตามมาด้วยเหตุการณ์ความรุ นแรงที่มสยิดกรื อเซ๊ ะและตากใบทาให้มีการส่ งกองกาลัง 18 ของถูกมองว่าเป็ นการแสดงการตอบโต้นโยบาย “การทาสงครามกับยาเสพติด” การดาเนิ นการอย่างแข็งกร้าวต่อ ประเด็นความขัดแย้งในภาคใต้ข องอดี ตนายกรั ฐมนตรี ทักษิ ณ ชิ นวัตร นับตั้งแต่ เดื อนมกราคม พ.ศ. 2546 มี ผูเ้ สี ยชีวิตในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้แล้วกว่า 4,000 ราย โดยการเสี ยชี วิตส่ วนใหญ่มีสาเหตุมาจากอาชญากรรม ในท้องถิ่นและความขัดแย้งส่ วนบุคคล และแม้ว่าจะมีเหตุการณ์ความรุ นแรงเกิดขึ้นบ่อยครั้งในพื้นที่เหล่านี้ แต่ใน ั บางครั้งความรุ นแรงก็ได้ขยายตัวออกไปยังพื้นที่จงหวัดใกล้เคียงด้วยเช่นกัน ปั ญหาที่สาคัญอีกประการหนึ่ งได้แก่ ประเด็นด้านเส้นแบ่งเขตชายแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศกัมพูชาในบริ เวณปราสาทพระวิหาร ปั ญหา ดังกล่าวทวีความรุ นแรงขึ้ นในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2551 และเดื อนเมษายน พ.ศ. 2552 โดยเกิ ดการยิงโต้ตอบกัน ั ระหว่างกองกาลังทหารของทั้งสองฝ่ าย อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ดงกล่าวก็ได้สงบลงเนื่ องจากทั้งสองประเทศได้ ตกลงที่จะแก้ไขปั ญหาร่ วมกันโดยการเจรจาทวิภาคี 11 ปลายปี พ.ศ. 2552 เกิดการต่อสู ้ข้ ึ นในบริ เวณชายแดน ซึ่ ง ส่ วนหนึ่ งเกี่ ยวโยงกับการแต่งตั้งอดีตนายกรัฐมนตรี ทกษิณ ชิ นวัตรเป็ นที่ปรึ กษาด้านเศรษฐกิจของนายกรัฐมนตรี ั 12 กัมพูชา และการต่อสู ้ก็ปะทุข้ ึ นอีกครั้งในเดื อนเมษายน พ.ศ. 2553 ประเทศกัมพูชาดาเนิ นการกับปั ญหาพื้นที่ ซ้อนทับดังกล่าวในฐานะที่เป็ นประเด็นระดับภูมิภาค/นานาชาติ ในขณะที่ไทยยืนยันว่าประเด็นดังกล่าวเป็ นปั ญหา ระหว่างทั้งสองประเทศ และไม่จาเป็ นต้องมีการแทรกแซงจากประเทศที่ สาม ในช่ วงกลางเดื อนสิ งหาคม พ.ศ. 2553 กัมพูชาได้ดาเนิ นการร้องขออย่างเป็ นทางการให้ประธานอาเซี ยน (ประเทศเวียดนาม) เข้ามาเป็ นตัวกลางใน ความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ซึ่ งเป็ นการกระทาที่ประเทศไทยปฏิเสธ โดยไทยได้ยืนยันอีกครั้งว่าทั้งสองประเทศสามารถ แก้ปัญหาร่ วมกันได้อย่างสันติผ่านช่องทางความร่ วมมือในระดับทวิภาคี ต่อมาในปลายเดือนสิ งหาคม กัมพูชาได้ ั ประกาศว่าอดีตนายกรัฐมนตรี ทกษิณ ชิ นวัตรได้ลาออกจากการเป็ นที่ปรึ กษา และทูตของทั้งสองประเทศก็ได้กลับ ั เข้าไปปฏิบติหน้าที่ตามเดิม 29. ่ แม้ จะมีความแตกต่ างทางการเมือง หากแต่ ประเด็นเกียวกับนโยบายทางเศรษฐกิจของพรรคการเมืองต่ างๆ กลับเป็ นไปในทิศทางที่สอดคล้ องกัน คือ การดาเนินการปฏิรูปทางเศรษฐกิจอย่ างต่ อเนื่อง ความไร้เสถียรภาพและ ความไม่แน่นอนทางการเมืองในประเทศไทยมีสาเหตุหลักมาจากการแย่งชิ งอานาจของกลุ่มทางการเมืองและผูมี ้ ส่ วนได้ส่วนเสี ยมากกว่าความคัดแย้งทางความคิด อันที่จริ งแล้วกลุ่มทางการเมืองหลักล้วนแต่มีแนวคิดสนับสนุน การพัฒ นาที่ นาโดยภาคเอกชน พรรคการเมื องเกื อบทุ กพรรคให้การสนับสนุ นโครงการส่ วนใหญ่ที่ มีการเริ่ ม ั ดาเนิ นการในช่วงการดารงตาแหน่งสมัยแรกของอดีตนายกรัฐมนตรี ทกษิณ ชิ นวัตร (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โครงการ หลักประกันสุ ขภาพถ้วนหน้า) และอย่างน้อยตามที่แต่ละพรรคการเมืองกล่าวอ้าง ทุกพรรคการเมืองก็มีความเห็น ั ่ ทหารไปประจาการ คนส่ วนใหญ่น้ นตระหนักดีวาการแก้ไขปัญหาความรุ นแรงจาเป็ นต้องอาศัยมากกว่าการดาเนินการทางทหาร อัน ได้แก่ การหาต้นเหตุที่แท้จริ งของสถานการณ์ที่เกิ ดขึ้น แม้ว่าสถานการณ์ทางการเมืองในกรุ งเทพมหานครจะเปลี่ยนแปลงไปมา รัฐบาลก็ได้นาวิธีการ “การเมืองนาการทหาร” มาใช้ โดยเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม 11 ประเด็นความขัดแย้งเกี่ยวกับพื้นที่ทบซ้อนเกิดขึ้นในบริ เวณปราสาทพระวิหารที่มีอายุกว่า 900 ปี ซึ่ งศาลโลกได้ตดสิ นให้ ั ั เป็ นพื้นที่ในอาณาเขตของกัมพูชาเมื่อ พ.ศ. 2505 อย่างไรก็ตาม ทั้งสองประเทศอ้างสิ ทธิ ในอาณาเขต 4.6 ตารางกิโลเมตรในบริ เวณ ่ โดยรอบปราสาทพระวิหาร ซึ่งไม่ได้อยูในคาตัดสิ นของศาลโลก 12 เหตุการณ์ดงกล่าวส่ งผลให้ท้ งสองประเทศมีคาสั่งเรี ยกตัวทูตที่ประจาอยู่ในอีกประเทศหนึ่ งกลับประเทศของตนในเดือน ั ั พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 19 สอดคล้องกันในด้านความสาคัญของการปรั บปรุ งในเรื่ องธรรมาภิ บาล นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมี ระบบการ บริ หารงานราชการที่ ไม่ได้รับผลกระทบจากความไม่แน่นอนทางการเมืองมากนัก และยังเห็นถึงความสาคัญของ ้ การปฏิรูปที่ตองมีการดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ องเพื่อปรับปรุ งความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ตลอดจนการ แก้ไขปั ญหาความยากจนและความไม่เสมอภาคลง ด้วยเหตุน้ ี แม้ว่า ประเทศไทยจะตกอยู่ในภาวะไร้เสถียรภาพ ทางการเมือง และเกิดการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลขึ้นหลายต่อหลายครั้งในช่วงหลายปี ที่ผ่านมา แต่ประเทศไทยก็ยงคงั เดิ นหน้าออกแบบและดาเนิ นการปฏิ รูปในด้านต่าง ๆ ซึ่ งครอบคลุมในเรื่ องการแก้ไขปั ญหาความยากจน ภาค การเงินและภาคธุ รกิจ การส่ งเสริ มบรรยากาศในการลงทุนและดาเนิ นธุ รกิจ การค้า การบริ หารจัดการภาครัฐ ธรร มาภิ บาล ตลอดจนการคุ ้มครองทางสังคมอย่างต่ อเนื่ อง ตลอดระยะเวลาที่ มีการปฏิ รูป แสดงให้เ ห็ นว่า ความ เปลี่ยนแปลงนั้นเป็ นเจ้าของโดยสมาชิ กอาวุโสที่ มีอานาจในการบริ หารบ้านเมือง รวมถึงความเป็ นมืออาชี พของ ข้าราชการระดับสูงของไทย และความเห็นพ้องต้องกันในประเด็นด้านการปฏิรูปของพรรคการเมืองต่าง ๆ อีกด้วย 30. การขับเคลื่อนกระบวนการปฏิรูปในประเทศไทยนั้นแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนจากประสบการณ์การปฏิรูป การบริ หารการเงิ นการคลังภาครัฐ (Public Financial Maangement - PFM) นับตั้งแต่ พ.ศ. 2540 ประเทศไทยได้ ดาเนิ นการเปลี่ยนแปลงที่ประเทศจะต้องได้รับการวางแผน กาหนดงบประมาณใช้จ่าย ตลอดจนนารายได้เข้าเป็ น งบประมาณแผ่นดิน การปฏิรูปการบริ หารการเงินการคลังภาครัฐนี้ มีได้รับความสนับสนุนจากภาคการเมือง และ ั รัฐบาลที่เข้ามาบริ หารประเทศในเวลาต่อ ๆ มาก็ยงคงดาเนิ นการปฏิรูปดังกล่าวอย่างต่อเนื่ องและมันคง ภายใต้การ ่ ให้คาปรึ กษาและบริ หารจัดการของข้าราชการระดับสู ง การปฏิรูปต่าง ๆ เหล่านี้ ประสบความสาเร็ จในการสร้าง ระบบบริ หารจัดการการเงินการคลังภาครัฐในระดับประเทศ ซึ่ งเพิ่มการมุ่งเน้นไปยังผลผลิตและผลลัพธ์ แม้ว่า ั การเมืองจะขาดเสถียรภาพ นักวิชาการก็ยงคงพยายามระบุประเด็นต่าง ๆ ที่การพัฒนาเป็ นไปอย่างเชื่ องช้าอย่าง ต่อเนื่ อง ทั้งนี้ เพื่อปรับเปลี่ยนจุดสนใจของความพยายามในการปฏิรูปไปยังประเด็นเหล่านั้น ในขณะเดี ยวกัน การปฏิรูปการบริ หารการเงินการคลังภาครัฐยังได้รับการบรรจุในรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2550 ของประเทศไทย ซึ่ ง ปกป้ องความเป็ นอิสระของสถาบันที่ทาหน้าที่ตรวจสอบความโปร่ งใส และครอบคลุมถึงการแต่งตั้งคณะผูบริ หาร ้ ของสถาบันเหล่านี้ ตลอดจนยังเป็ นการสร้างความโปร่ งใสในการบริ หารจัดการการเงินการคลังภาครัฐโดยได้มีการ ประกาศใช้พ ระราชบัญญัติ การเงิ นการคลัง ภาครั ฐ ฉบับ ใหม่ ธนาคารโลกได้ใ ห้ค วามช่ ว ยเหลื อ ในการร่ า ง พระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว ที่จะมีผลบังคับใช้ต้ งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเสริ มสร้าง ั ั ความโปร่ งใสและความน่าเชื่อถือของการปฏิบติงานของหน่วยงานภาครัฐในท้องถิ่น ตลอดจนการจัดการต่างๆ ที่มี ผลต่อการบริ หารจัดการกองทุนกลาง IV. วาระการพัฒนาแห่ งชาติของประเทศไทย 31. กรอบยุทธศาสตร์ ในการดาเนินการกับความท้ าทายด้ านการพัฒนาในระยะปานกลางของประเทศไทยได้ ถูกกาหนดไว้ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 – 2554 ซึ่ งได้ รับการอนุมัติจาก รั ฐบาลเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 แผนพัฒนาฯ ดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึ งการรั บรู ้ ถึงความเปลี่ ยนแปลงใน ั บริ บทการพัฒนาในยุคโลกาภิ วต ช่ วงกลางศตวรรษที่ 20 และยังมีการนาประเด็นที่ มีความสาคัญเป็ นลาดับต้น ๆ ตามที่ระบุไว้ในแผนการพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ ผ่านมา อันได้แก่ ทุนทางสังคมและทุนมนุ ษย์ 20 ความสามารถในการแข่งขัน ความยากจนและความไม่เสมอภาค รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม อีกทั้ง ้ ยังมีการเพิ่มประเด็นด้านธรรมาภิบาลเข้าไว้ดวย วัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 10 นี้ ครอบคลุมเรื่ อง (ก) การให้โอกาสในการเรี ยนรู ้ที่ตองดาเนิ นควบคู่ไปกับความซื่ อสัตย์และศีลธรรม (ข) การ ้ ปฏิรูปโครงสร้างการผลิตเพื่อสร้างมูลค่าให้แก่สินค้าและบริ การบนพื้นฐานความรู ้/นวัตกรรม ตลอดจนสร้างเสริ ม ้ ความเชื่อมโยงระหว่างกันในภาคการผลิตต่าง ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่า (ค) การสร้างโครงข่ายความคุมครองและระบบการ จัดการความเสี่ ยงในภาคการเงินการคลัง การธนาคาร พลังงาน ตลาดปั จจัยการผลิต ตลาดแรงงาน และการลงทุน (ง) การสร้ า งกลไกเพื่ อการกระจายผลกาไรที่ ได้จากการพัฒ นาไปยังประชากรกลุ่มต่ า ง ๆ อย่างเป็ นธรรม (จ) อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชี วภาพควบคู่ไปกับการรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม และ (ช) การส่ ง เสริ มธรรมาภิ บ าลในการบริ หารจัด การภาครั ฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เมื่ อ ไม่ น านมานี้ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เริ่ มจัดเตรี ยมแผนพัฒนาฯแห่ งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559 ซึ่ งประกอบด้วยหลักการสาคัญ 6 ประการ ได้แก่ (ก) สถาปั ตยกรรมทางสังคมในระดับมหภาค มุ่งเน้นแก้ไข ความไม่เสมอภาค สร้างความยุติธรรม และการมีส่วนร่ วมทางสังคม (ข) ทรัพยากรมนุษย์ โดยมุ่งเน้นการศึ กษา (ค) แหล่งการเติบโตทางเศรษฐกิจใหม่ ๆ ในด้าน เกษตรกรรม การบริ การ และเศรษฐกิจ “เชิ งสร้างสรรค์” (ง) ความ ร่ วมมือระหว่างภูมิภาค (จ) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่ งแวดล้อม รวมทั้งประเด็นด้านการวางผังเมือง ่ และ “ความน่าอยูของเมือง” และ (ช) ความมันคงทางอาหารและพลังงาน ่ 32. วาระที่กาหนดไว้ ในแผนพัฒนาฯ ได้ รับการสนับสนุนผ่ านทางความท้ าทายด้ านการพัฒนาที่มีความสาคัญ เป็ นลาดับต้ น ๆ ที่ระบุไว้ ในแถลงการณ์ นโยบายรั ฐบาล 13 นอกเหนื อจากหลักการที่ สามารถใช้เป็ นแนวทางในการ ฟื้ นฟูเศรษฐกิจและบรรเทผลกระทบในทางลบของปั ญหาเศรษฐกิจที่เพิ่งจะเกิดขึ้นแล้ว แถลงการณ์นโยบายฉบับ ดังกล่าวยังมีเนื้อหาครอบคลุมประเด็นสาคัญประการอื่น ๆ อีกหลายประการ ประการแรก ได้แก่ มีการยอมรับถึง ความจาเป็ นที่จะต้องดาเนินการให้เกิดความก้าวหน้าในการแก้ไขปั ญหาความยากจน ส่ งเสริ มการพัฒนาที่ทุกฝ่ ายมี ั ้ ส่ วนร่ วมและเป็ นไปอย่างยุติธรรม ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กบระบบความคุมครองทางสังคม ประการที่ สอง การกาหนดให้การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการผลิตและความสามารถในการแข่งขันเพื่อรักษาอัตราการเติบโตทาง เศรษฐกิ จเป็ นเป้ าหมายหลักในการพัฒ นา ประการสุ ด ท้าย ได้แก่ การบริ หารจัดการการเติ บโตทางเศรษฐกิ จ เพื่อให้สามารถบรรลุถึงการพัฒนาที่สุมดุลและยังยืนได้ในที่สุด ่ 33. ในขณะที่ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ได้สะท้อนให้เห็นถึงวิสัยทัศน์ในระยะปานกลางของประเทศไทย แต่ ่ ยุทธศาสตร์ในระยะสั้นของประเทศกลับมีจุดศูนย์กลางอยูที่ความจาเป็ นในการเพิ่มการใช้จ่ายภาคสาธารณะเพื่อลด ผลกระทบจากวิกฤตการเงินโลก ผลกระทบดังกล่าวครอบคลุมถึงการเติบโตของเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวลง และ ่ คาดการณ์วายุทธศาสตร์ที่กาหนดขึ้นนี้จะช่วยกระตุนความต้องการภายในประเทศและจะนาไปสู่ การจ้างงานที่เพิ่ม ้ มากขึ้น รวมถึงจะช่วยลดความติดขัดด้านโครงสร้างภายในอีกด้วย วิกฤตการเมืองภายในประเทศที่ส่งผลให้การ เติบโตของไทยต้องหยุดชะงักลงนั้นทาให้เกิดความจาเป็ นเร่ งด่วนที่จะต้องดาเนิ นนโยบายที่จะก่อให้เกิดการเติบโต ที่มีความยังยืนและทุกฝ่ ายมีส่วนร่ วม นอกจากนี้ ผูมีอานาจบริ หารจัดการยังวางแผนที่จะเพิ่มการใช้จ่ายภาครัฐไป ่ ้ 13 แถลงการณ์นโยบายของคณะรัฐมนตรี โดยนายกรั ฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2551 21 กับภาคสังคม รวมทั้งคอขวดด้านโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งนี้เพื่อให้การบริ การภาครัฐดาเนินไปอย่างต่อเนื่ องและทัวถึง ่ ในการนี้ การตอบสนองที่มีต่อวิกฤตจึงเป็ นไปเพื่อบรรเทาผลกระทบในระยะสั้น และยกระดับขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศ (ย่อหน้าที่ 11 – 12) V. ประมวลการมีส่วนร่ วมของธนาคารโลก ่ ่ ่ ก. บทเรี ยนทีได้ รับจากแผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือเพือการพัฒนาประเทศทีผ่านมา 34. ยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศระหว่ างธนาคารโลกกับประเทศไทย พ.