รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย ผลิตภาพเพื่อความมั่งคั่งของประเทศ มกราคม 2563 บทสรุป สำหรับ ผู้บ ริ ห ำร บทสรุปสำหรับผู้บริหำร อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยในไตรมาสสาม ปี 2562 ชะลอตัวลงมาอยู่ที่ร้อยละ 2.4 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ซึ่งมีสาเหตุมาจากปัจจัยวัฏจักร โดยเฉพาะความต้องการสินค้าส่งออกที่ลดลงและความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลกที่เพิ่ม สูงขึ้น เศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงได้ทาให้เห็นถึงข้อจากัดเชิงโครงสร้าง ซึ่งถูกสะท้อนในการเติบโตของการลงทุนภาครัฐและ ภาคเอกชนที่ชะลอลง ภาครัฐได้ดาเนินการอย่างรวดเร็วกับสถาณการณ์ทางเศรษฐกิจผ่านนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย และมาตรการคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจขาลง ในอนาคต การดาเนินนโนบายเพิ่มเติมที่เพิ่มประสิทธิผลของมาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจ พร้อมทั้งการมุ่งเน้นในการลงทุนภาครัฐที่สาคัญและการปรับปรุงประสิทธิภาพของการบริหารการลงทุน ภาครัฐจะสามารถทาให้ผลกระทบต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจเพิ่มได้มากยิ่งขึ้น ในระยะยาว การปฏิรูปโครงสร้าง อาทิ การสร้างการแข่งขันทางเศรษฐกิจในประเทศ การเพิ่มการเปิดเสรี การลงทุน และการส่งเสริมระบบนิเวศน์ในการสร้าง นวัตกรรมของธุรกิจต่าง ๆ จะสามารถกระตุ้นผลิตภาพให้สูงขึ้นได้ 1. กำรเติบโตของเศรษฐกิจชะลอตัวลงเนื่องจำกปัจจัยภำยในและภำยนอกประเทศ หลังจำกอัตรำกำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจในช่วงครึ่งปีแรกหดตัวลง กำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจในไตรมำสสำมของปี 2562 ยังคงอ่อนแอ เนื่องจำกควำมต้องกำรสินค้ำส่งออกที่ลดลงอย่ำงต่อเนื่องและกระทบต่อควำมต้องกำรภำยในประเทศ อัตราการขยายตัวของ GDP ในไตรมาสสามของปี 2562 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 เมื่อเทียบกับปีก่อน ซึ่งฟื้นขึ้นเล็กน้อยจากไตรมาส ก่อนหน้า (ร้อยละ 2.3) จากสภาวะการณ์ที่ความต้องการทั่วโลกลดลงและความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจที่เพิ่มสูงขึ้น ผนวกกับ ตัวขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจภายในประเทศที่อ่อนแอส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยในปี 2562 การส่งออกยังคงชะลอ ตัวลงในไตรมาสสาม (ร้อยละ -1) แม้ว่าจะชะลอตัวลงน้อยกว่าไตรมาสก่อนหน้า (ร้อยละ -7.9) การส่งออกที่ลดลงอย่าง ต่อเนื่องได้ส่งผลกระทบต่อการบริโภคภาคเอกชนอย่างชัดเจนในปัจจุบัน (ร้อยละ 4.2 ในไตรมาสสามจากเดิมที่ร้อยละ 4.6 ใน ไตรมาสสอง) ท่ามกลางการจ้างงานและการขึ้นค่าแรงที่ชะลอตัวลง และการลงทุนภาคเอกชนยังคงหดตัว การลงทุนภาคเอกชน ลดลงจากร้อยละ 4.1 ในไตรมาสแรกของปี 2562 เหลือร้อยละ 2.4 ในไตรมาสสามของปี 2562 ซึ่งลดลงในเกือบทุกหมวดของ การลงทุน ได้แก่ การนาเข้าสินค้าทุน พื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง และยอดขายเครื่องจักรในประเทศ ในด้ำนกำรผลิต อัตรำกำรขยำยตัวของ GDP ได้รับแรงหนุนหลักมำจำกภำคบริกำร ในขณะที่ภำคอุตสำหกรรมหดตัวลง