ศ. 254514 พบว่ า ความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศไทยและกลุ่มธนาคารโลกนั้นได้ เปลี่ยนแปลงไปจากความสั มพันธ์ ในลักษณะผู้ก้ ูยืม และผู้ให้ ก้ ูยืม เป็ นความสั มพันธ์ ในลักษณะหุ้ นส่ วนความรู้ โดยมีธนาคารโลกเป็ นผู้อานวยความสะดวกในการ แลกเปลี่ยน ตลอดจนให้ ค าปรึ ก ษาเชิ งนโยบายที่ ทั นสมัยด้ านโครงสร้ างในระยะปานกลางที่ มีค วามสาคั ญต่ อ ความสาเร็ จของวาระการพัฒนาของประเทศไทย แผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมื อเพื่ อการพัฒนาประเทศที่ ถูก กาหนดให้สอดคล้องกับวิธีการในการดาเนินการของธนาคารโลกข้างต้นโดยมุ่งเน้นการดาเนิ นการด้านการวินิจฉัย และการก ากับ ติ ด ตามผล ตลอดจนการให้ค วามช่ ว ยเหลื อ บางส่ ว นในการด าเนิ น การต่ า ง ๆ ที่ ไ ด้รั บ การจัด ความสาคัญไว้ในลาดับต้น ๆ ในวาระการพัฒนาของประเทศไทย ธนาคารโลกมอบความช่ วยเหลื อในการ ดาเนินการตามวาระการพัฒนาประเทศดังกล่าวผ่านทางความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศ (Country Development ้ ้ Partnership – CDPs) ซึ่ งเป็ นโครงการฐานความรู ้แนวใหม่ที่ประเทศเป็ นผูนา โดยมีธนาคารโลกและหุ นส่ วนด้าน การพัฒนาอื่น ๆ ให้ความช่วยเหลือด้านการออกแบบและการนาไปใช้ปรับปรุ งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยผ่านการให้ ความช่วยเหลือทางวิชาการ (Technical Assistance – TA) การสร้างเสริ มศักยภาพ รวมถึงการเข้าไปมีส่วนร่ วมใน บางโครงการ 35. ่ ความร่ วมมือเพือการพัฒนาระหว่ างประเทศมีแนวทางอันสาคัญในการบริหารจัดการเพื่อให้ การสนับสนุน ้ ยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาของประเทศไทย และมีการดาเนินการในภาคการเงินการคลัง โครงสร้ างพืนฐาน ความ ยากจนและความไม่ เสมอภาค ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม การศึ กษา การคุ้มครองทางสั งคม สุ ขภาพ รวมถึงการปฏิรูปภาครัฐ ความสาเร็ จของความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศ และกระบวนการวินิจฉัยที่เกิดขึ้นใน ่ ขณะที่มีการดาเนินตามความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศที่ผานมา ครอบคลุมถึงประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ - การให้ความช่วยเหลือทางวิชาการและการวิเคราะห์กรอบการบริ หารการคลังภาคสาธารณะ ซึ่ งได้แก่ การ จัดทางบประมาณ การบริ หารงบประมาณ และการบริ หารจัดการรายได้ รวมถึ งการให้บริ การและการ บริ หารงานภาครั ฐที่ ช่วยให้การปฏิ รูปภาครั ฐของประเทศก่ อตัวเป็ นรู ปเป็ นร่ างขึ้ น นอกจากนี้ ความ ช่ วยเหลื อดังกล่าวยังช่ วยให้สามารถพัฒนาระบบงบประมาณที่ เข้มแข็งที่ สุดระบบหนึ่ งในภูมิภาคขึ้ น ั ้ ปัจจุบนโครงการดังกล่าวยังได้รับความช่วยเหลือจากเงินกูยืมเพื่อนโยบายพัฒนาการปฏิรูปภาครัฐอีกด้วย (Public Sector Reform Development Policy Loan -PSRDPL) 14 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศแสดงไว้ในรายงานฉบับเต็มในภาคผนวก 2 22 - การให้ความช่ วยเหลือแก่คณะกรรมการกิ จการโทรคมนาคมแห่ งชาติ ในการออกใบอนุ ญาตอินเตอร์ เน็ต ระหว่างประเทศเพื่อช่วยเพิ่มการแข่งขันในตลาดและลดค่าใช้จ่ายในส่ วนของผูใช้งานลงไปได้เป็ นอันมาก ้ - การพัฒนาวิธีการและเครื่ องมือมาตรฐานในการวัดความยากจน รวมทั้งระบบการติดตาม ได้แก่ เส้นแบ่ง ความยากจนและแผนที่ความยากจนเพื่อเฝ้ าติดตามการเปลี่ยนแปลงด้านความยากจนที่เกิดขึ้น - การมอบเงินทุนช่วยเหลือให้แก่ประเทศไทยในการดาเนิ นการตามกระบวนการหยุดยั้งสารทาลายโอโซน และลดการใช้สารทาความเย็นคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (Ozone Depletion Substances - ODS) ซึ่ งจะส่ งผล ให้ประเทศไทยสามารถลดการทาลายชั้นบรรยากาศโอโซนและการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกได้ ้ ้ - การประเมินความเสี่ ยงและความด้อยโอกาสเพื่อให้ขอมูลรวมทั้งกระตุนให้เกิดการอภิปรายและถกเถียงใน ้ ้ ประเด็นด้านการพัฒนายุทธศาสตร์ ดานการคุมครองทางสังคมที่ สมดุลเพื่อทาให้กลไกการจัดการความ ่ ั เสี่ ยงที่มีอยูในปัจจุบนมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น โดยใช้กลไกการบริ หารจัดการความเสี่ ยงภาครัฐและการ ่ ั บริ หารจัดการความเสี่ ยงที่ข้ ึนอยูกบตลาดที่มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น - ในด้า นการศึ ก ษานั้น ได้มี ก ารจัด ท าโครงการเพื่ อ สร้ า งเสริ ม ทัก ษะให้กับ ครู วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ แ ละ วิทยาศาสตร์โดยโครงการดังกล่าวช่วยให้ครู เหล่านี้ได้เรี ยนรู ้และนาวิธีการที่สร้างสรรค์และเกิดผลลัพธ์ที่ดี ั ้ ั ในทางปฏิบติไปใช้เพื่อกระตุนให้นกเรี ยนเกิดความอยากรู ้อยากเห็น ตลอดจนเสริ มสร้างประสบการณ์การ ั เรี ยนรู ้ให้กบนักเรี ยน การพัฒนาครู ผูสอนนี้ มีประโยชน์ต่อครู เป็ นอย่างยิ่งในการช่วยเหลือผูเ้ รี ยนกลุ่มที่ ้ สามารถเรี ยนรู ้ได้ชาและและกลุ่มเรี ยนรู ้เร็ ว ซึ่ งเป็ นพื้นฐานที่สาคัญในการสร้างความเท่าเทียมในด้านการ ้ พัฒนาต้นทุนมนุษย์ - การศึ กษาชื่ อ เศรษฐศาสตร์ การรักษาโรคเอดส์ที่มีประสิ ทธิ ผล: การประเมินทางเลือกด้านโยบายของ ้ ู้ ประเทศไทย ซึ่ งเป็ นการวิเคราะห์ตนทุนและผลลัพธ์ของการขยายการรักษาด้วยยาต้านไวรัสแก่ผป่วยด้วย เชื้อเอชไอวีหรื อเอดส์ และนาไปสู่ การเพิ่มงบประมาณในโครงการการรักษาด้วยยาต้านไวรัสขึ้นอีกเกือบ สองเท่า - การดาเนิ นการด้า นการวินิจฉัย ซึ่ งประกอบด้วยการกากับดูแ ลด้านเศรษฐกิ จ สังคม และสิ่ งแวดล้อม ตลอดจนรายงานเฉพาะทางเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ อาทิ บรรยากาศการลงทุน การวัดความสามารถในการ ้ ผลิตในการบริ การและการนาประเทศไทยให้กาวสู่เศรษฐกิจฐานความรู ้ 36. นอกจากนี้ ธนาคารโลกยังได้ ให้ ความช่ วยเหลือแก่ ชุมชนที่ได้ รับผลกระทบจากสึ นามิและกลุ่มประชากร ผู้ด้อยโอกาสในภาคใต้ ของประเทศไทยภายหลังจากเกิดเหตุการณ์ พิบัติภัยจากสึ นามิ เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547 ู มีการให้เงินช่วยเหลือจาก 3 กองทุน ซึ่ งมีมลค่ารวมทั้งสิ้ นราว 3 ล้านเหรี ยญสหรัฐ จากกองทุนเพื่อพัฒนาสังคมแห่ ง ประเทศญี่ปุ่น (Japan Social Development Fund - JSDF) เพื่อฟื้ นฟูสภาพความเป็ นอยู่ของประชากรในท้องถิ่น ปกป้ องสภาพแวดล้อม ให้ความดูแลกลุ่มประชากรผูดอยโอกาส และส่ งเสริ มให้ประชากรเหล่านี้ สามารถเข้าถึง ้ ้ บริ การด้านกฎหมายได้ กิ จกรรมต่าง ๆ ดาเนิ นการโดยใช้ประสบการณ์ที่ได้รับจากการดาเนิ นโครงการพัฒนาที่ ขับเคลื่ อนโดยชุ มชนอื่ น ๆ ในประเทศไทยโดยมุ่ งเน้นความจาเป็ นในระยะปานกลางของผูไ ด้รั บผลกระทบ้ 23 ั ตลอดจนเพิ่ มความยืดหยุ่นให้กบชุ มชนในท้องถิ่นเพื่อให้สามารถนาไปปรั บใช้ได้ตามความต้องการของตน ซึ่ ง ครอบคลุมถึงการรับมือกับความสูญเสี ยที่มีความสาคัญในการนาโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมกลับคืนมา 37. ข้ อมูลย้ อนกลับจากทั้งหน่ วยงานของรั ฐและผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องฝ่ ายต่ าง ๆ เป็ นสิ่ งยืนยันได้ ว่าผลผลิตทาง ความรู้ ที่ได้ จากความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศและธนาคารโลก ได้ มีส่วนช่ วยในการเติมเต็มช่ องว่ างด้ านการ พัฒนาที่สาคัญของประเทศไทย อย่างไรก็ตามการปรับความรู ้ ในระดับโลกของธนาคารโลกให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ ข องประเทศไทยจะช่ ว ยเสริ มสร้ า งความเป็ นเจ้า ของและส่ ง เสริ มการแลกเปลี่ ย นความรู ้ ท้ ัง ภายในประเทศไทยและในภูมิภาค ธนาคารโลกจาเป็ นจะต้องปรับเปลี่ยนความคาดหวังที่ มีต่อความสัมพันธ์ใน ลักษณะต่าง ๆ ในการวัดผลกระทบของความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ เนื่ องจากในโครงการต่าง ๆ ที่ใช้ ความรู ้เป็ นสิ่ งชี้นาเพียงอย่างเดียวนั้น ธนาคารโลกจาเป็ นจะต้องรักษารู ปแบบความสัมพันธ์ที่แตกต่างจากในอดีต ข. การดาเนินโครงการในปัจจุบัน 38. ในปัจจุบัน ธนาคารโลกดาเนินโครงการความร่ วมมือเพือพัฒนาประเทศในด้ าน (ก) การปฏิรูปภาครัฐและ ่ ธรรมาภิบาล (ข) โครงสร้างพื้นฐานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ (ค) การพัฒนามนุษย์ ธนาคารโลก ั ได้คงไว้ซ่ ึ งความสัมพันธ์กบประเทศไทยผ่านการดาเนิ นโครงการความร่ วมมือเพื่อพัฒนาประเทศซึ่ งได้ส่งผลให้ ั ความพยายามในการปฏิรูปดาเนินไปอย่างต่อเนื่องและมันคง นอกจากนี้ยงช่วยให้ธนาคารโลกสามารถรักษาไว้ซ่ ึ ง ่ ฐานความรู ้ของประเทศใดประเทศหนึ่งในประเด็นที่มีความสาคัญได้อีกด้วย การเข้าไปมีส่วนร่ วมเชิงวิชาการอย่าง ้ ต่อเนื่ องของธนาคารโลกนี้ นับว่ามีความสาคัญเป็ นอันมากในการทาให้เกิ ดกลับไปมีการกูยืมที่ ต้ งอยู่บนพื้นฐาน ั ้ ของนโยบายที่ เป็ นไปอย่างราบรื่ น ในการเตรี ยมการเสนอเงิ นกูยืมเพื่อนโยบายพัฒนาการปฏิ รูปภาครัฐ ซึ่ งได้รับ ความช่ วยเหลือจากการวิเคราะห์ที่ได้ดาเนิ นการในช่ วงที่ มีการประเมินค่าใช้จ่ายภาครัฐและความน่ าเชื่ อถือด้าน การเงิน (Public Expenditure and Financial Accountability - PEFA) การประมวลระบบการบริ หารจัดการแบบมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ ในประเทศไทย และจากการดาเนิ นการเชิ งวิชาการภายใต้ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศด้านการ ปฏิ รูประบบราชการและภาครัฐ 15 กระบวนการดังกล่าวช่ วยให้ธนาคารโลกได้เรี ยนรู ้ เกี่ ยวกับความร่ วมมื อด้าน ั ความรู ้ที่สามารถนาไปปรับใช้กบประเทศที่มีรายได้ปานกลางอื่น ๆ ได้ดวย ้ 39. นอกเหนือจากความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศแล้ ว ธนาคารโลกยังได้ เข้ าไปมีส่วนร่ วมในการกากับ ดูแลและวิเคราะห์ ในหลายด้ านผ่ านทางรายงานตามติดเศรษฐกิจไทยซึ่ งจัดพิมพ์ ปีละ 2 ฉบับ รวมทั้งรายงานด้ าน 15 การประเมินค่าใช้จ่ายภาครัฐและความน่าเชื่อถือด้านการเงินชี้ให้เห็นถึงจุดแข็งและจุดอ่อนของกรอบระบบการบริ หารการ คลังภาคสาธารณะของประเทศไทย และช่วยให้สามารถมุ่งเน้นไปยังโครงการด้านการปฏิรูปที่ได้รับการสนับสนุ นจากเงินกูยืมเพื่อ้ นโยบายพัฒนาการปฏิ รูป ภาครั ฐได้ นอกจากนี้ ยังมีการให้ความช่ วยเหลื อ ในด้านต่ าง ๆ อาทิ การจัดท างบประมาณและการ ให้บริ การเพื่อให้ความช่ วยเหลือหน่ วยงานภาครั ฐในการประเมินกระบวนการกรอบค่าใช้จ่ายในระยะปานกลาง (Medium Term Expenditure Framework - MTEF) ตลอดจนโครงการเกี่ยวกับการบริ หารจัดการภาครัฐและการปฏิรูปการให้บริ การได้ นอกจากนี้ ้ ยังมีการกระตุนให้มีการให้เงินทุนช่ วยเหลือจากแหล่งเงินทุนอื่นๆ เช่ น กองทุนของประเทศเกาหลี และกองทุนความร่ วมมือของ ั รัฐบาลในปัจจุบน ทั้งนี้ เพื่อขยายขอบเขตความช่วยเหลือของธนาคารโลกในด้านนี้อีกด้วย 24 เศรษฐกิจ สั งคม และสิ่ งแวดล้ อมต่ าง ๆ ที่ได้ รับการตีพิมพ์ (อาทิ การพัฒนาอุตสาหกรรมในเขตกรุ งเทพมหานคร ก้าวสู่ เศรษฐกิ จฐานความรู ้ของประเทศไทย สร้างศักยภาพการแข่งขันของระบบอุดมศึ กษาไทยในเศรษฐกิ จการ วัดผลผลิตและผลิตภาพอุตสาหกรรมบริ การในประเทศไทย และการประเมินบรรยากาศในการลงทุน ธนาคารโลกยัง ได้ดาเนินการวิจยและให้คาปรึ กษาในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบทบาทของประเทศไทยในอนุภาคลุ่มแม่น้ าโขง ั ซึ่ งครอบคลุมถึงรายงานว่าด้วยการอพยพของแรงงานและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2550 40. จากการดาเนิ นโครงการความร่ วมมือเพื่อพัฒนาประเทศครั้งที่ผ่านมา นอกเหนื อจากการสนับสนุนด้าน ้ ความรู ้แล้ว ธนาคารโลกยังได้ให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่ประเทศไทย ซึ่ งครอบคลุมถึง (ก) การให้เงินกูยืม 1 ั โครงการ ได้แก่ โครงการบริ หารจัดการทางหลวง โดยมีการอนุ มติงบประมาณเพิ่มเติม (79.3 ล้านเหรี ยญสหรัฐ) 16 เมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2553 (ข) การให้เงินช่วยเหลือในโครงการลงทุนเพื่อการลดสารทาลายโอโซนตามพิธี สารมอนทรี ออล เป็ นเงิน 45 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (ค) ความในช่วยเหลือโครงการซื้ อขายคาร์ บอนเครดิต 4 โครงการ เป็ นเงินประมาณ 25 ล้านเหรี ยญสหรัฐ17 และ (ง) การให้เงินช่วยเหลือมูลค่า 2 ล้านเหรี ยญสหรัฐจากกองทุนเพื่อ ชาติและการสร้างสันติ ภาพ (SPF) เพื่อช่วยเหลือด้านการพัฒนาชุมชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ นอกจากนี้ ยังมี ้ การให้ความช่วยเหลือเล็กน้อยจากยุทธศาสตร์ ดานการปฏิ รูปองค์กรภาครัฐและภาคเอกชนผ่านเงิ นช่ วยเหลือจาก กองทุนเพื่อการฟื้ นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิ น (IDF) กองทุนเพื่อพัฒนาสังคมแห่ งประเทศญี่ปุ่น (JSDF) กองทุนโลก (The Global Fund) รวมไปถึงแหล่งเงินทุนอื่นๆอีกด้วย18 16 ั โครงการบริ หารจัดการทางหลวงมูลค่า 82.4 ล้านเหรี ยญสหรั ฐนี้ ได้รับการอนุ มติเมื่อเดืนธันวาคม พ.ศ. 2546 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศไทยในการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ ตลอดจนการใช้และการบริ หารจัดการโครงข่ายถนน อย่างเต็มประสิ ทธิภาพ ในระหว่างการดาเนินโครงการมีการกล่าวหาว่ามีการใช้อานาจในทางมิชอบในกระบวนการจัดซื้ อจัดจ้างเพื่อ ั ทาสัญญาการให้คาปรึ กษาจานวน 2 ฉบับ กรณี ดงกล่าวถูกสอบสวนโดยสานักรองประธานฝ่ ายสอบสวนการทุจริ ตของธนาคารโลก ่ ู (Integrity Vice-Presidency - INT)) ใน พ.ศ. 2549 และมีการระบุวาหนึ่งในข้อกล่าวหามีมล เมื่อพิจารณาสภาพแวดล้อมที่มีความเสี่ ยง สู ง ดัง กล่ า ว กรมทางหลวงจึ ง ได้มี ค าสั่ ง ให้ย กเลิ ก กระบวนการจัด ซื้ อ จัด จ้า งตามการร้ อ งขอของธนาคารโลก และร่ ว มมื อ กับ ้ ธนาคารโลกดาเนิ นการประเมินความสามารถในการจัดซื้ อจัดจ้าง จากการประเมินดังกล่าวมีการระบุขอพึงปฏิบติเพื่อจัดการกับ ั ั ั ั ่ ั ความเสี่ ยงซึ่งข้อพึงปฏิบติดงกล่าวกาลังได้รับการนาไปปฏิบติอยูในปัจจุบน การปรับโครงสร้างดังกล่าวครอบคลุมถึงการยกเลิกการ ดาเนินการที่ล่าช้าต่าง ๆ ในกรอบการทางานเดิมของโครงการ โดยเฉพาะอย่างยิงการซ่อมบารุ งตามระยะ การให้เงินช่วยเหลือเพิ่มเติม ่ ยังจะช่วยขยายขอบเขตการซ่อมบารุ งทางหลวงและการดาเนินการเพื่อเพิ่มคุณภาพอีกด้วย 17 โครงการดังกล่าวประกอบด้วย (ก) โครงการบริ หารจัดการสิ่ งปฏิกูลจากปศุสัตว์ภายใต้ความร่ วมมือด้านสิ่ งแวดล้อม ระหว่างประเทศในเอเชีย โดยมีการลงนามในสัญญาซื้ อขายก๊าซเรื อนกระจก เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551 เป็ นมูลค่า 4 ล้านเหรี ยญ ั สหรั ฐ (ข) โครงการจัดการน้ าเสี ยจากน้ าตาลเอทานอลที่ผลิตจากพลังงานชีวภาพของบริ ษททีเอสเอ็ม และการกักเก็บก๊าซมีเทน สาหรับโครงการผลิตไฟฟ้ า ซึ่งมีการลงนามในข้อตกลงความร่ วมมือการซื้อขายเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกเมื่อเดือนพฤษภาคม ั พ.ศ. 2552 เป็ นมูลค่า 7 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (ค) โครงการจัดการน้ าเสี ย/กักเก็บกาซมีเทนของบริ ษททรัพย์ทิพย์จากัด สาหรับโครงการ ความร้อน ซึ่ งมีการลงนามในข้อตกลงความร่ วมมือการซื้ อขายเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551 เป็ น มูลค่า 7 ล้านเหรี ยญสหรัฐ และ (ง) โครงการการจัดการสิ่ งปฏิกูลจากฟาร์ ม ปศุสัตว์ขนาดเล็ก ซึ่ งมีการลงนามในข้อตกลงความ ร่ วมมือการซื้อเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2549 เป็ นมูลค่า 7 ล้านเหรี ยญสหรัฐ 18 กองทุนเพื่อการฟื้ นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (Institutional Development Fund - IDF) สนับสนุ นความช่วยเหลือ ในการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการใช้จ่ายภาคสาธารณะในภาคสาธารณสุ ข ปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพการจัดซื้ อจัดจ้างของรัฐ สร้างความ 25 41. บรรษัทการเงินระหว่ างประเทศ (The International Finance Corporation – IFC) ถือครองสิ นทรั พย์ ใน โครงการต่ าง ๆ ที่ดาเนินการอยู่ในประเทศไทยเป็ นมูลค่ าราว 160 ล้ านเหรี ยญสหรั ฐซึ่ งส่ วนใหญ่ เป็ นสิ นทรั พย์ ใน โครงสร้ างพืนฐาน ตลาดการเงิน และเคมีภัณฑ์ การฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจที่ดาเนิ นไปอย่างรวดเร็ วของประเทศไทย ้ นับตั้งแต่ เกิ ดวิกฤตในเอเชี ยตะวันออกเมื่ อ พ.ศ. 2540 ทาให้บรรษัทการเงิ นระหว่างประเทศลดการดาเนิ นงาน โครงการระดับภูมิภาคของประเทศไทยลงได้ทีละน้อย อย่างไรก็ตาม เนื่ องจากประเทศไทยจาต้องเผชิ ญความ ท้าทายในการก้าวไปเป็ นหนึ่งในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และรัฐบาลกาลังใช้ความพยายามต่อกรกับความ ไม่สมดุลทางเศรษฐกิจที่ มีผลทาให้เกิดความไร้เสถียรภาพในประเทศจึ งมีการคาดการณ์ว่าโครงการต่าง ๆ ของ บรรษัทการเงินระหว่างประเทศจะเพิ่มขึ้น โครงการในประเทศไทยนั้น มีพ้ืนฐานจากการลงทุนและการให้บริ การ ด้านคาปรึ กษาใน 3 ด้าน ได้แก่ ก. การสนับสนุนความพยายามของประเทศไทยในการขยายขีดความสามารถในการแข่ งขันเพื่อก้ าวข้ าม สถานภาพประเทศที่มีรายได้ ปานกลาง โดยการดาเนิ นการดังนี้ (ก) ส่ งเสริ มการเปลี่ยนผ่านไปสู่ ระบบเศรษฐกิจแบบฐานทักษะ (Skill-based Economic) และให้ความสาคัญกับการบริ การ (ข) การ ปรั บ ปรุ งโครงสร้ า งพื้ น ฐานให้มีค วามแข็งแกร่ งและขอบเขตที่ กว้า งขวางมากยิ่ งขึ้ น (ค) ก าจัด ้ สิ นทรัพย์ดอยค่าออกจากระบบธนาคารเพื่อให้ตลาดการเงิ นสามารถจัดการกับวิกฤตในปั จจุบนได้ ั อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และ (ง) เพิ่ มการมี ส่วนร่ วมของภาคเอกชนในภาคการธนาคารเพื่ อเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภาพและความสามารถในการแข่งขัน ข. ส่ งเสริ มการเติบโตทางเศรษฐกิจแบบมีส่วนร่ วม โดยดาเนิ นกิจกรรมที่ (ก) เปิ ดโอกาสให้ประชาชน ่ ในชนบทและประชาชนที่อาศัยอยูนอกเขตเศรษฐกิจเมืองหลัก ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบจังหวัดใน ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือและภาคใต้ได้มีส่วนร่ วมในผลประโยชน์อนเกิดจากการเติบโตทางเศรษฐกิจ ั ของประเทศโดยมุ่งเน้นความเชื่อมโยงด้านเกษตรกรรม (ข) เพิ่มการเข้าถึงการให้ความช่วยเหลือด้าน ้้ การเงิ นในระบบในชนบทและผูกูยืมรายย่อย และ (ค) ขยายการเข้าถึ งโครงสร้างพื้นฐานให้กบ ั ประชากรในชนบท และ ค. ส่ งเสริ มการเติบโตที่มีความยั่งยืนด้ านสิ่ งแวดล้ อมและสั งคม โดยเน้น (ก) การใช้พลังงานอย่าง ประสิ ทธิ ภาพ (ข) เทคโนโลยีและกระบวนการผลิตที่สะอาด (ค) การลดมลพิษ และ (ง) การพัฒนา และการค้าพลังงานที่นากลับมาใช้ใหม่ได้ ั เข้มแข็งให้กบสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และสร้างสมรรถนะด้านสถาบันเกี่ยวกับนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ธนาคารโลกได้ให้เงินช่วยเหลือแบบให้เปล่าสาหรับนาไปใช้เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานบอร์ ดแบนด์ในชนบท เงินช่วยเหลือจาก กองทุนเพื่อพัฒนาสังคมแห่ งประเทศญี่ปุ่น (JSDF) เป็ นไปเพื่อการส่ งเสริ มโครงการรณรงค์สวมหมวกนิ รภัยของเยาวชนในชุมชน การให้เงินช่วยเหลือจากกองทุนโลก (The Global Fund) ให้การสนับสนุนโครงการที่ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้ องกันการติดเชื้ อเอชไอ วี/เอดส์ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังได้รับประโยชน์จากโครงการริ เริ่ มในระดับภูมิภาคที่ได้รับการสนับสนุ นด้านการเงินจากแหล่ง เงินทุนหลายแหล่งอีกหลายโครงการ ได้แก่ กองทุนสิ่ งแวดล้อมโลก (GEF)ให้ความช่วยเหลือแก่โครงการจัดการสิ่ งปฏิกูลจากฟาร์ ม ปศุสัตว์ในเอเชียตะวันออก Trust Fund for Environment and Social Sustainable Development ให้ความสนับสนุ นเรื่ องแบบจาลอง เพื่อประเมินผลกระทบด้านอุทกวิทยา การเกษตร และเศรษฐศาสตร์ ในลุ่มแม่น้ าโขง รวมทั้งการปรับตัวให้เข้ากับท้องถิ่น 26 VI. ่ ยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือเพือการพัฒนา ปี งบประมาณ 2554 – 2555 ่ ก. การรับมือกับความท้าทายทีสาคัญ 42. ในการที่ประเทศไทยจะสร้ างความมั่นคงและความสาเร็ จ ให้ เกิดขึ้นได้ ในระยะยาวนั้น จาเป็ นที่จะต้ อง ดาเนินการในเรื่ อง (ก) การพัฒนาสถาบันเพื่อลดโอกาสในการคอรั ปชั่นและการฉวยโอกาสเพื่อผลประโยชน์ ส่วน ตน (ข) มีการดาเนินนโยบายให้ ทุกฝ่ ายมีส่วนร่ วมในการเติบโตอย่ างทั่วถึง และมีความยั่งยืนด้ านสิ่ งแวดล้ อม ปั ญหาความขัดแย้งด้านความคิ ดเห็นทางการเมืองที่แตกต่างกันอันมีสาเหตุมาจากการแย่งชิ งอานาจมักได้รับการ สนับสนุ นจากกลุ่มผูมีรายได้ต่ าที่ ได้รับคามันว่าตนจะมีชีวิตความเป็ นอยู่ที่ดีข้ ึ น วิกฤตเศรษฐกิจที่ เสื่ อมโทรมลง ้ ่ ส่ งผลให้เกิดความไม่เท่าเทียมขึ้นระหว่างภูมิภาคและสังคม ส่ งผลทาให้หลุมแห่ งความไม่เสมอภาคและด้อยโอกาส ยิ่งลึกลงมากขึ้น กลุ่มผูมีรายได้ต่าจึงถูกกระตุนได้ง่ายและเพิ่มจานวนมากยิ่งขึ้น ซึ่ งส่ งผลให้เกิดการปะทะขึ้นหลาย ้ ้ ต่อหลายครั้งในกรุ งเทพมหานคร รวมไปถึงการคุมเชิ งทางการเมือง ในขณะเดียวกันนั้น ความพยายามของรัฐใน อดี ตที่ จะเพิ่มการใช้จ่ายภาคสาธารณะไปยังภูมิภาคที่ การพัฒนายังเป็ นไปอย่างเชื่ องช้า และช่ วยเหลือประชาชน ้้ ่ ่ ผูดอยโอกาสยังถูกวิพากษ์วิจารณ์วาขาดความโปร่ งใสและความน่าเชื่อถือ แม้วาโครงสร้างทางราชการอันแข้มแข็ง ของประเทศจะรักษาการดาเนิ นการด้านการปฏิรูปไว้ได้ในครั้งนี้ แต่บ่อยครั้งที่ความแปรผันทางการเมืองมักทาให้ นโยบายที่ จาเป็ นสาหรับการจัดการกับความท้าทายและลาดับความสาคัญต่างๆ ในระยะปานกลางและระยะยาว จาต้องล่าช้าออกไป เนื่องจากความเป็ นผูนาทางการเมืองนั้นมุ่งเน้นให้ความสาคัญกับประเด็นในระยะสั้นมากกว่า ้ ด้วยเหตุน้ ี ประเทศไทยจึงจาเป็ นต้องกลับมามุ่งดาเนินการด้านการปฏิรูปโดยเร่ งด่วน 43. จากสถานการณ์ ในปั จจุบันที่เข้ มแข็งขึ้นทว่ าสถานการณ์ ของโลกยังคงไม่ แน่ นอนนั้น การตอบสนองเชิ ง ้ นโยบายของประเทศจึงจาเป็ นต้ องสามารถสร้ างสมดุลให้ เกิดขึนระหว่ างการดาเนินการในระยะสั้ นและระยะยาว โดยมีวัตถุ ประสงค์ เพื่อสร้ างความยั่งยืนให้ กับความก้ าวหน้ าในการฟื้ นตัวจากวิกฤต ไปพร้ อม ๆ กับสร้ างความ เข้ มแข็งให้ กับต้ นทุนทางสั งคม ตลอดจนศักยภาพในการแข่ งขันในระดับภูมิภาค19และระดับโลกของประเทศไทย ั ั ธนาคารโลกจึ งได้พฒนาแผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือระยะสั้นเพื่อการพัฒนาขึ้ นจากสาเหตุดงกล่าว รวมทั้งเพื่อ เป็ นการสะท้อนให้เห็นถึงบทบาทที่สาคัญ ของประเทศไทยในระดับภูมิภาคและระดับสากล ยุทธศาสตร์ ฉบับนี้ ประกอบด้วยบทเรี ยนที่ได้รับจากความร่ วมมือครั้งที่ผ่านมาหลายประการ โดยเฉพาะประเด็นความสาคัญของการ ดาเนิ นการด้านการวิเคราะห์และวินิจฉัยในการสนับสนุนและช่ วยเหลือให้วาระด้านนโยบายของประเทศเกิ ดเป็ น ่ รู ปเป็ นร่ างขึ้น อันที่จริ ง การปฏิรูปหลายด้านที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในศตวรรษที่ผานมาได้สะท้อนให้เห็นถึงการ ดาเนิ นการด้า นความรู ้ ที่ธนาคารโลกได้ให้ความช่ วยเหลื อตามความต้องการจากรั ฐบาล ซึ่ งเป็ นไปในทิ ศทาง เดียวกับการจัดลาดับความสาคัญของประเทศไทยที่ แสดงไว้ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 กรอบนโยบายของรัฐบาล ั ปัจจุบน ตลอดจนร่ างกรอบแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (รายละเอียดแสดงในหัวข้อที่ 4) 19 ในขณะที่การเติบโตของประเทศไทยได้รับการยกย่องว่าประสบความสาเร็ จ แต่ประเทศไทยมีที่ต้ งอยู่ในภูมิภาคที่เต็มไป ั ด้วยการเปลี่ ยนแปลงในด้านต่ าง ๆ อย่างรวดเร็ ว ด้วยเหตุ น้ ี จึงจาเป็ นอย่างยิ่งที่ จะต้องพิจารณาความสามารถในการแข่ งขันของ ประเทศไทยในบริ บทระดับภูมิภาค เนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับการค้าและการลงทุน การให้บริ การ ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานทาง ธุรกิจ 27 44. ความร่ วมมื อ ได้ รั บ การออกแบบให้ มี ค วามยื ด หยุ่ น และขั บ เคลื่ อ นโดยความต้ อ งการที่ แ ท้ จ ริ ง ใน ขณะเดียวกันก็เลือกที่จะมุ่งเน้ นการฟื้ นฟูและรั กษาให้ การเติบโตเป็ นไปอย่ างยั่งยืน ตลอดจนลดความยากจนและ ความไม่ เสมอภาค ด้วยวัตถุประสงค์โดยรวมเหล่านี้ แนวทางการดาเนิ นการจึงแบ่งออกเป็ น 2 ขั้นตอนหลัก ๆ ดัง รายละเอี ย ดที่ จ ะได้ก ล่ า วต่ อ ไป แนวคิ ด หลัก ในแผนยุ ทธศาสตร์ ค วามร่ ว มมื อ ระยะสั้น เพื่ อ การพัฒ นาของ ธนาคารโลกในการให้การสนับสนุ นประเทศไทยนั้นกาลังค่อย ๆ พัฒนาบทบาทของประเทศไทยขึ้ นทั้งในระดับ ้ ภูมิภาคและสากล โดยที่ธนาคารโลกจะพยายามดาเนินการอย่างใกล้ชิดกับหุ นส่ วนเพื่อการพัฒนาอื่น ๆ ในประเด็น ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการปฏิรูปที่นาโดยประเทศและโครงการด้านการลงทุนขึ้น ข. ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การฟื้ นฟูวิกฤตที่ให้ ความสาคัญกับประชาชนที่มีฐานะยากจน 45. แผนฟื้ นฟูเศรษฐกิจขั้นที่หนึ่งในยุทธศาสตร์ ได้ รับการออกแบบขึ้นเพื่อให้ การสนับสนุนการฟื้ นตัวจาก วิกฤตโลกในระยะสั้ นของประเทศไทย โดยมุ่งเน้ นผลกระทบจากวิกฤตที่มีต่อประชากรที่มีฐานะยากจนและด้ อย โอกาสของประเทศ แม้ว่าการฟื้ นตัวของประเทศที่ ดาเนิ นมาจนกระทังปั จจุ บนจะเป็ นที่ น่าประทับใจ หากแต่ ่ ั ั สภาวะทางเศรษฐกิ จก็ยงคงมี ความอ่อนไหวต่อสภาพแวดล้อมต่ าง ๆ ที่ เกิ ดขึ้ นในโลกเป็ นอันมาก สื บเนื่ องจาก ผลกระทบหลัก 2 ประการ ได้แก่ วิกฤตเศรษฐกิ จโลกและความวุ่นวายด้านการเมืองภายในประเทศซึ่ งเกิ ดขึ้ นใน ระยะเวลาใกล้เ คี ย งกัน จึ ง ท าให้ก ารลดความยากจนต้อ งหยุ ด ชะงัก ลง และมี ก ารเพิ่ ม จ านวนของประชากร ้้ ้ ผูดอยโอกาสมากขึ้น (ย่อหน้าที่ 9) ประเด็นดังกล่าวได้รับความช่วยเหลือจากเงินกูยืมเพื่อนโยบายพัฒนาการปฏิรูป ภาครัฐ (PSRDPL) และอาจได้รับความช่วยเหลือเพิ่มเติมจากการลงทุนที่จะตามมาในภายหลัง ความร่ วมมือส่ วน ใหญ่ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในประเด็ น ดังกล่ า วจะเป็ นความร่ ว มมื อในลัก ษณะฐานความรู ้ กล่ า วคื อ เป็ นการแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ระหว่างประเทศเพื่อช่ วยเหลือประเทศไทยให้สามารถฟื้ นตัวจากการถดถอยทางเศรษฐกิ จได้ การ ดาเนินการที่มีการวางแผนไว้ครอบคลุมถึง ก. มาตรการให้ค วามช่ ว ยเหลื อ ประชากรที่ มี ฐานะยากจน แม้ว่า มาตรการในภาพรวมเพื่ อบรรเทา ผลกระทบจากวิกฤตจะสามารถเข้าถึ งประชากรที่ มีฐานะยากจนได้เป็ นจานวนมาก แต่ก็ควรมีการ ดาเนิ นมาตรการที่ ดีและตรงจุดยิ่งขึ้ นเพื่อสามารถให้ความช่ วยเหลื อแก่ประชากรและครัวเรื อนที่ มี ้ ฐานะยากจนที่ไม่สามารถเข้าถึงเงินช่วยเหลือและกองทุนกูยืมหมู่บานและในชุมชนเมืองได้ ในขณะ ้ ที่ มาตรการกระตุ ้น เศรษฐกิ จครอบคลุ มถึ งมาตรการที่ ออกแบบมาเพื่ อบรรเทาผลกระทบที่ มีต่ อ ประชากรที่มีฐานะยากจนซึ่ งต้องพึงพาการมีส่วนร่ วมในระบบเป็ นหลัก ในขณะที่ประชากรที่ได้รับ ผลกระทบจากวิกฤตมากที่ สุดกลับอยู่นอกระบบและอยู่ในพื้ นที่ ชนบท ด้วยเหตุ น้ ี รัฐบาลจึ งควร (ก) มีความสนใจที่ จะขยายและปรั บปรุ งแผนการดาเนิ นโครงการในชุ มชนที่ มีอยู่ให้ครอบคลุมถึ ง ประชากรที่ ถูกกี ดกันทางสังคมและประชากรที่อยู่นอกระบบ (ข) พิจารณาความเป็ นไปได้ในการ พัฒนาและนาโครงการเงินช่วยเหลือ (Cash Transfer)และบานาญ (Pension) มาใช้ (ค) ให้ความสาคัญ กับการปฏิ รูปแผนการให้ความช่ วยเหลื อด้านเกษตรกรรมเพื่ อให้สามารถเข้า ถึ งเกษตรกรได้เป็ น จานวนมากขึ้น (ง) สารวจโครงการต่าง ๆ เพื่อลดภาระหนี้สินของประชากรที่มีฐานะยากจน ในการ นี้ ธนาคารโลกได้นาประสบการณ์ ในระดับโลกมาปรั บใช้เพื่ อให้สามารถให้ความช่ วยเหลื อด้าน 28 วิ ช าการเพื่ อ ให้ส ามารถระบุ ก ลุ่ ม เปราะบาง วิ เ คราะห์ ล ัก ษณะของกลุ่ ม ดัง กล่ า ว และออกแบบ โครงสร้างผลประโยชน์ (Design Benefit Structures) รวมทั้งกลไกเพื่อกาหนดเป้ าหมายของโครงการ ต่าง ๆ ที่ มีอยู่ให้ดีข้ ึ น โดยใช้ประสบการณ์ที่มีอยู่ของประเทศรวมกับประสบการณ์ในระดับสากล การพัฒนา การให้เงินช่วยเหลือ และแผนการให้ความช่วยเหลือด้านเกษตรกรรมก็สามารถได้รับความ ช่วยเหลือเพื่อให้สามารถสร้างกลไกที่มีความยืดหยุ่นและสามารถกาหนดเป้ าหมายได้ดวยตนเองซึ่ ง ้ ่ ครอบคลุมประชากรที่อยูนอกระบบ และยังสามารถนาไปขยายผลได้โดยง่ายอีกด้วย ข. การให้ความช่ วยเหลื อด้านมาตรการด้านการเงิ นการคลังหลังวิกฤต ธนาคารโลกจะยังคงให้ความ ช่วยเหลือด้านการวิเคราะห์และให้คาปรึ กษาที่มีความเหมาะสมเพื่อให้ความช่วยเหลือการดาเนิ นการ ด้านนโยบายการเงิ นการคลังหลังเกิ ดวิกฤต ในปั จจุบน ได้มีการดาเนิ นนโยบายที่ สาคัญ เกี่ ยวกับ ั มาตรการกระตุ ้นการใช้จ่า ยและความร่ วมมื อ ระหว่ า งภาครั ฐและภาคเอกชน (Public-Private Partnerships - PPPs)ไปแล้ว ขณะที่รัฐบาลกาลังดาเนิ นมาตรการกระตุนการใช้จ่ายมาตรการที่สอง ้ ต่ อไปนั้น