เนื่องจำกควำมต้องกำรสินค้ำส่งออกทีล ่ ดลง ภาคบริการเติบโตร้อยละ 3.8 ในไตรมาสสามจากสาขาที่พักแรมและบริการด้าน อาหาร รวมทั้งสาขาการขายส่ง และการขายปลีก และสาขาการขนส่งที่มีผลต่อการเติบโตแต่ในระดับที่น้อยกว่า ทั้งนี้ การ ท่องเที่ยวเป็นตัวขับเคลื่อนสาคัญของการเติบโตภาคบริการ จานวนนักท่องเที่ยวที่มาประเทศไทยเพิ่มขึ้นจนถึง 9,700,000 คน ในไตรมาสสามของปี 2562 (เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3) 1 ในภาคอุตสาหกรรมมีการหดตัวลงเล็กน้อยในไตรมาสสองต่อเนื่องถึงไตร มาสสาม (ร้อยละ -1.5) เนื่องจากการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออกที่ลดลงอย่างมาก (ร้อยละ -7 นับจากต้นปีมาถึงช่วงเวลา ปั จ จุ บั น ) การหดตั วกระจายไปในวงกว้ า งของสาขาการผลิต ได้ แ ก่ การผลิ ตวั ต ถุดิ บ การผลิ ต เทคโนโลยีแ ละสินค้าทุน 1 ้ มาก (เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.3 ในไตรมาสที่สาม) และจากอินเดีย จานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นสะท้อนให้เห็นถึงจานวนนักท่องเที่ยวจีนที่เพิ่มขึน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 25 ในไตรมาสที่สาม) ซึง่ ได้ทดแทนนักท่องเที่ยวจากรัสเซีย ตะวันออกกลาง และยุโรปที่ลดลง รำยงำนตำมติดเศรษฐกิจไทย | มกรำคม 2563 ii บทสรุป สำหรับ ผู้บ ริ ห ำร โดยเฉพาะอย่างยิ่งยานพาหนะ คอมพิวเตอร์ และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ การเติบโตของภาคเกษตรกรรมหดตัวลงร้อยละ 1.3 ในไตรมาสสองปี 2562 เนื่องจากภาวะภัยแล้งที่รุนแรงกว่าหลายทศวรรษที่ผ่านมาในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคมที่ผ่านมา 2 ภาวะภัยแล้งได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการเพาะปลูกธัญพืช โดยเฉพาะการ เพาะปลูกข้าว ซึ่งลดลงร้อยละ 18 ในไตรมาสสองของปี 2562 ผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้นทาให้ภาคเกษตรกรรมยายตัวร้อยละ 1.3 ในไตรมาสสามของปี 2562 ควำมต้องกำรภำยในประเทศที่อ่อนแอลงถูกสะท้อนในปริมำณกำรนำเข้ำที่ลดลงอย่ำงมำก และกำรเกินดุลบัญชีเดินสะพัด ในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งแรงกดดันด้ำนแข็งค่ำของเงินบำท ถึงแม้ว่าการส่งออกได้ลดลง การเกินดุลบัญชีเดินสะพัดเพิ่มขึ้น มากกว่าเดิมในไตรมาสสามของปี 2562 อันเนื่องมาจากการนาเข้าที่ลดลงมากกว่า (ร้อยละ -6.8 ในไตรมาสสามของปี 2562) เพราะการบริโภคและการลงทุนที่อ่อนแอ ในอีกด้าน การเกินดุลบัญชีเดินสะพัดที่สูงขึ้นส่งผลให้เงินสารองจากการแลกเปลี่ยน เงินตราระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น (213 ล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดได้เป็นประมาณ 12 เดือนของปริมาณการนาเข้า ) และทาให้ แรงกดดันด้านแข็งค่ายังคงอยู่นับตั้งแต่สิ้นปี 2561 เป็นต้นมา เมื่อสิ้นเดือนพฤศจิกายน 2562 ค่าเงินบาทอยู่ที่ 30.2 บาทต่อ ดอลลาร์สหรัฐ เมื่อเทียบกับ 32.9 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐเมื่อสิ้นเดือนพฤศจิกายนปี 2561 ซึ่งแข็งค่าขึ้นร้อยละ 8.9 และเป็น การแข็งค่าของเงินบาทที่มากนับตั้งแต่หกปีที่ผ่านมา ขณะที่ดัชนีค่าเงินบาท (Nominal Effective Exchange Rate: NEER) ปรับแข็งค่าขึ้นร้อยละ 