การให้บริ การด้า นคาปรึ กษาที่ ธนาคารโลกได้เข้าไปมี ส่วนร่ วมก็มีแนวโน้มว่าจะขยาย ออกไปครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ อาทิ การควบคุมดูแลและให้ความช่วยเหลือในการดาเนิ นโครงการ การจัดการความเสี่ ยงในระดับมหภาคและจุลภาค รวมทั้งความร่ วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนรู ปแบบการให้ความช่วยเหลือด้านการเงินในการลงทุนในโครงการใหม่ ๆ นอกจากนี้ ยังมี แนวโน้มว่าความต้องการคาแนะนาด้านนโยบายและความช่วยเหลือด้านวิชาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้านแรงงาน ความคุมครองทางสังคม 20 และการแก้ไขปั ญหาความยากจนจะเพิ่มสู งขึ้น เมื่อความ ้ ร่ วมมือค่อย ๆ พัฒนาขึ้น และเมื่อการฟื้ นตัวดาเนิ นต่อไป นอกจากนี้ ยังมีแนวโน้มว่าประเทศไทย อาจต้องการความช่ วยเหลือด้านการวิเคราะห์และที่ ปรึ กษาที่ เกี่ ยวข้องกับประเด็นด้านการเงิ นของ โครงการในภาคส่ วนย่อยจานวนมาก ทั้งนี้ เนื่ องมาจากทรั พยากรภาครั ฐที่ ลดน้อยลงจากวิกฤต เศรษฐกิ จ โลก อาทิ การด าเนิ น โครงการประกัน สุ ข ภาพถ้ว นหน้ า และผลประโยชน์ ภ ายใต้ ้ สภาพแวดล้อมที่มีขอจากัดด้านงบประมาณ การดาเนิ นการนี้ จะยังคงนาบทเรี ยนจากประสบการณ์ ้ ของนานาประเทศมาปรับใช้ บทเรี ยนเหล่านี้ได้แสดงให้เห็นว่ามาตรการกระตุนด้านการเงินจะส่ งผล ลัพธ์ที่ดีได้หากมีการดาเนินการอย่างทันท่วงที มีการนาการเปลี่ยนแปลงนโยบายที่ได้รับการออกแบบ เพื่อรักษาอัตราการเติบโต ครอบคลุมถึงมาตรการด้านตาข่ายความปลอดภัย (Safety Net) และมีความ โปร่ งใสในการพัฒนาการดาเนินการตลอดจนการรับความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ธนาคารโลกจึงได้ ให้การสนับสนุนการดาเนิ นงานตามระบบการบริ หารการคลังภาคสาธารณะโดยการให้เงินกูยืมเพื่อ ้ ่ นโยบายพัฒนาการปฏิรูปภาครัฐและงานด้านการวิเคราะห์ต่าง ๆ เพื่อให้มนใจได้วามีการใช้ทรัพยากร ั่ 20 ั ความช่วยเหลือดังกล่าวยังเป็ นการเปิ ดประตูให้กบวาระด้านธรรมาภิบาลของรัฐ ที่จะช่วยส่ งเสริ มกิจกรรมต่าง ๆ ที่กาลัง ่ ดาเนินอยูภายใต้กรอบความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศที่มีอยู่ (CDPs) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีความเป็ นไปได้ที่จะมีส่วนร่ วมในการ ้ หารื อว่าด้วยการเพิมความโปร่ งใสในการดาเนินการตามแผนกระตุนเศรษฐกิจ โดยการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ (ก) เพิ่มการเปิ ดเผย ่ การใช้จ่ายเงินเงินช่วยเหลือ (ข) ให้มีการกากับดูแลจากหน่วยงานอื่นที่เป็ นอิสระ ในด้านการบริ การสังคมและคุณภาพของโครงสร้าง พื้นฐาน และ (ค) การติดตามผลการใช้จ่ายเงินช่วยเหลือและสารวจผูได้รับผลประโยชน์ ้ 29 ้ ภาครัฐซึ่ งรวมถึงทรัพยากรที่มีการกล่าวถึงไว้ในแผนกระตุนเศรษฐกิจที่ 2 (SP2) อย่างมีประสิ ทธิ ผล ้ เงิ นกูยืมเพื่ อนโยบายพัฒนาการปฏิ รูปภาครั ฐนี้ ถูกใช้เพื่ อให้ความช่ วยเหลือแก่ ประเทศไทยในการ พัฒ นาระบบควบคุ มทรั พ ย์สิ นที่ มีประสิ ทธิ ภ าพยิ่ งขึ้ นในการกากับดู แ ลและรายงานการเงิ นภาค สาธารณะ เพิ่มความสาคัญของนโยบายการจัดทางบประมาณ และเพิ่มความโปร่ งใส ตลอดจนการ เปิ ดเผยข้อมูลในการใช้ทรัพยากรภาครัฐ นอกจากนี้ ยังมีการให้ความช่ วยเหลือด้านการปฏิ รูปเพื่อ ผ่อนปรนความเข้มงวดในโครงสร้ า งการให้บริ การภาคประชาชน และปรั บปรุ งกรอบการให้ผ ล ั ประโยชน์ตอบแทน รวมทั้งการกากับดูแลการปฏิบติงาน นอกจากนี้ ยังมีการให้ความช่วยเหลือด้าน วิชาการในหลาย ด้าน ซึ่ งครอบคลุมถึง (ก) การปรับปรุ งระบบการจัดซื้ อจัดจ้างอิเล็กทรอนิ กส์ที่ใช้อยู่ ั ในปั จจุบน (ได้แก่ ระบบ e-Auction) (ข) การนาระบบกากับดูแลการเงิ นของโครงการ (Project ั Financial Monitoring System – PFMS) มาใช้ ซึ่ งจะช่วยให้สามารถรักษาวินยทางการเงินไว้ได้ และ ั ้ (ค) การพัฒนาเครื่ องมือชี้วดเพื่อกากับดูแลโครงการภายใต้แผนกระตุนเศรษฐกิจที่ 2 ค. การให้ความช่วยเหลือผลกระทบจากวิกฤตจากบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ (IFC) แก่ภาคการเงิน และโครงสร้ างพื้นฐาน บรรษัทการเงิ นระหว่างประเทศจะยังคงมีการประชุ มหารื อกับสถาบันภาค การเงิ น และกากับดูแลภาวะปั ญหาทางการเงิ น ที่ เป็ นผลจากวิกฤตเศรษฐกิ จโลกครั้ งที่ ผ่านมาด้วย ความระมัดระวัง เพื่อตัดสิ นใจว่าประเทศไทยจะได้รับประโยชน์จากกองทุนต่าง ๆ ที่ ออกแบบขึ้ น เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ลูกค้าในช่วงเศรษฐกิจตกต่าหรื อไม่ ขณะนี้ ได้มีการชี้ ให้เห็นถึงภาพรวม ของหนี้ ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ในธนาคารสาคัญในประเทศไทย อย่างไรก็ตาม หากประเทศ ไทยซึ่ งได้รั บการรั บรองสามารถเข้าถึ งกองทุ นให้ความช่ วยเหลื อภาคการเงิ นของบรรษัทการเงิ น ระหว่างประเทศและองค์กรความร่ วมมือระหว่างประเทศแห่ งประเทศญี่ปุ่น (IFC-JICA Financial Sector Capitalization Fund) ที่มุ่งเน้นสถาบันการเงินที่มีแนวโน้มที่ดีในการเติบโตและมีความสาคัญ และต้องการปรั บปรุ งโครงสร้ างเงิ นทุ นหลังจากต้องประสบความสู ญเสี ยอันสื บเนื่ องมาจากภาวะ ตกต่าทางการเงินจากวิกฤตเศรฐกิจ คณะกรรมการบรรษัทการเงินระหว่างประเทศได้อนุมติกองทุน ั ั เพื่อลดภาระทรัพย์สินรอการช่วยเหลือมูลค่า 75 ล้านเหรี ยญสหรัฐให้กบธนาคารสแตนดาร์ ดภายใต้ โครงการลดภาระทรัพย์สินรอการช่วยเหลือ (Distressed Asset Relief Program – DARP) ที่ได้ทาการ ซื้ อ หนี้ ที่ ไ ม่ ก่อ ให้เ กิ ด รายได้จากระบบธนาคารของประเทศไทยเมื่ อเดื อนธันวาคม พ.ศ. 2552 นอกจากนี้ บรรษัทการเงิ นระหว่า งประเทศยังจะพิ จารณาเกี่ ย วกับการให้เงิ นทุ นระยะยาว ซึ่ ง ครอบคลุมถึงการให้เงินทุนสนับสนุนแก่ธนาคารที่มีความสาคัญต่อระบบ ซึ่ งรวมถึงธนาคารที่มีการ แปรรู ปองค์กรไปสู่ภาคเอกชนอย่างเต็มรู ปแบบ นอกจากนี้ หากพิจารณาแล้วเห็นว่ามีความเหมาะสม ประเทศไทยยังจะสามารถเข้าถึ ง กองทุ นบรรเทาวิกฤตโครงสร้ างพื้นฐาน (Infrastructure Crisis ั Facility) ที่ มุ่งสร้ างเสถียรภาพให้กบทรั พย์สินในโครงสร้ างที่ มีอยู่ สร้ างความเชื่ อมันว่าจะมี การ ่ ดาเนินโครงการ ให้การสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานของความร่ วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาและดาเนินโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานใหม่ ๆ อีกด้วย 30 ่ ค. ยุทธศาสตร์ ที่ 2 การพัฒนาความสามารถในการแข่ งขันและการเติบโตอย่ างมีส่วนร่ วมและยังยืน 46. แผนฟื้ นฟูเศรษฐกิจขั้นที่สองของยุทธศาสตร์ มุ่งจัดการความท้ าทายในระยะปานกลางที่ประเทศไทยต้ อง ั เผชิญโดยการสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบความสามารถในการแข่ งขันของประเทศ ส่ งเสริมการลงทุนภาคเอกชน และ การปรับโมเดลการเติบโตที่เน้ นการส่ งออกเป็ นสาคัญ จากการงานวิจยเมื่อ พ.ศ. 255121 แสดงให้เห็นว่า แม้ประเทศ ั ั ไทยจะมีความสามารถทางเศรษฐกิจในระดับที่สูง แต่ศกยภาพในการแข่งขันกลับไม่ได้เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ ว เทียบเท่ากับประเทศอื่น ๆ ในทวีปเอเชีย ธนาคารโลกและบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ มีบทบาทเสริ มอัน สาคัญในการให้ความช่วยเหลือประเทศไทยเพื่อรับมือกับประเด็นดังกล่าว โดยการเข้าไปมีส่วนร่ วมโดยเน้น ั ่ ประเด็นที่เป็ นปั ญหา 3 ประการตามที่ผลการศึกษาวิจยได้ระบุวาเป็ นข้อจากัดด้านศักยภาพในการแข่งขันของ ้ ประเทศไทยที่สาคัญ ได้แก่ (1) การให้บริ การและความคุมครองทางสังคม (2) การปฏิรูปภาครัฐและธรรมาภิบาล และ (3) โครงสร้างพื้นฐานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประเด็นที่ 1 การให้ บริการและความคุ้มครองทางสั งคม 47. ระดับการพัฒนาต้ นทุนมนุษย์ ของประเทศไทยถูกมองว่ าเป็ นข้ อจากัดในการเพิ่มขีดความสามารถในการ ่ แข่ งขัน ด้านการศึกษานั้นมีการระบุวาคุณภาพและประเด็นที่เกี่ยวเนื่ องของการศึกษาในประเทศไทยมีคุณภาพตก ต่ า ลงเมื่ อ เที ย บกับ ประเทศอื่ น ๆ ในทวี ปเอเชี ย 22 ซึ่ งเห็ นได้จากการขาดแคลนแรงงานที่ มีทักษะฝี มื อ ความ สอดคล้องระหว่างแรงงานและความต้องการแรงงานและ ภาคธุ รกิจในประเทศที่มีนวัตกรรมในระดับที่ต่า23 ด้าน สาธารณสุ ข ได้มีความวิตกในเรื่ องความยังยืนของโครงการประกันสุ ขภาพถ้วนหน้าตลอดจนการรับมือกับวิกฤต ่ การเงินในปั จจุบนซึ่ งระบบถูกท้าทายโดยจานวนการใช้บริ การที่สูงขึ้นและภาระเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อที่เพิ่มสู งขึ้น ั ั ทาให้ไทยต้องการความช่วยเหลือเพื่อสร้างศักยภาพในด้านนโยบายให้กบประเทศในเรื่ องดังกล่าว ประการสุ ดท้าย ่ แม้วาประเทศไทยจะดาเนินการเพื่อตอบสนองต่อการระบาดของเชื้อเอชไอวีในช่วงต้นทศวรรษที่ 1990 การเน้นย้ า 21 การประเมินบรรยากาศในการลงทุนเมื่อ พ.ศ. 2551 โดยธนาคารโลก 22 ที่มา: PISA: The OECD Program for International Student Assessment จัดทาเพื่อประเมินนักเรี ยนในประเทศต่างๆ โครงการดังกล่าวมีเป้ าหมายเพื่อวัดว่านักเรี ยนที่กาลังจะจบการศึกษาภาคบังคับ (อายุ 15 ปี ) มีความรู้และทักษะที่จาเป็ นในการเข้า ั ร่ วมเป็ นส่ วนหนึ่งของสังคมแห่งความรู้หรื อไม่ ในปัจจุบน มีประเทศที่เป็ นสมาชิกขององค์กรเพื่อความร่ วมมือทางเศรษฐกิ จและการ พัฒนา (OECD) กว่า 60 ประเทศเข้าร่ วมโครงการ ซึ่งครอบคลุมถึงเศรษฐกิจราวร้อยละ 90 ของโลก 23 ั ในด้านทักษะนั้น สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษามีบทบาทสาคัญในการสร้างศักยภาพให้กบแรงงานของประเทศไทย เมื่อ กล่ า วถึ ง ประเด็น ด้านแนวคิ ดใหม่ๆ ที่ อ ยู่ในระดับ ต่ า หน่ ว ยงานของรั ฐกาลังเตรี ย มการ “แผนแม่บ ทส าหรั บ เศรษฐกิ จ แบบ สร้างสรรค์” ภายใต้การให้ความช่วยเหลือด้านการเงินตามแผนฟื้ นฟูเศรษฐกิ จระยะที่ 2 โดยมีเป้ าหมายเพื่อส่ งเสริ มนวัตกรรมและ ความคิดสร้างสรรค์ที่มีพ้ืนฐานจากความได้เปรี ยบด้านความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งครอบคลุมถึงการปรับใช้ภูมิปัญญาและความรู้ ท้องถิ่น ของแรงงานและนักลงทุนชาวไทย นอกจากนี้ ยังมีคาแนะนาให้ธนาคารโลกและประเทศไทยทาการสารวจความเป็ นไปได้ที่ จะท าความร่ ว มมื อ ในด้า นวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัต กรรม โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง ในระดับ องค์ก รธุ ร กิ จ เพื่ อ ยกระดับ ่ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ อย่างไรก็ตาม ยังคงมีการหารื ออยูอย่างจากัดเกี่ยวกับลักษณะในการทาความร่ วมมือที่แน่ ชด ั ในประเด็นดังกล่าว 31 ั ที่จะดาเนิ นการในประเด็นดังกล่าวก็ได้ลดลงเรื่ อย ๆ นับแต่น้ นเป็ นต้นมา ประเทศไทยกาลังเผชิ ญหน้ากับปั ญหา สาคัญที่เกี่ยวข้องกับการรักษาผูป่วยติดเชื้ อเอชไอวีในปั จจุบน ซึ่ งได้ส่งผลให้ความท้าทายในการพัฒนามนุษย์ของ ้ ั ประเทศทวีความซับซ้อนยิ่งขึ้น การวางแผนเพื่อรับมือกับประเด็นความท้าทายเหล่านี้มีดงนี้ ั ก. การวิเคราะห์นโยบายเพื่อจัดลาดับความสาคัญด้านการศึ กษา ธนาคารโลกจะดาเนิ นงานร่ วมกับหน่วยงาน ภาครัฐในการวิเคราะห์นโยบาย 2 ด้าน ในประเด็นแรก เกี่ยวข้องกับการทาความเข้าใจภาวะซบเซาและผล ั คะแนนสอบที่ ลดลงของนักเรี ยนไทย รวมถึ งการพัฒนานโยบายที่ สามารถนาไปปฏิ บติได้จริ ง เพื่อให้ ้ แนวโน้มดังกล่าวเป็ นไปในทิ ศทางที่ดีข้ ึน การดาเนิ นการดังกล่าวครอบคลุมถึงการวิเคราะห์ขอมูลของ 24 ประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ เกี่ยวกับความสามารถในการอ่านของนักเรี ยนระดับประถมศึกษา ซึ่ งเป็ น สาเหตุสาคัญของแนวโน้มการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนในเวลาต่อมาร่ วมกับสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ประเด็นที่ สอง ได้แก่ การมุ่งเน้นนโยบายเพื่อนามาซึ่ งประสิ ทธิ ภาพและความเสมอภาคใน การสอบเข้าศึ กษาในมหาวิทยาลัย และการแต่งตั้งบุคคลเพื่อดารงตาแหน่ งทางวิชาการ และดาเนิ นงาน ร่ วมกับสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อปรับปรุ งคุณภาพและความเกี่ยวเนื่ องกันของการศึกษา ั ระดับอุดมศึ กษาในประเทศไทย การดาเนิ นการดังกล่าวจะช่ วยสร้ างกรอบแนวคิ ดให้กบการปฏิ รูปที่ จาเป็ นในภาคการศึ ก ษาตามที่ ก าหนดไว้ใ นแผนปฏิ รู ป การศึ กษาระยะที่ 2 (พ.