8.8 ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2561-2562 ดัชนีค่าเงินบาทที่แท้จริง (Real Effective Exchange Rate: REER) ปรับแข็งค่าขึ้นร้อยละ 6.2 ในช่วงเดือนตุลาคม 2561-2562 อันมีสาเหตุมาจากอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่า (ร้อยละ 1) เมื่อเทียบกับประเทศคู่ค้าที่สาคัญประเทศอื่น ๆ ของไทย 3 รัฐบำลขำดดุลกำรคลังเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเนื่องจำกรำยจ่ำยภำครัฐสูงขึ้นเล็กน้อยและกำรจัดเก็บรำยได้เบำบำงลง คาดการณ์ ว่าการขาดดุลการคลังจะอยู่ที่ร้อยละ 2.3 ของ GDP ในปี 25624 เมื่อเทียบกับร้อยละ 2.0 ในปี 2561 ทั้งนี้เนื่องจากการจัดเก็บ รายได้ลดลงซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17.6 ของ GDP ในปี 2561 และคิดเป็นร้อยละ 17.2 ของ GDP ในปี 2562 จากการลด อัตราการเก็บภาษีรายได้บุคคลธรรมดาและภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่องจากการชะลอตัวลงของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการบริโภค รายได้ภาครัฐที่ลดลงถูกทาให้สมดุลกับรายจ่ายภาครัฐที่ลดลงเล็กน้อยต่อสัด ส่วนของ GDP ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 19.5 ของ GDP ในปี 2561 และร้อยละ 19.4 ของ GDP ในปี 2562 เนื่องจากความท้าทายอย่างต่อเนื่องในการจัดการงบลงทุน คาดการณ์ว่า การขาดดุลการคลังจะทาให้หนี้สาธารณะต่อสัดส่วน GDP เพิ่มขึ้นในระยะปานกลาง ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2561 (ร้อยละ 41.6 ของหนี้ต่อ GDP) ต่อเนื่องถึงปี 2562 (ร้อยละ 43 ของหนี้ต่อ GDP)5 อย่างไรก็ดี หนี้สาธารณะยังคงอยู่ในระดับต่ากว่า ข้อกาหนดทางกฎหมายที่ร้อยละ 60 ของ GDP ตามที่กฎหมายว่าด้วยความรับผิดชอบด้านการคลังได้วางไว้ 2 https://www.bangkokpost.com/thailand/general/1713664/dept-warns-of-worst-drought-in-decade 3 การส่งออกในเกือบทุกประเทศลดลงโดยลดลงอย่างมากในภูมิภาค CLMV ลดลงร้อยละ 9 year to date แต่ยกเว้นการส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่ เพิ่มขึ้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบด้านการค้าที่ศักยภาพหลากหลาย แต่การส่งออกไปสหรัฐฯ ที่เพิ่มขึ้นนี้ไม่สามารถชดเชยการส่งออกไป ประเทศอื่น ๆ ที่ลดลงได้ 4 ปีงบประมาณของไทยเริ่มจากเดือนตุลาคมถึงกันยายน และตัวเลขการคลังจะรายงานตามปีงบประมาณ 5 ตัวเลขหนี้นี้สะท้อนจาก share of calendar GDP ดังนั้นตัวเลขนี้อาจมีตรงกับตัวเลขจากกระทรวงการคลัง รำยงำนตำมติดเศรษฐกิจไทย | มกรำคม 2563 iii บทสรุป สำหรับ ผู้บ ริ ห ำร 2. ภำครัฐได้ดำเนินกำรอย่ำงรวดเร็วกับสถำนกำรณ์ทำงเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลง แต่ผลจำกกำรดำเนินกำรยังคง อยู่ในวงจำกัด ภำครัฐได้ดำเนินกำรรับมือกับสถำนกำรณ์ทำงเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงผ่ำนมำตรกำรคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจขำลงในระยะ สั้นและนโยบำยกำรเงินอย่ำงรวดเร็ยว แต่ผลกระทบจำกกำรดำเนินกำรจนถึงปัจจุบันยังอยู่ในวงจำกัด กระทรวงการคลัง ได้ประกาศและใช้งบประมาณจานวน 316 ล้านบาท (ประมาณ 10.