ศ. 2552–2561) ซึ่ ง ธนาคารโลกสามารถเข้ามามีส่วนร่ วมในอนาคต25 ั ข. การให้คาปรึ กษาด้านนโยบายสาธารณสุ ขเพื่ อสร้ างความแข็งแกร่ งให้กบระบบการรั กษาสุ ขภาพ การ ั ดาเนิ นการดังกล่าวอาจครอบคลุมการวิเคราะห์ การสร้างความเข้มแข็งให้กบระบบบริ การสุ ขภาพขั้น พื้นฐาน และให้กลุ่มประชากรผูดอยโอกาสสามารถเข้าถึงระบบดังกล่าวได้26 การดาเนิ นนโยบายประกัน ้้ สุ ขภาพถ้วนหน้า การปฏิรูปแผนสวัสดิการรักษาพยาบาลราชการ การปรับปรุ งระบบกากับดูแลในภาวะ วิกฤตเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการว่างงานของสมาชิ กประกันสังคมที่จะได้รับการรวมเข้าเป็ นสมาชิ ก ของระบบประกันสุ ขภาพถ้วนหน้า การประเมินการกระจายอานาจ ซึ่ งรวมถึงการสร้างระบบบริ การด้าน สุ ขภาพที่ เป็ นเอกเทศ ตลอดจนการออกแบบและศึ กษาแบบจาลองด้านการเงิ นในเบื้ องต้น เพื่อประกัน ั สุ ขภาพให้กบชาวต่างด้าว นอกจากนี้ ธนาคารโลกจะยังคงให้ความช่ วยเหลือด้านวิชาการเพื่อให้ความ ช่วยเหลือแก่ประเทศไทยในการรับมือกับปัญหาการระบาดของเชื้อเอชไอวี/เอดส์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความ 24 อาทิ ข้อมูลที่ได้จากโครงการประเมินผลนักเรี ยนในระดับนานาชาติ (PISA) และการศึกษาแนวโน้มความสามารถเชิ ง คณิ ตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ในระดับนานาชาติ (Trends in International Mathematics and Science Study) 25 ้ มีการเสนอความเป็ นไปได้ในการให้ความช่ วยเหลือด้านวิชาการแก่ “สถาบันพัฒนาคุณสมบัติดานอาชี พ (Professional Qualifications Institute)” เพื่อให้การสนับสนุ นระบบในการรับรองมาตรฐานอาชี พ และพัฒนาขีดความสามารถในด้านอาชี พใน อนาคต อย่างไรก็ตามยังไม่ได้มีการหารื อเกี่ยวกับแนวทางที่ชดเจนในการทาความร่ วมมือในประเด็นดังกล่าวมากนัก ั 26 ประเด็นที่สาคัญ ซึ่งได้แก่การปฏิรูปการให้บริ การด้านสุ ขภาพให้เป็ นระบบที่มีการป้ องกันก่อนที่จะเกิดโรคขึ้น จาเป็ นต้อง ได้รับความช่วยเหลือในระดับท้องถิ่น เพื่อให้ความรู้และสร้างความตระหนัก นอกจากนี้ จาเป็ นต้องมีการพิจารณาประเด็นดังกล่าวใน การดาเนินงานตามนโยบายสุ ขภาพ หากเป็ นประเด็นที่ได้รับการประเมินว่ามีความสาคัญเป็ นลาดับต้น ๆ 32 ช่วยเหลือในการ (ก) ดาเนินการและประเมินการให้การสนับสนุนด้านการเงินในรอบที่ 8 จากกองทุนโลก ู้ (The Global Fund) และ (ข) ปรับปรุ งศักยภาพของโครงการให้การรักษาแก่ผป่วยโรคเอดส์ 48. การพัฒนาตาข่ ายความปลอดภัยที่มีความเป็ นบูรณาการและทุกคนมีส่วนร่ วม จะช่ วยสร้ างความเข้ มแข็ง ให้ กับประเทศไทยในการให้ ความช่ วยเหลือประชากรที่มีฐานะยากจนและด้ อยโอกาสในระหว่ างวิกฤต อีกทั้งยังจะ ช่ วยจากัดความขัดแย้ งในสั งคมได้ อกด้ วย ความร่ วมมือของธนาคารโลกในด้านความคุมครองทางสังคมจะมุ่งเน้น ี ้ ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศไทย ในการเพิ่มประสิ ทธิ ผลของโครงการด้านระบบตาข่ายความปลอดภัยทางสังคม แม้ว่าระดับการดาเนิ นงานของแรงงานนอกระบบโดยรวมจะลดลงเล็กน้อยในช่วงปี ที่ ผ่านมา แต่ก็ยงถือว่าอยู่ใน ั ระดับที่สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อนารายได้ต่อหัวของประชากรในประเทศมาพิจารณา แรงงานชาวไทยส่ วนใหญ่ อยู่นอกระบบ แต่ขอมูลเกี่ ยวกับแรงงานกลุ่มนี้ กลับมีอยู่อยู่อย่างจากัด ตลอดจนผลกระทบของการดาเนิ นชี วิตอยู่ ้ นอกระบบนี้ มีต่อสวัสดิการและรายได้ของประชากร และผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขันของเศรษฐกิจ ตลอดจนการมีส่วนร่ วมทางสังคมในระยะยาวอีกด้วย การออกแบบระบบตาข่ายความปลอดภัยทางสังคมทั้งใน ้ ระดับประเทศและระดับสากล รวมทั้งตลาดแรงงานระบบความคุมครองทางสังคมที่จะช่วยส่ งเสริ มความสามารถ ้ ในการแข่ งขันและให้การคุ มครองอย่างเพี ยงพอยังคงเป็ นสิ่ งจาเป็ นที่ มีความส าคัญในลาดับต้นๆ ในระยะยาว ้ ั ้ สาหรั บผูกาหนดนโยบาย ในปั จจุบน มี โครงการด้านความคุมครองทางสังคมที่ ถูกจัดตั้งขึ้ นในหลายต่ อหลาย ช่ ว งเวลารวมทั้งภายหลังเกิ ด วิ กฤตครั้ งที่ ผ่า นมา อย่ า งไรก็ต าม โครงการเหล่ า นี้ อาจไม่ ส ามารถรวมกันเป็ น ้ ้ ยุทธศาสตร์ ดานความคุ มครองทางสังคมที่ สมบูรณ์ ได้ ธนาคารโลกได้ระบุ ประเด็นต่าง ๆ ที่ สามารถให้ความ ั ช่วยเหลือด้านวิชาการและการเงินที่อาจเป็ นไปได้ดงต่อไปนี้ ้ ก. การปฏิ รูประบบบานาญ ปั ญหาที่ สาคัญประการหนึ่ งของวาระด้านความคุมครองทางสังคมได้แก่ ความ ้ ั คุมครองที่ ไม่ทนสมัย ด้วยเหตุ น้ ี จึ งจาเป็ นต้องตั้งคาถามว่า จะออกแบบ บูรณาการ และสร้ างความ ั ้ แข็งแกร่ งให้กบ กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ กองทุนความคุมครองทางสังคม กองทุนสารองเลี้ยง ชีพที่รัฐเป็ นเจ้าของ และกองทุนสารองเลี้ยงชีพของพนักงานใหม่ได้อย่างไร27 ธนาคารโลกได้เข้าไปมีส่วน ร่ วมกับภาครัฐในด้านบาเหน็จบานาญหลายด้านที่ เกี่ ยวข้องกับแรงงานนอกระบบในภาพรวมด้วยการ แบ่งปั นประสบการณ์ในระดับนานาประเทศ และยังคงมีอีกหลายประเด็นที่สามารถดาเนิ นการได้เพื่อทา ให้ส ามารถพิ จารณานโยบายในเชิ งลึ กลงไปได้อี ก โดยมี พ้ื นฐานอยู่บนการวิ เ คราะห์ แ ละออกแบบที่ 27 เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 กองทุนบาเหน็จบานาญราชการได้ขอคาปรึ กษาจากฝ่ ายบริ การด้านคาปรึ กษาด้านบานาญ ั ของธนาคารโลก (Treasury Pension Advisory Services) ในการเพิ่มศักยภาพและความช่วยเหลือด้านวิชาการโดยมีวตถุประสงค์เพื่อ สร้ า งความแข็ง แกร่ ง ให้กับ การบริ ห ารจัด การด้านการลงทุ น และโครงสร้ างพื้น ฐาน เมื่ อ เดื อ นพฤษภาคม พ.ศ. 2552 ได้มี การ ดาเนินการในขั้นตอนแรกของความร่ วมมือ โดยการทบทวนเพื่อทาการวินิจฉัยเบื้องต้นเกี่ยวกับการบริ หารจัดการด้านการลงทุนใน ั ทุกด้านของกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ และมีการส่ งร่ างบันทึกช่วยจาให้กบกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการเพื่อขอรับความ คิดเห็ น อย่างไรก็ตาม การดาเนิ น การในระยะเวลาต่อ มาเป็ นไปอย่างไม่ก้าวหน้ามากนัก เนื่ อ งจากมีการเปลี่ยนแปลงผูบ ริ หาร ้ ระดับสู งของกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองเกิดขึ้น ปัจจุบนธนาคารกาลังอยู่ในระหว่าง ั การหารื อกับเลขาธิการกองทุนฯ ที่เพิ่งได้รับการแต่งตั้งขึ้นมาดาเรงตาแหน่งเมื่อเกือนมกราคม พ.ศ. 2553 33 พอเพียง การดาเนินการดังกล่าวจะเป็ นความร่ วมมืออย่างใกล้ชิดกับธนาคารพัฒนาแห่ งเอเชี ย (ADB) ซึ่ ง ได้ให้ความช่วยเหลือในประเด็นนี้เป็ นอย่างมาก ข. การปรับปรุ งให้ประชากรที่ มีฐานะยากจนสามารถเข้าถึงความช่ วยเหลือด้านการเงิ นได้มากยิ่งขึ้ น แม้ว่า ภาคการเงินของประเทศไทยจะมีการพัฒนาเป็ นมากในด้านธุรกิจขนาดใหญ่ แต่ก็ยงคงมีช่องว่างให้เห็นได้ ั ั ้ ู้ อย่างชัดเจนโดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับประชากรที่มีฐานะยากจนที่ยงคงเสี ยเปรี ยบผูให้กยืมเงินนอกระบบ ความช่วยเหลือที่ธนาคารโลกสามารถเข้าไปมีส่วนร่ วม ซึ่ งรัฐบาลได้แสดงความสนใจร่ วมมือครอบคลุม ถึงการพัฒนาสิ นเชื่อรากหญ้าเพื่อการดาเนินธุรกิจ ระบบการเงินการธนาคารอิสลาม ตลอดจนการให้ความ ช่วยเหลือด้านการเงินแก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ค. การสนับสนุนระบบตาข่ายความปลอดภัยให้ประชากรได้มีส่วนร่ วมมากยิ่งขึ้น ในปัจจุบน ประเทศไทยมี ั สถาบันที่ดาเนิ นการด้านความคุมครองทางสังคมอยู่เป็ นจานวนมาก ซึ่ งครอบคลุมถึงสถาบันที่ ก่อตั้งขึ้ น ้ ่ หลังเกิดวิกฤตใน พ.ศ. 2540 แม้วาการดาเนินการของสถาบันเหล่านี้จะส่ งผลให้ประเทศไทยก้าวขึ้นมาอยู่ ในสถานะที่ ดีข้ ึนในการตอบสนองต่อวิกฤต แต่ก็ยงคงมีช่องว่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนในประเด็นเกี่ยวกับ ั การเข้าถึงประชากรที่ อยู่นอกระบบในเขตเมื องและภูมิภาคที่ มีฐานะยากจน เช่ น ในภาคเหนื อและภาค ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ด้วยเหตุน้ ี ธนาคารโลกจึงจะมองหาแนวทางการให้ความช่ วยเหลือแก่รัฐบาลใน การมุ่งสู่ ระบบตาข่ายความปลอดภัยแบบองค์รวม ซึ่ งจะช่ วยเติ มเต็มช่ องว่างและกาจัดความซ้ าซ้อน ซึ่ ง รวมถึงการกาหนดเป้ าหมายของโครงการต่าง ๆ ให้ตรงจุดยิ่งขึ้น ง. การรับมือความขัดแย้งในภาคใต้ ปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในภาคใต้มาเป็ นระยะเวลายาวนานได้ส่งผล ให้เกิ ดความแตกแยกขึ้ นในพื้ นที่ ด ังกล่าว ซึ่ งได้ทาให้การพัฒนาเป็ นไปอย่างเชื่ องช้ากว่าพื้ นที่ อื่นของ ประเทศ ได้มีการนาเสนอว่านโยบายการให้งบประมาณในพื้นที่ความขัดแย้งในลักษณะที่ว่ายิ่งเกิดความ รุ นแรงมากเท่าไรพื้นที่ดงกล่าวก็ยิ่งได้รับงบประมาณน้อยลงเท่านั้น รวมทั้งวิธีการพัฒนาจากที่ส่วนกลาง ั และฝ่ ายบริ หารเป็ นผูตดสิ นใจ แล้วจึงสั่งการลงไปยังผูปฏิบติการในพื้นที่น้ นได้ส่งผลในเชิ งลบต่อการอยู่ ้ั ้ ั ั ร่ ว มกัน ตลอดจนความสัม พัน ธ์ ใ นชุ มชน ซึ่ ง ได้ทาให้ค วามขัด แย้งทวี ค วามรุ นแรงมากยิ่ งขึ้ น จาก การศึกษาแนวทางการพัฒนาชุมชนที่มีความเหมาะสมในเชิ งวัฒนธรรมและประชากรในสังคมมีส่วนร่ วม จึงได้มีการจัดตั้งโครงการที่ได้รับความช่วยเหลือด้านการเงินจาก กองทุนเพื่อชาติและการสร้างสันติภาพ (SPF) ภายใต้ชื่อโครงการ “โครงการแนวทางพัฒนาชุมชนนาร่ องเพื่อลดความขัดแย้ งใน 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ของประเทศไทย ระยะที่ 2 (Piloting Community Approaches in Conflict Situation in Three ่ Southernmost Provinces in Thailand)” ขึ้น ซึ่ งจะช่วยให้สามารถรับมือกับประเด็นความยุงยากดังกล่าวได้ กิจกรรมในโครงการถูกกาหนดขึ้นจากการประเมินความขัดแย้งแบบองค์รวมที่ดาเนิ นการไปในระยะที่ 1 และจะช่วยพัฒนาแนวทางพัฒนาชุมชนที่มีประสิ ทธิ ภาพในการพัฒนาชุมชน ซึ่ งจะสร้างพื้นที่และโอกาส ในการมีปฏิสัมพันธ์จากชุมชนระหว่างชุมชน รวมทั้งกลไกของรัฐ ในความพยายามที่จะเพิ่มความเชื่ อมัน ่ ได้มากยิงขึ้น ่ 34 ประเด็นที่ 2 ธรรมาภิบาลและปฏิรูปภาครัฐ 49. ธรรมาภิบาลถือเป็ นหั วใจสาคัญของวาระการพัฒนาในด้ านความสามารถในการแข่ งขัน ธนาคารโลก ดาเนิ นการร่ วมกับRegional Governance Hub ประจาภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกและแปซิ ฟิก และคณะผูเ้ ชี่ ยวชาญใน ั ระดับโลก(Global Expert Team) ในด้านการปฏิบติงานของภาครัฐ และจะมีการดาเนิ นโครงการตามที่วางแผนไว้ เพิ่มเติ มรวมทั้งจะรวมเข้าเป็ นส่ วนหนึ่ งของความร่ วมมื อเพื่อการพัฒนาประเทศด้านธรรมาภิ บาลและการปฏิ รูป ่ ภาครัฐที่กาลังดาเนินอยูในขณะนี้ ความช่วยเหลือที่สามารถดาเนินการได้ครอบคลุม ดังต่อไปนี้ ก. การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของหน่วยงานภาครัฐเพื่อให้บริ การแก่ประชาชนได้ดีข้ ึน ธนาคารโลกจะดาเนิ นการ ร่ ว มกับหน่ วยงานภาครั ฐ หลายแห่ งเพื่ อเพิ่ มศักยภาพในการให้บริ การที่ มีคุ ณ ภาพ ตลอดจนปรั บปรุ ง ประสิ ทธิ ภาพของกรอบกฏระเบียบให้มีบรรยากาศของการดาเนิ นธุ รกิจ ซึ่ งจะครอบคลุมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ ออกแบบขึ้ นเพื่อ (ก) ปรับปรุ งระบบและควบคุมให้สามารถบริ หารจัดการได้อย่างมีประสิ ทธิ ผลและ โปร่ งใสมากยิ่งขึ้น ตลอดจนปรับปรุ งการบริ หารงานการเงินการคลังภาคสาธารณะ (ข) เพิ่มความสามารถ การบริ หารงานสาธารณะในการให้บริ การ (ค) ดาเนิ นการตามกรอบงบประมาณที่ ต้ งอยู่บนพื้นฐานั นโยบายตามยุทธศาสตร์ (ง) พัฒนาแผนการแม่บทการปฏิ รูปภาครั ฐ (ครอบคลุมการกาหนดบทบาท ั ความสามารถในการปฏิบติงาน และการกากับดูแล) สถาบันการเงินเฉพาะกิจเพื่อพัฒนาประสิ ทธิ ผลและ ประสิ ทธิ ภาพของธนาคารที่ รัฐเป็ นเจ้าของให้สามารถดาเนิ นกิ จกรรมด้านสังคมและธุ รกิ จได้ และ (จ) ประสานกรอบการบริ หารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ในการนี้ ธนาคารโลกจะดาเนิ นการต่อเนื่ องจากการ ประเมินเมื่ อ พ.ศ. 2552 โดยจัดทารายงานการบริ หารการเงิ นการคลังภาคสาธารณะ (Public Finance Management Report - PFMR) และบันทึกเศรษฐกิจของประเทศ (Country Economic Memorandum) ใน อีก 2 ปี ข้างหน้า และจะประสานงานกับภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้งสถาบันการศึกษาอย่างใกล้ชิด ผลที่ได้ จากการวิเคราะห์เหล่านี้จะช่วยให้สามารถระบุประเด็นที่จาเป็ นต้องจัดการเพื่อปรับปรุ งการให้บริ การและ ส่ งเสริ มการเติบโตอย่างสมดุลและทุกฝ่ ายมีให้เกิดขึ้นได้28 นอกจากนี้ ธนาคารโลกจะให้ความช่วยเหลือ ด้า นการด าเนิ น งานแก่ ห น่ ว ยงานดัง ต่ อ ไปนี้ อาทิ ส านัก งานคณะกรรมการพัฒ นาระบบราชการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฯลฯ เพื่อดาเนิ นงานตามข้อแนะนาในด้านต่าง ๆ ประการสุ ดท้าย ธนาคารโลกจะให้ความช่ วยเหลือด้านการดาเนิ นงานแก่กรมส่ งเสริ มการปกครองส่ วน ท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทยเพื่อช่วยปรับปรุ งการบริ หารงานด้านการเงินในระดับท้องถิ่นอีกด้วย นอกจากนี้ ธนาคารโลกยังมีส่วนร่ วมกับหน่ วยงานของรัฐในโครงการระบบบริ หารจัดการข้อมูลที่ ดินที่ ั ้ อาจเกิดขึ้น ซึ่ งจะมีวตถุประสงค์เพื่อให้บริ การและให้ขอมูลด้านที่ดินที่มีประสิ ทธิ ภาพ โปร่ งใส และเข้าถึง ได้ง่ายผ่านระบบฐานข้อมูลที่ ดินแห่ งชาติ ระบบดังกล่าวถูกมองว่าเป็ นโครงสร้างพื้นฐานที่ สาคัญที่จะ ส่ งผลให้การดาเนินนโยบายด้านการใช้ประโยชน์จากที่ดินเป็ นไปด้วยความสะดวกมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ 28 ไม่ควรมีการประเมินการให้ความสาคัญต่อความต้องการภายในในประเทศในฐานะที่เป็ นแหล่งการเติบโตทางเศรษฐกิ จ ต่าเกินไปได้ เนื่ องจากมีความเกี่ยวโยงที่มีต่อการจ้างงานที่ยงยืนและการสร้างอาชีพ ประเด็นเหล่านี้ มีแนวโน้มว่าจะต้องอาศัยการ ั่ ่ ปฏิรูปภาคสถาบัน และความร่ วมมือที่อาจมีข้ ึนในอนาคต อย่างไรก็ตามการดาเนินการดังกล่าวอยูนอกเหนื อขอบเขตของรายงานใน เบื้องต้นฉบับนี้ 35 ยังจะช่ วยด้านความพยายามในการขยายฐานภาษีอีกด้วย และประการสุ ดท้ายธนาคารโลกพิจารณาให้ ความช่วยเหลือในการแปรรู ปหน่วยงานภาครัฐสู่ภาคเอกชน (Privatization) หากมีการร้องขอ อีกด้วย ั ั ้ ข. การสร้างความเข้มแข็งให้กบกรอบการตรวจสอบจากภายนอกให้กบผูมีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อให้เพิ่มคุณภาพ ั การให้บริ การ ธนาคารโลกจะมุ่งเน้นเพิ่มศักยภาพให้กบองค์กรภาคประชาสังคมและสถาบันการศึกษา ให้สามารถ (ก) วิเคราะห์นโยบายได้อย่างอิสระ (ข) ร่ วมดาเนินงานกับหน่วยงานภาครัฐในการหารื อด้าน ั นโยบายและการนาไปปฏิบติ (ค) จัดให้มีเครื่ องมือที่จะทาให้สามารถร้องขอการบริ การที่มีประสิ ทธิ ภาพ และทันเวลา นอกจากนี้ ธนาคารโลกยังจะให้ความช่ วยเหลื อในการสร้ างความร่ วมมื อระหว่า งภาค สาธารณะ สถาบันการศึกษา และองค์กรภาคประชาสังคม อาทิ ผ่านทางบันทึ กความเข้าใจกับสานักงาน คณะกรรมการพัฒ นาระบบราชการ สถาบั น บัณ ฑิ ต พัฒ นบริ หารศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่ งชาติ เพื่อให้ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องมากยิ่งขึ้น กรอบการดาเนิ นการด้านการตรวจสอบจาก ้ ภายนอกจะช่ วยให้ประเทศไทยให้สามารถดาเนิ นการตามพระราชบัญญัติขอมูลข่าวสาร (อิสระในการ ออกกฎหมายข้อมูลข่าวสาร) และยังช่วยให้สามารถพัฒนากรอบการดาเนิ นการเพื่อเพิ่มการมีส่วนร่ วมจาก องค์กรประชาสังคมในกระบวนการจัดซื้ อจัดจ้างภาคสาธารณะ นอกเหนื อจากความช่วยเหลือด้านการ วิเคราะห์และการดาเนิ นการต่าง ๆ แล้ว ธนาคารโลกยังจะสนับสนุนให้เกิดความร่ วมมือระหว่างประเทศ ไทยและนานาประเทศ ซึ่ งรวมถึงระบบการบริ หารการคลังภาคสาธารณะ และการปฏิรูปการบริ หารงาน ภาครัฐ รวมทั้งการดาเนินการต่าง ๆ เพื่อแบ่งปันความรู ้และสร้างเสริ มศักยภาพต่อไปอีกด้วย ้ ่ ประเด็นที่ 3 โครงสร้ างพืนฐานและการเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศ 50. ้ ้ หลังจากวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึนเมื่อ พ.ศ. 2540 การลงทุนด้ านโครงสร้ างพืนฐานในประเทศไทยยังคงไม่ ้ ้ ฟื้ นตัวขึนอย่ างเต็มที่ ในขณะที่ความต้ องการด้ านโครงสร้ างพื้นฐานเพิ่มสู งขึนเป็ นอันมากอันเป็ นผลจากการเติบโต ทางเศรษฐกิจ การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานทางสังคมและกายภาพ ซึ่ งรวมถึงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อสารเกิดขึ้นในวงจากัดเป็ นอันมากนับตั้งแต่พ.ศ. 2540 เป็ นต้นมาส่ งผลให้เกิดความต้องการขึ้ นทัวประเทศ ่ ในด้านความช่วยเหลือด้านการเงินในโครงสร้างพื้นฐานนั้น แม้ว่าความร่ วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนจะมี ั ศักยภาพในระดับสูง แต่ความร่ วมมือดังกล่าวกลับไม่ประสบความสาเร็ จมากนักในปั จจุบน ความร่ วมมือระหว่าง ั ภาครัฐและภาคเอกชนนับว่ามีความสาคัญเป็ นอย่างยิ่งในปั จจุบน เมื่อพิจารณาความสาคัญของโครงการลงทุนใน โครงสร้ างพื้ นฐานในช่ วงปี ที่ ผ่านมา เมื่ อพิ จารณาถึ งความต้องการเหล่านี้ กลุ่มธนาคารโลกจะยังคงให้ความ ช่วยเหลือในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการปรับปรุ งคุณภาพผ่านทางการให้บริ การด้านที่ปรึ กษาที่ ดีข้ ึ นใน ด้านการปฏิรูปภาคส่ วนย่อยของโครงสร้างพื้นฐานที่มีความสาคัญ และหากเป็ นไปได้ก็จะให้ความช่วยเหลือด้าน การเงินในการลงทุน แนวทางดาเนินการที่วางแผนไว้มีดงนี้ ั ก. การให้ความช่ วยเหลื อด้านการวิเคราะห์แก่ แผนแม่บทด้านการพัฒนาโครงสร้ างพื้นฐานแห่ งชาติ อย่าง ต่ อ เนื่ อ ง กระทรวงการคลังและคณะกรรมการพัฒ นาการเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ไ ด้ร ะบุ ค วาม ช่วยเหลือที่จาเป็ นต้องได้รับความสนับสนุนเป็ นลาดับต้น ๆ ไว้หลายประเด็นซึ่ งครอบคลุมถึง การพัฒนา 36 กรอบกฎหมายและสถาบัน การถ่ายโอนความรู ้เกี่ยวกับแนวทางปฏิบติในด้านการบริ หารงบประมาณของ ั ความร่ วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน และโครงการความช่วยเหลือแก่ภาคสาธารณะต่าง ๆ ั ข. การให้ความช่ วยเหลือแก่หน่ วยงานที่ มีหน้าที่ บงคับใช้กฎระเบี ยบข้อบังคับต่าง ๆ จากความร่ วมมือกับ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติที่ประสบความสาเร็ จอย่างสู ง ในขณะนี้ กาลังมีการเตรี ยมการ โครงการร่ วมมือในด้านค่ าใช้จ่ายในระยะที่ 5 โครงการดังกล่าวมีวตถุประสงค์เพื่อให้ความช่ วยเหลื อ ั กทช. ในการสร้างศักยภาพด้านยุทธศาสตร์ รวมถึงกฎข้อบังคับเกี่ยวกับการออกใบอนุญาตใช้บอร์ ดแบนด์ ไร้สายการ ให้บริ การด้านที่ปรึ กษาจะมุ่งเน้นวางแผนกระบวนการการออกใบอนุญาตโดยนาการปฏิบติ ั ของประเทศอื่น ๆ ตลอดจนเงื่อนไขต่าง ๆ ในประเทศไทยมาพิจารณา นอกจากนี้ ธนาคารโลกยังจะเข้า ไปมีส่วนร่ วมกับหน่วยงานภาครัฐในด้านวาระเชิ งยุทธศาสตร์ เกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร และ แอพพลิเคชัน (Applications) โดยวาระดังกล่าวจะช่วยเพิ่มความสามารถ ่ ในการแข่งขันของประเทศไทยให้มุ่งสู่เศรษฐกิจแบบฐานความรู ้ได้ในที่สุด29 ค. การให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่ภาคส่ วนย่อยของโครงสร้างพื้นฐาน เมื่อพิจารณาประสบการณ์ดาน ้ การสร้างถนนที่ได้จากโครงการบริ หารทางหลวงที่กาลังดาเนิ นอยู่จะมีการประเมินความเป็ นไปได้ในการ ขยายขอบเขตของโครงการไปยังภาคส่ วนย่อยอื่น ๆ ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น อาทิ การบริ หารทางรถไฟ ที่ดิน น้ า หรื อ การจัดการน้ าเสี ย เป็ นต้น รัฐบาลได้แสดงความสนใจขอรับการสนับสนุนด้านการเงินใน ด้านการสร้ างถนน ซึ่ งจะเป็ นดาเนิ นการอย่างใกล้ชิดกับธนาคารพัฒนาแห่ งเอเชี ย รั ฐบาลยังได้แสดง ความสนใจขอรับความช่วยเหลือทางวิชาการในเรื่ องน้ า โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกี่ยวข้องกับการชลประทาน ั นอกจากนี้ ยงอาจมีความร่ วมมือในกิจกรรมด้านอื่น ๆ ซึ่ งได้แก่ การร่ วมกับภาครัฐเพื่อพัฒนาโครงการนา ร่ องด้านความร่ วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (PPP) เพื่อช่ วยสร้างศักยภาพในการออกแบบและ ดาเนิ นโครงการที่เป็ นความร่ วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนต่าง ๆ และพัฒนากรอบการดาเนิ นงาน ไปพร้อม ๆ กัน ง. ความช่ วยเหลือจากบรรษัทการเงิ นระหว่างประเทศด้านโครงสร้างพื้นฐาน การมี ส่วนร่ วมของบรรษัท ้ การเงินระหว่างประเทศครอบคลุมถึงการให้ความช่วยเหลือในโครงการขนาดใหญ่ดานโครงสร้างพื้นฐาน 29 การมีส่วนร่ วมของธนาคารโลกมีแ นวโน้มว่าจะมุ่งเน้นสิ่ งแวดล้อมในการดาเนิ นการโครงสร้ างพื้นฐานเกี่ ยวกับบอร์ ด แบนด์ในภาพรวมซึ่ งครอบคลุม (ก) นโยบายเพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันและดึงดูดการลงทุนจากภาคเอกชน (ข) นโยบายที่เปิ ดโอกาสให้ประชากรในพื้นที่ ชนบทสามารถเข้าถึงอินเตอร์ เน็ตบอร์ ดแบนด์ e-Government และแอพพลิเคชั่นที่ มี ความสาคัญอื่น ๆ ได้ และ (ค) ยุทธศาสตร์ในการขยายขอบเขตการให้บริ การด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร โดยเฉพาะ สาหรับธุ รกิจส่ งออกนอกประเทศ นอกจากนี้ ธนาคารโลกยังได้รับการร้องขอจากหน่ วยงานภาครัฐ เพื่อขอความช่วยเหลือในการ ออกแบบยุทธศาสตร์ที่ตรงเป้ าหมายเพื่อขจัดข้อจากัด ตลอดจนสร้างสภาวะให้พร้อมรับการเติบโตของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมของไทยในกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ/การให้บริ การด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT/ITES) เงินทุนช่ วยเหลือในโครงการ ดังกล่าวมีที่มาจากกองทุนบริ การให้คาปรึ กษาด้านโครงสร้างพื้นฐานแก่ภาคเอกชนของรัฐ (PPIAF) และ กองทุนเพื่อการฟื้ นฟูและ พัฒนาระบบสถาบันการเงิน (IDF) 37 โดยเน้นโครงการที่มีส่วนช่วยให้เกิดการเติบโตแบบคาร์ บอนต่า (Low Carbon Growth) 30 บรรษัทการเงิน ระหว่างประเทศจะยังคงดาเนิ นการร่ วมกับผูเ้ กี่ยวข้องทุกฝ่ ายในการให้ความช่วยเหลือแก่โครงการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทย ผ่านทั้งการให้บริ การด้านการลงทุนและคาปรึ กษาของตน ซึ่ งจาเป็ น ั จะต้องใช้ศกยภาพเป็ นอันมากที่ จะเข้าถึงตลาดทุน ตลอดจนความเชี่ ยวชาญในการวางโครงสร้ างความ ู้ ร่ วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้ผสนับสนุนที่เหมาะสมกับโครงการเกิดความสนใจ รวมทั้ง เพื่อให้การกระจายภาระผูกพันทางการเงิ นเป็ นไปอย่างเท่าเที ยมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนอี กด้วย ความไม่ แ น่ น อนทางเศรษฐกิ จ และการเมื อ งที่ เ กิ ด ขึ้ น ในประเทศไทยเมื่ อ ไม่ น านมานี้ ได้ส่ ง ผลให้ ภาคเอกชนทวีความกังวลเกี่ยวกับความเสี่ ยงของการลงทุนในประเทศ ด้วยเหตุน้ ี บรรษัทการเงินระหว่าง ประเทศซึ่ งมี หลักการที่ ชัด เจนในการเติ มเต็มบทบาทของการเป็ นกองทุ นที่ ส่งผลต่ อการขยายตัวทาง เศรษฐกิ จให้อยู่ในอัตราที่ ไม่รวดเร็ วเกิ นไป (Countercyclical Role) โดยการจัดระเบี ยบการดาเนิ นการ เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่โครงการที่มีแนวโน้มที่ดีในการพัฒนา แต่อาจไม่ได้รับเงินสนับสนุนเนื่ องจากมี ้ ความเสี่ ยงในระยะสั้น และเพื่ อ สร้ างผลการดาเนิ นงาน ซึ่ งอาจช่ วยกระตุ นให้เ กิ ด การตอบสนองจาก ้ ภาคเอกชนอีกด้วย บรรษัทการเงินระหว่างประเทศสามารถให้เงินกูยืมระยะยาวดอกเบี้ยคงที่เป็ นเงินบาท ั ซึ่ งไม่สามารถหาได้ในตลาดเงินทัวไปในประเทศ ตลอดจนสร้างความแข็งแกร่ งให้กบการดาเนิ นงานเสริ ม ่ ั รวมทั้งบทบาทที่อาจมีในโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐาน ในปั จจุบน บรรษัทการเงินระหว่างประเทศ กาลังอยู่ในระหว่างหารื อกับรัฐบาลเกี่ ยวกับการให้ความช่ วยหลือโครงการความร่ วมมือระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชนในด้านการขนส่ งในเขตเมือง 51. การเปลี่ยนแปลงสภาพภู มิอากาศจาเป็ นต้ องได้ รับการยอมรั บว่ าเป็ นประเด็นหลักของการพัฒนาของ ประเทศไทย ประเทศไทยถูกจัดให้อยู่ในลาดับที่ 24 ของประเทศที่มีการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกมากที่สุดในโลก31 และสุ่ มเสี่ ยงต่อการได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็ นอันมาก ผลกระทบทางตรงไม่เพียง ั ทาให้อุณหภูมิเฉลี่ยและระดับน้ าทะเลเพิ่มสู งขึ้ นเท่านั้น แต่ยงก่อให้เกิดสภาวะสภาพอากาศแปรปรวน ซึ่ งรวมถึง ภาวะน้ าท่วม ความแห้งแล้ง และพายุที่ทวีความรุ นแรงมากขึ้น ความเสี่ ยงต่าง ๆ ซึ่ งรวมถึงข้อจากัดทางกายภาพใน การลงทุน การเติ บโตทางเศรษฐกิ จที่ ต่ ากว่าเป้ าหมาย ตลอดจนความเป็ นไปได้ที่โครงการต่ าง ๆ จะเพิ่ มความ อ่อนไหวและความสุ่ มเสี่ ยงให้สูงขึ้น ล้วนแต่เชื่ อมโยงกับวาระด้านความสามารถในการแข่งขัน เมื่อมองประเด็น ด้านการบรรเทาผลกระทบและและการปรับตัว32 การมีส่วนร่ วมอาจครอบคลุมถึงด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 30 ยุทธศาสตร์ ประจาภูมิภาคของบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ มุ่งเน้นการให้บริ การด้านลงทุนและคาปรึ กษาแก่ (ก) ่ ประเทศที่เป็ นสมาชิกสมาคมการพัฒนาระหว่างประเทศ (IDA) และภูมิภาคที่อยูในแนวพรมแดนของประเทศที่มีรายได้ในระดับปาน กลาง และ (ข) เพื่อบรรเทาผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ 31 ข้อมูลจากกระทรวงพลังงานแห่งสหรัฐอเมริ กา 32 การบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและการปรับตัว w,ไม่ควรถูกแยกจากความสาคัญในด้าน ั่ อื่นๆ แต่ควรรวมทั้ง 2 ประเด็นข้างต้นให้เป็ นส่ วนหนึ่งของการวางแผน การดาเนิ นการ ตลอดจนโครงการเพื่อพัฒนาที่ยงยืน เราอาจ มองว่าการบรรเทาผลกระทบเป็ นการลงทุน หรื อมีมูลค่าที่จาต้องใช้จ่ายไปในขณะนี้ จนถึง 2 หรื อ 3 ทศวรรษข้างหน้า เพื่อหลีกเลี่ยง ความเสี่ ยงที่จะเกิดผลกระทบที่ร้ายแรงในอนาคต อย่างไรก็ตาม การปรับตัว นับว่าเป็ นเพียงการตอบสนองในแนวทางเดียวที่สามารถ 38 ้ ก. การบรรเทาผลกระทบ ยุทธศาสตร์ ดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในแผนพัฒนาฯ แห่ งชาติฉบับที่ 10 นั้น ได้มีการย้ าถึงความสาคัญของโอกาสที่ จะส่ งเสริ มการใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและการ เติ บโตแบบคาร์ บอนต่ า ในการนี้ การดาเนิ นการลงทุนในโครงการที่ ปล่อยคาร์ บอนในปริ มาณต่ าจึ งมี ความจาเป็ นมากขึ้ น ซึ่ งการลงทุ นเหล่ านี้ จะช่ วยเพิ่ มความสามารถในการผลิ ต และการแข่ งขันให้กับ ประเทศไทยในระยะปานกลางและระยะยาว นอกเหนือจากการให้คาปรึ กษาในโครงการซื้ อขายคาร์ บอน ั เครดิต (ย่อหน้าที่ 40) แล้ว ในปั จจุบนยังมีการเตรี ยมการโครงการที่ดาเนิ นการควบคู่กนไปภายใต้กองทุน ั Forest Carbon Partnership Fund (FCPF) การประเมินศักยภาพด้านกลไกความพร้อม (Readiness Mechanism Capacity Assessment) ยังจะช่วยให้รัฐบาลไทยสามารถระบุช่องว่างด้านศักยภาพภายใต้กลไก ใหม่ได้อีกด้วย นอกจากนี้ โครงการลดการปล่อยสารทาลายโอโซน ระยะที่ 1 (ODS Phase 1) จะ ดาเนินการเสร็ จสิ้ นลงใน พ.ศ. 2556 และโครงการระยะที่ 2 กาลังอยู่ในขั้นตอนการเตรี ยมการในเรื่ อง การ เตรี ยมแผนบริ หารจัดการเพื่อลดการปล่อยก๊าซไฮโดรคลอโรฟลูโอคาร์ บอน (HCFC Phase Out) การสร้าง ้ ศักยภาพ (ได้แก่ การจัดฝึ กอบรมให้แก่ผูที่มีหน้าที่ ฝึกอบรม) และการเตรี ยมการดาเนิ นงานในด้านอื่น ๆ แผนการลงทุนในกองทุนเทคโนโลยีสะอาดของประเทศไทย (Thailad Clean Technology Fund) ซึ่ งได้รับ การรั บรองจากคณะกรรมการกองทุนเทคโนโลยีที่สะอาดเมื่อเดื อนธันวาคม พ.ศ. 2552 ประกอบด้วย โครงการหลักจานวน 2 โครงการ ได้แก่ (ก) การพัฒนาพลังงานสะอาดทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน (ข) การพัฒนาชุมชนเมืองในเขตกรุ งเทพมหานคร ปั จจุบนโครงการมูลค่า 300 ล้านเหรี ยญสหรัฐดังกล่าวอยู่ ั ระหว่างเตรี ยมการ กองทุ นพลังงานที่ สะอาด บรรษัทการเงิ นระหว่างประเทศและ ธนาคารระหว่าง ประเทศเพื่ อ การบู ร ณะและพัฒ นาได้ร่ ว มมื อ กัน ด าเนิ น โครงการนี้ ภายใต้ก องทุ น ดัง กล่ า วโดยมี ู้ วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความสามารถในการให้กยืมแก่ภาคการธนาคารของประเทศไทยในการสนับสนุ น ด้านการเงินแก่โครงการด้านการใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ การผลิตที่สะอาด และพลังงานทดแทน33 ข. การปรั บ ตัว (Adaptation) จ าเป็ นต้อ งมี ก ารพิ จ ารณาการเข้า แทรกแซงด้า นเกษตรกรรม ป่ าไม้ และ สิ่ งแวดล้อม รวมไปถึงกิจกรรมต่าง ๆ ในเขตเมือง เนื่ องจากประชากรในเขตเมืองที่มีอยู่เป็ นจานวนมาก ั กองทุนโลกเพื่อลดและฟื้ นฟูจากภัยพิบติGlobal Facility for Disaster Reduction and Recovery (GFDRR) จึงได้เข้าไปมีส่วนร่ วมโดยให้ความช่วยเหลือในการ (ก) การประเมินและเปรี ยบเทียบเมืองใหญ่ 4 แห่ งใน ั ั ั ทวีปเอเชี ยโดยใช้ตวชี้ วดความเสี่ ยงของเมืองที่รวมเอาปั จจัยความเสี่ ยงจากภัยพิบติและการเปลี่ยนแปลง ้ ของสภาพภูมิอากาศเข้าไว้ดวยกัน และ (ข) การดาเนิ นการฝึ กอบรมด้านการประเมินความต้องการจาเป็ น หลังเกิ ดภัยพิบติ (ดาเนิ นการในประเทศไทย โดยมีกรมการป้ องกันและบริ หารจัดการภัยพิ บติร่วมเป็ น ั ั ั เจ้าภาพ) ให้กบประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชี ย นอกจากนี้ รัฐบาลยังได้ลงนามในข้อตกลงเพื่อเข้าร่ วมใน โครงการลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกจากการทาลายป่ าและการเสื่ อมโทรมของป่ า (Reducing Emissions กระทาได้ ต่อผลกระทบที่อาจเกิ ดขึ้นใน 2 หรื อ 3 ทศวรรษข้างหน้า ก่ อนที่มาตรการระยะยาวเพื่อการบรรเทาผลกระทบจะส่ งผล ตามที่คาดหมายไว้ 33 การให้ความช่วยเหลือด้านการอานวยความสะดวก/ที่ ปรึ กษา มีโครงสร้างที่ คล้ายคลึงกับประเทศจี น เวียดนาม และฟิ ลิปปิ นส์ 39 from Deforestation and Forest Degradation - REDD) และกองทุนความร่ วมมือเพื่อลดก๊าซคาร์ บอนของ ภาคการป่ าไม้ (FCPF) ซึ่ งส่ งผลให้ประเทศไทยอยู่ในจุดที่สามารถจะเข้าถึงทรัพยากรต่าง ๆ ได้ในอนาคต ธนาคารโลกจะร่ วมมือกับประเทศไทยผ่านกองทุนสิ่ งแวดล้อมโลก (Global Environmental Facility – GEF) เพื่อพัฒนาข้อเสนอเพื่อขอรับการสนับสนุ นด้านเงิ นทุนจากกองทุนสิ่ งแวดล้อมโลกในช่ วง GEF5 ในการบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งคงไว้ซ่ ึ งความหลากหลายทาง ชีวภาพ ง. การสนับสนุนบทบาทของประเทศไทยในระดับภูมิภาคและระดับโลก 52. บทบาทของประเทศไทย ทวีความสาคัญมากขึนทั้งในระดับสากลและในอนุภาคลุ่มน้าโขง ในระดับภูมิภาค ้ นั้น ประเทศไทยถือเป็ นเสาหลักในการพัฒนาด้านตลาดการค้า ประสบการณ์ ตลอดจนการให้การสนับสนุน ด้านการค้า โครงสร้างพื้นฐาน และธรรมาภิบาล โครงการอนุภาคลุ่มน้ าโขงของธนาคารโลกซึ่ งมุ่งให้ความ ช่วยเหลือด้านการวินิจฉัยและการดาเนิ นการโครงการริ เริ่ มต่าง ๆ ในภูมิภาค โดยเน้นด้านการค้าพลังงาน การจัดการทรัพยากรแบบบูรณาการ การอพยพของแรงงาน รวมทั้งการอานวยความสะดวกด้านการค้าและ การคมนาคมมี บทบาทเสริ มที่ ส าคัญต่ อความร่ วมมื อของประเทศไทย และความร่ วมมื อทั้งหมดจะถูก นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด34 ในการนี้ ธนาคารโลกได้อนุมติเงินการกูยืมให้แก่โครงการอนุภาคลุ่มน้ า ั ้ โขงโครงการแรก คือ โครงการค้าพลังงานในเขตอนุภาคลุ่มน้ าโขง (GMS Power Trade Project) ไปเมื่อ เดื อนมิถุนายน พ.ศ. 2550 และกาลังอยู่ในระหว่างเตรี ยมดาเนิ นโครงการเกี่ ยวกับการจัดการทรัพยากรน้ า แบบบู ร ณาการในอนุ ภ าคอี ก ด้ว ย นอกจากนี้ ประสบการณ์ ด ้า นการพัฒ นาของประเทศไทยยัง เป็ น ั แหล่งข้อมูลที่สาคัญให้แก่ประเทศกาลังพัฒนาอื่น ๆ เพื่อเป็ นตัวอย่างแนวทางปฏิบติในด้านต่าง ๆ อาทิ การ ให้เงินสนับสนุนด้านสุ ขภาพ การป้ องกันเชื้อเอชไอวี การเข้าถึงการปฏิรูปภาคการเงินและการปฏิรูปภาครัฐ นอกจากนี้ ความร่ วมมื อ ดังกล่ า วยัง ครอบคลุมถึ ง การแลกเปลี่ ยนประสบการณ์ ด ้า นการพัฒ นาระหว่า ง ประเทศที่ชื่อว่า “South/South” โดยอาจดาเนิ นการผ่านสถาบันธนาคารโลก (World Bank Institute – WBI) และหน่ วยงานระดับภูมิภาค อาทิ สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ (ASEAN) ทั้งนี้ เพื่อเพิ่ม ้ บทบาทของประเทศไทยในฐานะผูให้ความรู ้ในภูมิภาค ประการสุ ดท้ายได้แก่ การที่ ประเทศไทยเป็ นผูมี ้ ส่ วนร่ วมที่สาคัญในโครงการริ เริ่ มเสื อโคร่ งโลก (Global Tiger Initiative –GTI) และกาลังก้าวเข้าสู่ ความเป็ น ้ หุนส่ วนระดับโลก ดังจะเห็นได้จากการที่ประเทศไทยได้ให้ความช่วยเหลือแก่สหภาพพม่าภายหลังเกิดพายุ ไซโคลนนาร์ กีส ความร่ วมมือดังกล่าวจะส่ งผลให้บทบาทของประเทศไทยในฐานะหุ นส่ วนการพัฒนาใน้ ระดับสากลทวีความแข็งแกร่ งยิ่งขึ้น ซึ่ งมีส่วนช่วยประเทศไทยสามารถกระชับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิ จ ั และยุทธศาสตร์กบประเทศเพื่อนบ้านของประเทศไทยอีกด้วย 53. องค์ ป ระกอบที่ สาคั ญ ของยุ ท ธศาสตร์ ของบรรษัท การเงิ นระหว่ า งประเทศในประเทศไทย คื อ การ ตระหนักถึงบทบาทอันสาคัญ ประเทศไทยในฐานะศู นย์ กลางการลงทุนของภูมิภาค และในประเทศเพื่อนบ้ านซึ่ ง 34 ั ้ การอานวยความสะดวกที่ชดเจนที่สุด ได้แก่ การที่หน่วยงานบริ หารจัดการประจาประเทศเดี ยวจะเป็ นผูบริ หาร จัดการโครงการอนุภาคลุ่มน้ าโขง 40 เป็ นสมาชิ กสมาคมการพัฒนาระหว่ างประเทศ รวมถึงบทบาทหลักที่มีต่อการเติบโตและการบู รณาการในกลุ่ม ้ ประเทศอาเซียน ประเทศไทยนับเป็ นหุนส่ วนสาคัญในความช่วยเหลือจากบรรษัทการเงินระหว่างประเทศในการ ั พัฒนาภูมิภาค และบรรษัทการเงินระหว่างประเทศจะให้ความช่วยเหลือแก่บริ ษทชั้นนาในประเทศไทยที่ตองการ ้ ลงทุนนอกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่ เป็ นสมาชิ กสมาคมการพัฒนาระหว่างประเทศ และประเทศ กาลังพัฒนา (South/South Investment) บรรษัทการเงินระหว่างประเทศได้มีการหารื อกับผูมีส่วนเกี่ยวข้องเกี่ยวกับ ้ ั แนวทางในการให้ความช่วยเหลือแก่โครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทย ซึ่ งจาเป็ นต้องมีศกยภาพใน การเข้าถึ งตลาดเงิ นทุนเอกชนเป็ นอันมาก นอกจากนี้ บรรษัทการเงิ นระหว่างประเทศยังได้หารื อกับสถาบัน การเงิ นต่าง ๆ ตลอดจนจะกากับดูแลระดับภาวะอ่อนแอทางการเงิ นอันเนื่ องมาจากวิกฤตเศรษฐกิ จโลกอีกด้วย เพื่ อให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนิ นการด้านการพัฒนาภูมิภาคและภู มิภาคที่ มีการพัฒนาอย่างเชื่ องช้านั้น บรรษัทการเงินระหว่างประเทศก็จะหาแนวทางให้ความช่วยเหลือโครงการที่จะส่ งผลด้านการพัฒนาในระดับที่สูง มากเป็ นพิเศษในภูมิภาคตามแนวเขตแดน เนื่องจากบรรษัทการเงินระหว่างประเทศมีทรัพยากรในประเทศไทยอยู่ อย่างจากัดจึงจะมีการแบ่งปันทรัพยากรจากประเทศอื่น ๆ มาใช้ดาเนินโครงการในประเทศในอนาคตอันใกล้ จ. การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ 54. การดาเนินโครงการภายใต้ ความร่ วมมือ ตารางที่ 4: นี้จ ะใช้ แนวทางการด าเนิ น งาน 3 ประการ ั โครงการชี้วดด้ านการวิเคราะห์ และให้ คาปรึกษา ล าดับแรก คื อ การใช้ ค วามรู้ และการให้ บ ริ ก าร ปี งบประมาณ 2553 – 2554 บันทึกข้อตกลงทางเศรษฐกิจของประเทศ ด้ านคาปรึ กษาจะยังคงเป็ นหลักของการดาเนิ น รายงานการบริ หารการคลังภาคสาธารณะ โครงการต่ อ ไป รั ฐ บาลไทยให้ค วามส าคัญแก่ ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศด้านการพัฒนามนุษย์ ้ ธนาคารโลกในฐานะหุ นส่ วนด้านความรู ้ การให้ ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศด้านการปฏิรูปภาครัฐและภาค ค าปรึ ก ษา และความเชี่ ย วชาญในระดับ สากล สาธารณะ อย่า งชัด เจนตลอดระยะเวลาในการเตรี ย มการ ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศด้านการเปลี่ ยนแปลงสภาพ แผนยุท ธศาสตร์ ค วามร่ ว มมื อระยะสั้นเพื่ อ การ ภูมิอากาศและโครงสร้างพื้นฐาน พัฒ นาฉบั บ นี้ ธนาคารโลกได้ รั ก ษาความ การกากับดูแลเศรษฐกิจรายครึ่ งปี ้ น่าเชื่อถือในฐานะหุนส่ วนทางความรู ้ที่แท้จริ งใน ระยะเวลาที่ มีการดาเนิ นการยุทธศาสตร์ ความร่ วมมื อเพื่ อการพัฒนาที่ ผ่านมาซึ่ งเป็ นการดาเนิ นการในลักษณะ ฐานความรู ้เกือบทั้งหมด รอยทางของคาปรึ กษาของธนาคารโลกได้มีส่วนสาคัญในวาระการปฏิรูปหลายด้าน และ ความช่วยเหลือในการดาเนินการก็จะยังคงมีต่อไปเพื่อให้ความช่วยเหลือในการสร้างศักยภาพเพื่อพัฒนาและดาเนิ น นโยบาย จากบทเรี ยนที่ได้รับจากยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาที่ผ่านมา งานวิเคราะห์และให้คาปรึ กษา ในระยะสั้นนี้ จึงถูกออกแบบให้มีความยืดหยุ่นสอดคล้องกับความต้องการ ตลอดจนปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับ บริ บทของประเทศไทยเพื่อให้สามารถช่วยเหลือประเทศในการฟื้ นตัวจากวิกฤต และพยายามที่จะระบุสาเหตุที่เป็ น ต้นตอของความท้าทายทางการเมืองของประเทศ (ตารางที่ 4) โครงการดังกล่าวจะมุ่งดาเนินการผ่านรายงานหลัก 2 ฉบับ ซึ่ งจะช่วยให้จะสามารถจัดการกับประเด็นด้านความสัมพันธ์เชิ งกลยุทธที่สาคัญได้ ได้แก่ (ก) รายงานการ 41 ้ บริหารการคลังภาคสาธารณะ (Public Financial Management Report) ซึ่ งเน้นความสัมพันธ์ดานการเงินการคลัง ระหว่างส่ วนกลางกับส่ วนท้องถิ่น และจะช่วยให้รัฐสามารถปรับปรุ งการให้บริ การ ตลอดจนสร้างประสิ ทธิ ภาพ ั ให้กบกระบวนการ กระจายอานาจ และ (ข) บันทึกข้ อตกลงทางเศรษฐกิจของประเทศ (Country Economic Memorandum) ซึ่ งจะช่วยประเมินยุทธศาสตร์การเติบโตทางเศรษฐกิจในด้านที่เป็ นไปได้สาหรับประเทศไทย โดย นอกจากจะรายงานการเติ บโตของผลิ ต ภัณฑ์มวลรวมในประเทศแล้ว ยังมี การเน้นความหมายโดยนัยเชิ งการ กระจายความเจริ ญทางเศรษฐกิ จไปอย่างทัวถึงอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีงานด้านการวิเคราะห์และให้คาปรึ กษาที่ ่ ครอบคลุมความต่อเนื่ องของความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศ (CDPs) ในประเด็นต่าง ๆ ที่กาลังอยู่ระหว่างการ ดาเนิ นการ และงานเอกสารเชิ งนโยบาย (Policy Notes) เกี่ ยวกับประเด็นที่ กาลังอยู่ในความสนใจ นอกจากนี้ ธนาคารโลกยัง คงให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ด้า นที่ ป รึ กษาและด้า นวิ ช าการตามที่ รั ฐ บาลต้องการ โดยจะร่ วมมื อกับ กระทรวงการคลังและคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ตลอดจนกระทรวง และสถาบันอื่น ๆ ที่ เกี่ ย วข้องเป็ นหลัก บรรษัท การเงิ นระหว่า งประเทศจะร่ วมมื อกับเจ้า หน้า ที่ ดานโครงสร้ า งพื้ นฐานและด้า น ้ การเงินของธนาคารโลกเพื่อขยายศักยภาพในการตอบสนองความต้องการที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่ องไปพร้อม ๆ กับ ขยายขอบเขตการดาเนิ นงานของประเทศไทยจากสานักงานของธนาคารโลกในภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขงด้วยให้มาก ยิ่งขึ้น 55. ประการที่สอง ได้ แก่ การให้ บริ การด้ านที่ปรึ กษาแบบคิดค่ าธรรมเนียมและความช่ วยเหลือด้ านวิชาการ ่ แบบมีการคืนเป็ นเงิน เพือให้ การสนับสนุนด้ านการดาเนินการแก่ โครงการต่ างๆ ภายใต้ ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนา ประเทศ ในอดีตที่ผ่านมานั้น แม้ว่ารัฐบาลจะมีส่วนร่ วมในค่าใช้จ่ายของความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาประเทศ แต่ สัดส่ วนความรั บผิดชอบด้านค่ าใช้จ่ายนั้นค่อนข้างน้อย ทั้งนี้ เนื่ องจากความช่ วยเหลื อด้านการเงิ นของโครงการ ้ ความร่ วมมื อเพื่ อการพัฒนาประเทศส่ วนใหญ่มาจากกองทุนผูบริ จาค โดยมากเป็ นเงิ นมาจากการประชุ มเอเชี ย - ยุโรป (Asia-Europe Meeting – ASEM) และธนาคารโลกได้มอบเงินช่วยเหลือเพิ่มเติม การปรับปรุ งระบบการให้ ้ กูยืมใหม่ที่ กาลังดาเนิ นการอยู่ในปั จจุ บน จะช่ วยให้ประเทศไทยสามารถเข้าถึ งค าปรึ กษาด้านวิ ชาการและการ ั วิเคราะห์จากธนาคารโลกได้มากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม ในระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพิจารณาความต้องการรับ บริ การจากธนาคารโลกที่เพิ่มสู งขึ้ น จึงจาเป็ นต้องพัฒนารู ปแบบความร่ วมมือที่มีความยังยืนทางการเงิ นขึ้น ด้วย ่ เหตุน้ ี ในระยะดาเนินงานของแผนยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือระยะสั้นเพื่อการพัฒนาจึงเป็ นโอกาสอันดีในการหารื อ ตลอดจนทดลองให้มีการร่ วมรั บผิดชอบค่ าใช้จ่ายต่ าง ๆ กับกระทรวงการคลัง และคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ นอกจากนี้ ยังจะมี การขยายการมี ส่วนร่ วมในค่ า ใช้จ่ายให้ครอบคลุ มด้านการ ฝึ กอบรม ประชุมปฏิบติการ และหลักสูตรของธนาคารโลก จากประสบการณ์ที่ได้รับตลอดระยะเวลา 2-3 ปี ที่ผ่าน ั มารวมถึงการที่บรรษัทการเงินระหว่างประเทศให้บริ การด้านคาปรึ กษาในลักษณะคิดราคาเต็ม จึงมีการหารื อเรื่ อง การให้บริ การแบบคิดค่าใช้จ่ายมาพิจารณา ซึ่ งรัฐบาลก็ได้แสดงความสนใจเข้าร่ วมในกรอบข้อตกลงว่าด้วยการให้ ความช่วยเหลือด้านคาปรึ กษาแบบคิดค่าบริ การ35 35 ั ้ กฎหมายการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของประเทศไทยในปัจจุบนมีขอจากัดในการเข้าถึงความช่วยเหลือด้านวิชาการ ด้วยเหตุน้ ี การทาความตกลงรับความช่วยเหลือด้านวิชาการแบบมีการคืนเป็ นเงินจึงจาเป็ นต้องอาศัยการสนับสนุนเป็ นอย่างสู งเพื่อให้สอดคล้อง กับนโยบายที่มีอยู่ 42 56. ประการที่ สาม กลุ่ ม ธนาคารโลกจะให้ ตารางที่ 5 โครงการชี้วัดการให้ กู้ยืมของธนาคารระหว่ างประเทศเพือการ ่ ความช่ วยเหลือ ด้ านการเงินในหลายรู ปแบบที่ มี บูรณะและพัฒนา ปี งบประมาณ 2554 - 2555 ความเหมาะสม ซึ่ งรวมถึ ง ความช่ วยเหลื อ ด้า น มูลค่ า งบประมาณ การให้เ งิ นกู้ยื มเพื่ อการลงทุ น การ การดาเนินการ (ล้านเหรียญสหรัฐ) ลงทุ น ในบรรษัท การเงิ น ระหว่ า งประเทศ การ ปี งบประมาณ 2554 1,000.0 ้ื รับรอง และ/หรื อ มอบเงินช่ วยเหลือแบบให้เปล่า การให้เงินกูยมเพื่อนโยบายด้านการพัฒนาการ 1,000.0 ปฏิรูปภาคสาธารณะ รวมถึงความช่วยเหลือด้านการเงินในรู ปแบบอื่นๆ ปี งบประมาณ 2555 480.0 ผ่ า นกองทุ น พิ เ ศษ อาทิ แหล่ ง เงิ น ทุ น เพื่ อ การ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง พื น ที่ ใ น เ ข ต 70.0 ้ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ กองทุนเพื่อชาติ กรุ งเทพมหานคร (กองทุนเทคโนโลยีที่สะอาด) และการสร้ างสันติ ภาพ (SPE) กองทุ นพิ เศษเพื่ อ พลังงานสะอาดก้าวหน้า การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิต/การ 110.0 บรรเทาวิกฤตของบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ ไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค (กองทุนเทคโนโลยีที่สะอาด) และกองทุ น อื่ น ๆ ที่ อ าจมี ข้ ึ นหลัง จากนี้ โครงการระบบข้อมูลข่าวสารที่ดิน 300.0 ั ้ นอกจากนี้ ยงจะมีการใช้นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ดานการเงินใหม่ ๆ เพื่อบรรเทาความเสี่ ยงต่างๆ (เช่ น การประกัน สภาพอากาศ) และส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมจากภาคเอกชน 57. คาดการณ์ ว่าประเทศไทยจะได้ เงินกู้ยืมเงินจากธนาคารระหว่ างประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนาเป็ น ้ มูลค่ าราว 1,000 ล้ านเหรียญสหรัฐในปี งบประมาณ 2554 และหลังจากนั้น จะมีการให้เงินกูยืมมูลค่าระหว่าง 400 ถึง 500 ล้า นเหรี ย ญสหรั ฐอี ก ในปี งบประมาณ 2555 ทั้งนี้ ขึ้ นอยู่กับ ความสามารถในการให้กู้ยื มโดยรวมของ ธนาคารโลก รวมทั้งความต้องการจากประเทศอื่น ๆ ด้วย 58. หลังจากการให้ เงินช่ วยเหลือเพิ่มเติมแก่ โครงการบริ หารทางหลวงได้ รับการอนุมัติในปี งบประมาณ 2553 (รายละเอียดตามย่ อหน้ าที่ 40 ข้ างต้ น) โครงการให้ เงินกู้ยืมเพื่อนโยบายด้ านการปฏิรูปภาคสาธารณะ (Public Sector Reform Development Policy Loan-PSRDPL) จะเป็ นโอกาสแรกในการให้ ความช่ วยเหลือด้ านการเงินจาก ธนาคารระหว่ างประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนาที่มีความเห็นพ้ องกับหน่ วยงานของรั ฐ ภายใต้ ยุทธศาสตร์ การ ดาเนินงานในระยะสั้ นนี้ ประเทศไทยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินจากธนาคารโลกมีไม่มากนัก และส่ วน ใหญ่จะเป็ นไปเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เป็ นมิตรกับสภาพแวดล้อมมากยิ่งขึ้น ตลอดจนเพื่อส่ งเสริ มให้ ระบบการบริ หารจัดการที่ดินมีความทันสมัยมากขึ้น นอกจากนี้ ธนาคารโลกจะดาเนิ นการร่ วมกับหน่วยงานของ รั ฐ เพื่ อ หาแนวทางเพื่ อให้เ งิ นกู้ยื ม เพื่ อ การลงทุ น สามารถสนับ สนุ นความพยายามของรั ฐ ในการยกระดับ ขี ด ความสามารถในการแข่งขันและการให้บริ การ และลดความไม่เสมอภาคทางสังคมได้ดีที่สุดโดยผ่านทางการปฏิรูป ั ้ ภาคส่ วน ตารางที่ 5 แสดงให้เห็นถึงโครงการชี้ วดด้านการให้กูยืม อนึ่ ง ธนาคารโลกจะพิจารณาการให้ความ ั ู้ ช่วยเหลือเพิ่มเติ มด้านการเงินหากมีความจาเป็ น ทั้งนี้ จาเป็ นต้องขึ้นอยู่กบความสามารถในการให้กยืมโดยรวม ของธนาคารโลก รวมทั้งความต้องการจากประเทศอื่น ๆ ด้วย 43 59. ี ้ การหารือจึงจัดให้ มขึนก่ อนที่จะถึงปี งบประมาณตลอด 2 ปี ข้ างหน้ าเพื่อทาความตกลงเกี่ยวกับกิจกรรมใน แผนการดาเนินโครงการประจาปี เพื่อพิจารณาความจาเป็ นในการรั บมือกับประเด็นด้ านความสาคัญและความท้ า ทายต่ าง ๆ ที่เกิดขึน ตลอดจนการออกแบบลักษณะความร่ วมมือที่มีความยืดหยุ่นมากขึน ทั้งนี้ การหารื อประจาปี ้ ้ ดังกล่าวจะเป็ นโอกาสอันดีในการทบทวนผลการดาเนินการและผลลัพธ์ที่ได้จากกิจกรรมต่างๆ ภายใต้ความร่ วมมือ ในปี ที่ ผ่านมา และอธิ บายกิ จกรรมที่ จะเริ่ มดาเนิ นการในปี ที่ กาลังจะมาถึงอย่างละเอียด โดยจะได้พิจารณาความ ช่วยเหลือที่ได้รับจากหุ นส่ วนอื่น ๆ ไปในโอกาสเดียวกัน เมื่อพิจารณาหลักเกณฑ์และทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่ท้ ง ้ ั ในด้านงบประมาณเพื่อการบริ หารจัดการที่ได้รับจากธนาคารโลกและรัฐบาลไทย รวมถึงความสามารถในการให้ ้ กูยืมจึงจาเป็ นต้องมีประชุมเพื่อตัดสิ นใจในเรื่ องการกาหนดขนาดและขอบเขตของความร่ วมมือ ตลอดจนการขยาย หรื อ ลดการมี ส่ วนร่ ว มด้า นต่ า ง ๆ ลักษณะ องค์ประกอบ และโครงการให้เ งิ นกู้ยื มเป็ นประจ าทุ กปี เพื่ อให้ ั ้ กระบวนการดังกล่าวสามารถเริ่ มต้นขึ้นได้น้ นจึงได้มีการจัดประชุมผูบริ หารระดับสู งด้าน “ความร่ วมมือเพื่ อสร้ าง ความเข้ มแข็งให้ แก่ ประเทศไทย” ขึ้ นเป็ นระยะเวลา 2 วัน เมื่อเดื อนกรกฎาคม พ.ศ. 2552 โดยมีรัฐมนตรี ว่าการ กระทรวงการคลังเป็ นประธาน และมี แผนการจะจัดการประชุ มติ ดตามผลขึ้ นอี กครั้ง ในเดื อนพฤศจิ กายนหรื อ ้ ธันวาคม พ.ศ. 2553 ความพยายามในการดาเนิ นความร่ วมมือที่ได้กล่าวไว้ขางต้น อาทิ การประมูลอิเล็กทรอนิ กส์ (E-Auction) ระบบการบริ หารการคลังภาคสาธารณะ (PFMS) การดาเนิ นการเกี่ยวกับสถาบันการเงินเฉพาะกิ จ ั ้ (SFI) และการกากับดูแลตัวชี้ วดโครงการภายใต้มาตรการกระตุนเศรษฐกิจรอบที่ 2 ล้วนเป็ นผลมาจากการประชุม ปฏิบติการดังกล่าว ส่ วนความร่ วมมือด้านอื่น ๆ อาทิ ความคุมครองทางสังคมที่ชุมชนมีส่วนร่ วม และแผนประกัน ั ้ สุ ขภาพ เกิดขึ้นจากการประชุมสัมมนาเกี่ยวกับประเด็นด้านความคุมครองทางสังคมที่จดขึ้นเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. ้ ั 255236 ความร่ วมมือนี้ ยงคงตั้งอยู่บนพื้นฐานของยุทธศาสตร์ ที่กาหนดไว้ จึงจะมีการนาเสนอข้อมูลสาคัญๆ ที่เป็ น ั ั ปัจจุบนของกระบวนการดังกล่าวลงในบันทึกความเข้าใจที่จะลงนามร่ วมกับคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติที่กาลังจะมีข้ ึนต่อไป 60. ้ เมื่อพิจารณาความร่ วมมือที่เป็ นไปในระยะสั้ นได้ มีการพัฒนากรอบการกากับดูแลขึน ตามรายละเอียดใน ภาคผนวก 1 VII. ข้ อเสนอแนะจากการทาประชาพิจารณ์ 61. กระบวนการพัฒ นายุ ท ธศาสตร์ ก ารดาเนิ นงานในระยะสั้ นฉบั บนี้ ครอบคลุ มถึ งการให้ ค าปรึ ก ษาแก่ ั ประเทศไทยในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 การจัดประชุมปรึ กษาหารื อได้จดให้มีข้ ึนที่กรุ งเทพมหานคร จังหวัด ู้ เชียงใหม่ และนครราชสี มา โดยมีผแทนภาครัฐทั้งจากส่ วนกลางและในระดับท้องถิ่น องค์กรประชาสังคม องค์กร 36 การประชุมดังกล่าวมีวตถุประสงค์เพื่อระบุและวิเคราะห์ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาประเทศไทยในภาพรวมในด้าน ั ้ (ก) การให้การสนับสนุ นด้านการเงินในโครงสร้างพื้นฐาน กากับดูแล ให้คาแนะนา และการรายงาน ภายใต้แผนกระตุนเศรษฐกิ จ ระยะที่ 2 (ข) การประเมินและบริ หารจัดการความเสี่ ยงด้านงบประมาณของรัฐบาลในภาพรวม ซึ่ งครอบคลุมถึงความเสี่ ยงที่เกิดจาก โครงการให้ความช่วยเหลือแก่ผลผลิตทางการเกษตร (ค) การประกันภัยและการบริ หารจัดการความเสี่ ยงของผลผลิตทางการเกษตร และ (ง) การให้คาแนะนาและการบริ หารจัดการสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 44 พัฒนาเอกชน นักวิชาการ/เครื อข่ายคลังสมอง หุ ้นส่ วนด้านการพัฒนาต่าง ๆ37 และสื่ อมวลชนเข้าร่ วมประชุมด้วย นอกจากนี้ ข้อตกลงความร่ วมมือระหว่างประเทศไทยและธนาคารโลกยังได้รับการแปลและนาเสนอบนเว็บไซต์ สาหรับบุคคลภายนอก รวมถึงเว็บไซต์ของหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้องในประเทศไทย เมื่อเดื อนมิถุนายน พ.ศ. 2552 ้ ้ เพื่อให้ขอมูลและขยายขอบเขตการเผยแพร่ ขอมูลของธนาคารโลกออกไป ในระหว่างการประชุมปรึ กษาหารื อนั้น มีการระบุประเด็นต่าง ๆ ที่จะได้นาเสนอดังต่อไปนี้ ซึ่ งรวมถึงรายละเอียดในภาคผนวก 3 ประเด็นส่ วนใหญ่เหล่านี้ ได้ถูกนามารวบรวมไว้ในแผนการดาเนิ นงาน 2 ระยะตามที่ได้กาหนดไว้ ประเด็นที่ถูกเน้นย้ าว่ามีความสาคัญใน ระหว่างที่มีการให้ประชุมปรึ กษาหารื อ ได้แก่ - ผลกระทบในระยะสั้นของวิกฤตเศรษฐกิจโลก ซึ่ งครอบคลุมถึง ภาวะการว่างงาน การอพยพย้ายถิ่นที่อยู่ และระบบตาข่ายความปลอดภัยทางสังคม - การบริ ห ารงานภาครั ฐ ซึ่ ง ครอบคลุ มถึ งการปฏิ รู ป ภาคสาธารณะ และการเพิ่ มความโปร่ งใส ความ น่าเชื่อถือในการให้บริ การภาคสาธารณะ - การศึ กษาและสุ ขภาพเพื่ อเพิ่ มทักษะ ยกระดับความสามารถในการแข่ งขัน การให้ประชาชนทุ กคน สามารถเข้าถึงบริ การดังกล่าวอย่างทัวถึง ่ - ความไม่เสมอภาค ตลอดจนการส่ งเสริ มให้เกิดการเติ บโตที่ เท่าเที ยมและให้ความสาคัญกับประชากรที่ มี ฐานะยากจนในประเทศ ไปพร้อมกับการพัฒนาจุดเชื่ อมต่อต่างๆ ซึ่ งรวมถึงโครงสร้างพื้นฐานที่ดีข้ ึ น ทั้ง ในและระหว่างภูมิภาค - ปรับปรุ งสภาพแวดล้อมในการดาเนินธุรกิจให้แก่ภาคเอกชน และ - พัฒนาระบบเศรษฐกิ จที่มีความยังยืนทางสิ่ งแวดล้อม และส่ งเสริ มพลังงานทางเลือกที่สามารถนากลับมา ่ ใช้ใหม่ได้ในภูมิภาค 62. ธนาคารโลกเชื่ อ มัน ว่า โครงการที่ นาเสนอในครั้ งนี้ จ ะสามารถตอบสนองประเด็ นต่ า ง ๆ ข้า งต้นได้ ่ นับตั้งแต่เริ่ มเตรี ยมการยุทธศาสตร์น้ ี ข้อมูลที่ได้จากการประชุมปรึ กษาหารื อกับภาคเอกชนและองค์กรประชาสังคม ตลอดจนหน่ วยงานของรัฐที่ เกี่ ยวข้องเป็ นสิ่ งยืนยันได้ว่าประเด็นที่ มีความสาคัญเหล่านี้ ยงคงมีความเชื่ อมโยงกับ ั ความจาเป็ นในการพัฒนาทั้งในระยะสั้นและระยะปานกลางของประเทศไทย ่ VIII. ความเสี่ ยงในการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ การดาเนินงานในระยะสั้ นเพือการพัฒนา 63. ความเสี่ ยงสาคัญในการดาเนินการตามแนวทางความร่ วมมือกับประเทศไทยที่อาจเกิดขึ้นดังต่อไปนี้ 64. ความเสี่ ยงประการที่ สาคัญ ที่ สุดได้ แก่ ค วามเสี่ ยงของสภาวะเศรษฐกิจโลก ในขณะนี้ การฟื้ นตัวของ เศรษฐกิ จ โลกยัง คงเป็ นไปอย่า งเปราะบาง และยังเป็ นการยากที่ จ ะพยากรณ์ ทิ ศ ทางในการฟื้ นตัว ตลอดจน ผลกระทบต่อประเทศไทยได้ หากการฟื้ นตัวต้องประสบภาวะหยุดชะงัก ไม่ว่าจะในระดับประเทศหรื อระดับโลก ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับประเทศไทยนั้นอาจดิ่งลึกและขยายวงออกไปได้ ซึ่ งจะส่ งผลให้ประเทศต้องตกอยู่ภายใต้ 37 หุ ้น ส่ วนด้านการพัฒนาจานวนมาก ซึ่ งรวมถึ งสหภาพยุโรปและประเทศฝรั่ งเศส ได้เข้าร่ วมในกระบวนการทบทวน/ ปรั บปรุ งยุทธศาสตร์ การดาเนิ นงานในประเทศไทยของตนให้มีความทันสมัย และในการประชุม ก็ได้มีการหารื อทวิภาคีเกี่ยวกับ ประเด็นดังกล่าวในรายละเอียดด้วย 45 สภาวะความกดดันทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมได้ ด้วยเหตุน้ ี ยุทธศาสตร์ การดาเนิ นงานทั้งในระยะสั้นและ ระยะปานกลางจึงถูกออกแบบขึ้นเพื่อลดความเสี่ ยงในประเด็นดังกล่าว 65. ความไม่ แน่ นอนและเปราะบางทางการเมืองจะยังคงเป็ นความเสี่ ยงที่สาคัญ ในอนาคตและจะส่ งผลกระทบ ต่ อชื่อเสี ยงของประเทศไทยในฐานะประเทศที่มีความเสี่ ยงในการลงทุนอย่ างแน่ นอน แม้ว่าความเสี่ ยงในประเด็น นี้ จะอยู่นอกเหนื อการควบคุมของธนาคารโลก หากแต่เป้ าหมายในการยกระดับความสามารถในการแข่งขันและ ั ปรับปรุ งสภาพแวดล้อมในการลงทุน ตลอดจนสร้างความเข็มแข็งให้กบการบริ หารงานภาครัฐ ก็ได้ถูกออกแบบขึ้น เพื่อให้ประเทศไทยกลายเป็ นเป้ าหมายการลงทุนที่น่าดึงดูดใจ และช่วยลดความไม่เท่าเทียมกันในภูมิภาคต่าง ๆ ซึ่ ง เป็ นสาเหตุ ประการหนึ่ งที่ ทาให้สถานการณ์ ทางการเมื องแย่ลง ดังนั้นจึ งเป็ นเรื่ องสาคัญที่ รัฐบาลจะแสดงการ สนับสนุนโครงการที่นาเสนอมาข้างต้น 66. ด้ ว ยเหตุ นี้ จึ ง จ าเป็ นต้ อ งมี ก ารบริ ห ารจั ด การการด้ า นการกู้ ยื ม จากต่ า งประเทศของไทยด้ ว ยความ ระมัดระวัง ในบริ บทที่คนส่ วนใหญ่มีความคิดเห็นสอดคล้องกันเกี่ยวกับกลยุทธศาสตร์ ดานการพัฒนาในภาพรวม ้ ของประเทศไทย ตลอดจนความจาเป็ นเร่ งด่ วนของเศรษฐกิ จที่ สืบเนื่ องมาจากวิกฤตเศรษฐกิ จโลกและสภาวะ เศรษฐกิ จตกต่ านั้น การที่ ประเทศไทยจะตัดสิ นใจหวนกลับไปยืมเงินจากต่างชาติจึงเป็ นที่ เข้าใจและยอมรับจาก หน่ วยงานด้านบริ หารและขั้วการเมื องต่ าง ๆ ได้ อันที่ จริ งแล้ว การหารื อความเป็ นไปได้เกี่ ยวกับเงิ นกูยืมเพื่ อ ้ นโยบายพัฒนาการปฏิรูปภาครัฐ (PSRDPL) ถูกริ เริ่ มขึ้นโดยรัฐบาลชุดก่อนซึ่ งนาโดยพรรคพลังประชาชน ในช่วง ้ กลางปี พ.ศ. 2551 รัฐสภาได้รับรองการตัดสิ นใจที่จะกลับไปกูยืมเงินจากต่างชาติ เมื่อเดือนสิ งหาคม พ.ศ. 2553 อย่างไรก็ตาม การรับรองดังกล่าวอาจไม่สามารถช่วยให้หลีกเลี่ยงความขัดแย้งจากการใช้สถานการณ์ดงกล่าวเพื่อ ั ผลประโยชน์ทางการเมืองได้ ในบริ บทที่ว่านี้ การเข้าไปมีส่วนร่ วมและการให้คาปรึ กษาจากหน่วยงานของรัฐจึงมี ความสาคัญเป็ นอันมาก38 กระบวนการขอรับการอนุมติจากรัฐสภาที่กฎหมายกาหนดนั้นช่วยลดความเสี่ ยงด้าน ั ู้ ้ การเมืองในการให้กยืม อย่างไรก็ตาม ธนาคารโลกได้ให้เงินกูยืมแก่ประเทศไทยอีกครั้ง ในอนาคตธนาคารโลกจึง จาเป็ นต้องขยายการมีส่วนร่ วมจากทุกภาคส่ วนให้ครอบคลุมมากกว่าชุมชนนโยบายภาคสาธารณะ เพื่อให้สามารถ เข้าถึงผูมีส่วนเกี่ยวข้องอื่น ๆ ทัวประเทศได้ ้ ่ 67. ภูมิภาคที่การพัฒนาเป็ นไปอย่ างเชื่องช้ า รวมทั้งประชากรผู้ด้อยโอกาสที่ไม่ ได้ รับความสนใจ จะส่ งผลให้ ้ ความไม่ เสมอภาคมีมากขึน และจะทาให้ ทรั พยากรทางการเมืองและเศรษฐกิจของรั ฐบาลทวีความตึงเครี ยดมาก ยิ่งขึ้นอีกด้ วย การรับมือกับปั ญหาด้านการพัฒนาและการเมืองเป็ นประเด็นหลักในการสร้างทุนมนุ ษย์ รวมทั้ง 38 ภายใต้รัฐธรรมนู ญฉบับ ปั จจุ บน จาเป็ นต้อ งมีการรั บ ฟั งความคิ ดเห็ น ของประชาชนทุ กครั้ งหากจะมีการกู้ยืมเงิ น จาก ั ั ้ื ต่างประเทศก่อนการอนุมติของรัฐสภา ในกรณี ของเงินกูยมเพื่อนโยบายพัฒนาการปฏิรูปภาครัฐนี้ กระทรวงการคลังได้ดาเนิ นการทา ประชาพิจารณ์ข้ ึนทั้งหมด 4 ครั้ง ในภาคต่าง ๆ ของประเทศโดยมีผเู้ ข้าร่ วมทั้งสิ้ น 300 คน นอกจากนี้ ธนาคารโลกยังได้รับเชิญให้เข้า ้ื ร่ วมในการทาประชาพิจารณ์ทุกครั้ง ในการให้คาปรึ กษานั้น มีความเห็นสอดคล้องกันว่าจาเป็ นต้องมีการกูยมเงินจากต่างประเทศ เมื่อ ้ พิจารณาสภาวการณ์ในปั จจุบน และคาถามส่ วนใหญ่จะเป็ นคาถามเกี่ยวกับ (ก) การใช้จ่ายเงินกูยืมและมาตรการในการกากับดูแล ั การใช้จ่ายอย่างมีประสิ ทธิภาพ (ข) สถานการณ์การบริ หารจัดการหนี้สาธารณะในภาพรวม ซึ่งมีหนี้ภายในประเทศในสัดส่ วนถึงร้อย ละ 90 ของหนี้ ทั้งหมด มีก ารสรุ ป รายละเอี ย ดของการกู้ยืม เพื่อ นโยบายพัฒ นาการปฏิ รูป ภาครั ฐ และเผยแพร่ บ นเว็บ ไซต์ข อง ้ ่ กระทรวงการคลัง และผูสนใจสามารถแสดงความคิดเห็นได้ผานเว็บไซต์ โทรศัพท์ หรื อโทรสาร 46 สร้างความสมานสามัคคีให้เกิดขึ้นกับคนในชาติ อย่างไรก็ตาม ธนาคารโลกสามารถใช้ความเชี่ ยวชาญในด้านการ ้ คุมครองทางสังคมและการปฏิรูปภาครัฐบาลให้เป็ นประโยชน์ในการช่วบลดความเสี่ ยงในประเด็นดังกล่าว 68. ประเทศไทยต้ องเผชิญหน้ ากับภัยคุกคามด้ านความมันคงทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ภาวการณ์ตึง ่ เครี ยดที่เกิดขึ้นในกรุ งเทพมหานครเมื่อไม่นานมานี้ ปั ญหาความขัดแย้งในภาคใต้ของประเทศที่ดาเนิ นต่อเนื่ องกัน มาเป็ นระยะเวลายาวนาน ตลอดจนความตึงเครี ยดบริ เวณชายแดนที่ติดกับประเทศกัมพูชา ล้วนเป็ นตัวอย่างที่แสดง ให้เห็นถึงความเสี่ ยงด้านความมันคงของประเทศไทย แม้ว่าเครื่ องมือของธนาคารโลกที่ใช้ลดความเสี่ ยงเหล่านี้ มี ่ อยู่อย่างค่อนข้างจากัด อย่างไรก็ตามกองทุนเพื่อชาติ และการสร้างสันติภาพ (SPF) ที่ให้การสนับสนุ นโครงการ Piloting Community Approaches in Conflict Situation in Three Southernmost Provinces in Thailand จะช่วย ส่ งเสริ มกลไกการพัฒ นาโดยใช้ชุ มชนเป็ นฐาน เพื่ อสร้ า งความสมานฉัน ท์ใ ห้เ กิ ด ขึ้ นในสัง คม การทบทวน โครงการดังกล่าวจัดทาอย่างระมัดระวังเพื่อศึกษาว่าแนวทางดังกล่าวมีสามารถนาไปปรับใช้ในภูมิภาคอื่น ๆ ที่ มี ่ ความตึงเครี ยดทางสังคมและการเมืองอยูในระดับสูงได้หรื อไม่ 69. ั ภายใต้สภาพแวดล้อมปั จจุบนซึ่ งโลกกาลังฟื้ นตัวจากวิกฤตเศรษฐกิจที่ไม่เคยเกิดขึ้ นมาก่อน ความเสี่ ยงที่ ั กล่าวถึงข้างต้นจึงอาจเกิดขึ้นได้จริ ง อย่างไรก็ตาม การดาเนินโครงการที่นาเสนออย่างต่อเนื่ องก็นบเป็ นโอกาสอันดี ที่จะทาให้การมีส่วนร่ วมของธนาคารโลกกับประเทศไทยที่มีความเข้มแข็งอยู่แล้วให้มากยิ่งขึ้นเพื่อช่วยให้ประเทศ ไทยสามารถบรรลุถึงวาระการพัฒนาแห่งชาติได้ในที่สุด 47 The original had problem with text extraction. pdftotext Unable to extract text.