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจเมื่อเดือน สิงหาคม 2562 โดยเน้นกลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ครัวเรือนที่มีรายได้น้อย และกลุ่มชนชั้นกลาง ในรูปของการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร การเลื่อนการจ่ายหนี้ และการขอคืนภาษีในการท่องเที่ยวบางกิจ กรรม6 นอกจากนี้ยัง ขยายมาตรการยกเว้นค่าธรรมเนียม Visa on Arrival ให้แก่นักท่องเที่ยวจากบางประเทศ เช่น จีน และอินเดีย แต่อย่างไรก็ดี จนถึงปัจจุบันนี้พบว่าผลกระทบจากมาตรการเหล่านี้ยังคงจากัด เนื่องจากการขาดดุลการคลังได้เพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย ในขณะที่ การกู้ยืมเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมชะลอตัว นโยบำยกำรเงินแบบผ่อนคลำยยังช่วยสนับสนุนกำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจ เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ธนาคารแห่ง ประเทศไทยได้มีการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นครั้งที่สองจากเดิมร้อยละ 1.50 เป็นร้อยละ 1.25 หลังจากการปรับลดเมื่อ เดือนสิงหาคมก่อนหน้าเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดี ผลกระทบยังคงมีข้อจากัดเนื่องจากดอกเบี้ยนโยบายได้อยูท ่ ี่ร้อยละ 1.50 มาโดยส่วนใหญ่ในช่วงปี 2558-2562 ในระยะต่อไปนั้น คณะกรรมการนโยบายการเงินจะพิจารณานานโยบายการเงิน และมาตรการดูแลในเชิงป้องกันมาใช้ในระยะเวลาที่เหมาะสมเพื่อรับมือกับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจาก (1) พฤติกรรมแสวงหา ผลตอบแทนจากการลงทุนที่เพิ่มขึ้น ในสภาวะที่อัตราดอกเบี้ยต่า (2) หนี้ครัวเรือนและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ สูงขึ้น (3) สินทรัพย์ของสหกรณ์ออมทรัพย์ที่ขยายตัวสูงขึ้น และ (4) การกู้ยืมเงินเพื่อการลงทุนที่สูงโดยบริษัทขนาดใหญ่ โดย ภาพรวมแล้วประเทศไทยยังคงมีภาคการเงินที่มีเงินทุนและการบริหารจัดการในระดับที่ดี ประกอบกับมีอัตราส่วนเงินกองทุน ทั้งหมดต่อสินทรัพย์เสี่ยง (Capital adequacy ratio) ที่สูงสุดในอาเซียน (ร้อยละ 17.8 เมื่อสิ้นไตรมาสสองของปี 2562) 3. คำดกำรณ์ว่ำเศรษฐกิจจะฟื้นตัวเรื่อย ๆ ในระยะใกล้ แต่ควำมเสี่ยงทำงเศรษฐกิจยังเอนเอียงไปทำงด้ำนต่ำ อัตรำกำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจของไทยคำดว่ำจะฟื้นตัวอย่ำงค่อยเป็นค่อยไปในระยะใกล้จำกควำมต้องกำรภำยนอก ประเทศที่ปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อย กำรฟื้นตัวของกำรบริโภคภำคเอกชน และกำรเน้นกำรลงทุนภำครัฐ อัตราการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ ของโลกคาดว่าจะเติบโตที่ร้อยละ 2.5 ในปี 2563 หลังจากที่การค้าและการลงทุนโลกได้ผ่านจุ ดต่าสุดแล้ว ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่และประเทศกาลังพัฒนาคาดว่าจะฟื้นตัวในระดับปานกลาง อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีน คาดว่าจะชะลอตัวลงจากประมาณร้อยละ 6.1 ในปี 2562 ไปจนถึงร้อยละ 5.9 ในปี 2563 และร้อยละ 5.7 ในปี 2565 ส่วน อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของประเทศอื่นในภูมิภาคคาดว่า จะคงที่ในประมาณร้อยละ 4.9 ในปี 2563 และจะคงที่ ประมาณร้อยละ 5 ในปี 2564-2565 ท่ามกลางการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศอื่น ในภูมิภาค อัตราการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของไทยคาดว่าจะเติบโตประมาณร้อยละ 2.5 ในปี 2562 ไปจนถึงร้อยละ 2.7 ในปี 2563 และร้อยละ 2.8 ในปี 2564 การคาดการณ์นี้สะท้อนจากการส่งออกที่จะฟื้นตัวจากระดับต่าตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้าของโลก อีกทั้งคาดว่า 6 สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง 2562 "ข่าวประชาสัมพันธ์เลขที่ 085/2562: มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ 2562. รำยงำนตำมติดเศรษฐกิจไทย | มกรำคม 2563 iv บทสรุป สำหรับ ผู้บ ริ ห ำร การบริโภคภาคเอกชนจะฟื้นตัวเช่นกัน เพราะภาคครัวเรือนกลับมาใช้สอยกับสินค้าคงทนมากขึ้น รวมไปถึงการเน้นการลงทุน ในโครงการโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ ควำมเสี่ยงของเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มที่จะเกิดจำกทั้งปัจจัยภำยในและภำยนอกประเทศ ปัจจัยภาคนอกนั้นอาจเกิดจาก ความตึงเครียดทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีน รวมถึงมาตรการกีดกันทางการค้าที่อาจขยายตัวไปยังประเทศอื่น (เช่น ระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป) หากสถานการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น ความไม่แน่นอนด้านนโยบายจะอยู่ในระดับสูง และ ความต้องการภายนอกที่อ่อนแอส่งผลกระทบโดยตรงต่อประเทศที่พึ่งพาการส่งออก เช่น ประเทศไทย ในอีกด้านหนึ่ง การ ส่งออกของไทยจะได้ประโยชน์หากความไม่แน่นอนทางนโยบายเกี่ยวข้องกับเรื่องความกดดันทางการค้าลดลง ความเสี่ยงของ เศรษฐกิจภายในประเทศระยะสั้นส่วนใหญ่มาจากความไม่แน่นอนทางนโยบายในเรื่องกระบวนการพิจารณางบประมาณปี 2563 ของภาครัฐ และความสมานฉันท์ของรัฐบาลร่วมซึ่งอาจส่งผลต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน รัฐบาลผสม 19 พรรคมีเสียง ปริ่มน้าในสภา หากรัฐบาลผสมขาดเสถียรภาพแล้ว ขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติโครงการลงทุนภาครัฐขนาดใหญ่โครงการใหม่ ที่ยังไม่อยู่ในขั้นตอนดาเนินการก็จะล่าช้า ซึ่งส่งผลเสียต่อการใช้จ่ายภาครัฐและภาคเอกชน 4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบำย กำรคงควำมต่อเนื่องในกำรลงทุนภำครัฐ พร้อมทั้งกำรปรับปรุงกำรคุ้มครองทำง สังคมเพื่อปกป้องครัวเรือนที่มีควำมเปรำะบำง กำรดำเนินโครงกำรลงทุนภำครัฐและโครงกำรร่วมลงทุนระหว่ำงภำครัฐและภำคเอกชน (Public Private Partnership - PPP) ที่สำคัญสำมำรถช่วยส่งเสริมกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจและควำมเชื่อมั่นของนักลงทุนในระยะสั้ นและระยะกลำง โดยเฉพำะอย่ ำ งยิ่ ง หำกท ำร่ วมกั บ กำรบริ ห ำรจั ดกำรลงทุ น ภำครั ฐ (Pubic Investment Management - PIM) ที่ มี ประสิทธิภำพ หลังจากการเลือกตั้งไปสู่การจัดตั้งรัฐบาลตลอดสามเดือนที่ผ่านมามีความก้าวหน้าในการเริ่มดาเนินการ โครงการลงทุนที่สาคัญในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor-EEC) เช่น แผนการขยายสนามบิน สุวรรณภูมิทางด้านทิศเหนือที่มีความหนาแน่นกาลังอยู่ระหว่างรอการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม สามสนามบิน (สุวรรณภูมิ -ดอนเมือง-อู่ตะเภา) ซึ่งเป็นการลงทุนแบบ PPP ได้ผ่านการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment - EIA) และการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ข้อตกลง PPP ระหว่างการรถไฟแห่ง ประเทศไทยและกลุ่มบริษัทที่ชนะการประมูลได้มีการลงนามกันเมื่อเดือนตุลาคมปีที่ผ่านมา ประเด็นสาคัญที่ควรพิจารณา ต่อไปคือยุทธศาสตร์การลงทุนภาครัฐแบบบูรณาการและการปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการลงทุนภาครัฐเพื่อทาให้ เกิดผลกระทบจากมาตรการกระตุ้นการลงทุนที่ภาครัฐเป็นผู้นา 7 การปฏิรูปที่สาคัญสาหรับประเทศไทยได้แก่ (1) การพัฒนา โครงการลงทุนภาครัฐให้มีการบูรณาการและระยะยาวเป็นแบบผูกพันหลายปี (2) การสร้างความเข้มแข็งให้กับแนวทาง พิจารณาโครงการและการเร่งการพิจารณาโครงการของกระทรวงและรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ (3) การดาเนินขั้นตอนการประเมินผล กระทบด้านสิ่งแวดล้อมให้รวดเร็วขึ้น (หน่วยงานส่วนใหญ่จะใช้เวลาอย่างน้อย 18 เดือนเพื่อการอนุมัติ EIA) (4) นอกจากนี้ หน่วยงานต่าง ๆ ยังไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณเพื่อมาตรการบรรเทาความเสียหายอย่างเพียงพอส่งผลให้ชุมชนที่ได้รับ ผลกระทบไม่มีความเชื่อมั่นต่อมาตรการลดผลกระทบดังกล่าวและอาจไม่ต้องการย้ายที่อยู่ (5) การจัดซื้อจัดจ้างระหว่าง หน่วยงานภาครัฐควรมีความโปร่งใสมากกว่านี้ (เช่น ควรมีการเปิดเผยต้นทุนการกู้ยืมและการจ่ายเงินคืน) (6) การมีสถาบันที่ 7 Thailand Public Finance Management Review Report, World Bank 2012. รำยงำนตำมติดเศรษฐกิจไทย | มกรำคม 2563 v บทสรุป สำหรับ ผู้บ ริ ห ำร ทาหน้าที่ประเมินโครงการอย่างเป็นอิสระเป็นเรื่องสาคัญเพื่อประเมินโครงการอย่างถูกต้องและเพิ่มความโปร่งใส (7) การ เตรียมการจัดซื้อจัดจ้างล่วงหน้าควรได้รับการอนุญาตเพื่อให้การเริ่มดาเนินโครงการหลังได้รับอนุมัติงบประมาณสามารถทาได้ ทันที เนื่องจำกรัฐบำลได้เล็งเห็นถึงแนวทำงนโยบำยเพื่อปกป้องครัวเรือนที่มีควำมเปรำะบำง จึงควรมีกำรพิจำรณำนำเสนอกำร คุ้มครองทำงสังคมที่ดีขึ้นและตรงกลุ่มเป้ำหมำย เรื่องสาคัญลาดับต้นสาหรับประเทศไทยอีกประการหนึ่งคือ การพัฒนาการ คุ้มครองทางสังคมที่ ตรงกับกลุ่มเป้าหมายที่มีความต้องการมากที่สุดได้ อย่างถูกต้องและสามารถที่จะให้การสนับสนุนกับ ครัวเรือนกลุ่มนี้ในช่วงเวลาที่เศรษฐกิจถดถอยได้อย่างรวดเร็ว การคุ้มครองทางสังคมควรออกแบบให้ตรงกับความต้องการของ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มเปราะบางที่สุด ในขณะที่ต้องมีความยั่งยืนด้านการคลังไปพร้อมกัน นโยบายคุ้มครองครัวเรือนที่ เปราะบางเป็นเรื่องจาเป็นมากเนื่องจากอัตราความยากจนสูงขึ้น คาดการณ์จานวนประชากรที่ยากจนอย่างเป็นทางการเมื่อปี 2561 เพิ่มสูงขึ้นมากกว่าร้อยละ 2 จากปี 2558 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 7.2 ในปี 2558 เป็นร้อยละ 9.9 ในปี 2561 อัตราความ ยากจนเพิ่มสูงขึ้นทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทยในช่วงเวลาดังกล่าว 5. ในระยะยำว ประเทศไทยจะต้องกระตุ้นกำรเติบโตของผลิตภำพและกำรลงทุนเพื่อบรรลุสถำนะประเทศที่มี รำยได้สูงในปี 2580 ประเทศไทยได้ตั้งเป้ำหมำยที่จะเปลี่ยนผ่ำนจำกกำรเป็นประเทศรำยได้ปำนกลำงระดับสูงไปสู่ประเทศที่มีรำยได้สูงภำยในปี 25 80 ภำยใต้ แ ผนยุ ท ธศำสตร์ ช ำติ 20 ปี จากการวิ เ คราะห์ โ ดยแบบจ าลองการเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ระยะยาวของ ธนาคารโลก ภายใต้กรณีฐานปกติที่ไม่มีการลงทุนเพิ่มเติมอย่างมีนัยสาคัญ หรือการเติบโตของผลิตภาพแต่อย่างใดนั้นพบว่า อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยในระยะยาวจะเติบโตต่ากว่าร้อยละ 3 ดังนั้น ประเทศไทยจะยังคงอยู่ในสถานะประเทศ ที่มีรายได้ปานกลางระดับสูงไปจนถึงปี 2593 และไม่สามารถบรรลุเป้าหมายการเป็นประเทศที่มีรายได้สูงได้ ประเทศไทยจะต้องมีกำรปฏิรูปโครงสร้ำงอย่ำงมีนัยสำคัญเพื่อเพิ่มกำรลงทุนและกำรเติบโตของผลิตภำพเพื่อที่จะบรรลุกำร เติบโตทำงเศรษฐกิจที่ต้องกำรเพื่อกำรเป็นประเทศที่มีรำยได้สูง แบบจาลองการเติบโตทางเศรษฐกิจระยะยาวได้วิเคราะห์ ทางเลือกต่าง ๆ ที่จะทาให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายการเป็นประเทศที่มีรายได้สูงในปี 2580 ผลการวิเคราะห์แสดง ให้เห็นว่าประเทศไทยจะต้องมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงกว่าร้อยละ 5 อย่างต่อเนื่องจนถึงปี 2568 จึงจะบรรลุเป้าหมาย นี้ได้ ข้อค้นพบที่สาคัญอีกประการได้แก่ การปรับปรุงการเติบโตของผลิตภาพการผลิตรวม (Total Factor Productivity-TFP) และการเพิม ่ การลงทุนของประเทศไทยยังไม่มากพอที่จะรักษาอัตราการเติบโตระดับนี้ได้ ประเทศไทยจะสามารถรักษาอัตรา การเติบโตดังกล่าวได้ก็ต่อเมื่อมีการลงทุนภาครัฐและภาคเอกชนเพิ่มขึ้นเกือบสองเท่าจากที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ในขณะเดียวกัน ก็ต้องรักษาระดับผลิตภาพการผลิตโดยรวมให้เท่ ากับเกาหลีใต้ในยุคที่ยังเป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวเท่ากับประเทศไทยใน ปัจจุบัน.8 ปัจจุบัน กำรที่เศรษฐกิจไทยชะลอตัวลงทำให้เห็นข้อจำกัดเชิงโครงสร้ำงต่อกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจในระยะยำว รวมถึง กำรชะลอตัวลงของกำรลงทุนและกำรเติบโตของผลิตภำพที่ต่ำ อุตสาหกรรรมการผลิตเพื่อการส่งออกที่หดตัวลงของไทย 8 เกาหลีใต้มีการเติบโตของผลิตภาพการผลิตรวมเร็วที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิกนับตั้งแต่ปี 2557 จนถึงปัจจุบัน รำยงำนตำมติดเศรษฐกิจไทย | มกรำคม 2563 vi บทสรุป สำหรับ ผู้บ ริ ห ำร ซึ่งหดตัวมากกว่าประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่อื่น ๆ ในกลุ่มประเทศอาเซียนเน้นให้เห็นถึงความจาเป็นที่ต้องจัดการกับ ปัญหาโครงสร้างทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจของไทยเคยเติบโตเฉลี่ยร้ อยละ 7.7 ตลอดช่วงปี 2523-2539 เป็นผลมาจากการ สะสมทุนและแนวทางการเติบโตทางเศรษฐกิจแบบการผลิตเพื่อการส่งออก ในช่วงเวลานั้น การเติบโตทางเศรษฐกิจสอดคล้อง กับการที่แรงงานย้ายจากภาคเกษตรกรรมมาสู่ภาคอุตสาหกรรม อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจไทยเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ ว ใกล้ เ คี ย งกั บ ประเทศอื่ น ๆ ที่ มี ร ายได้ ป านกลางระดั บ สู ง ในกลุ่ ม เดี ย วกั น และลดอั ต ราความยากจนขั้ น รุ น แรงลงไปได้ ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ในระดับ นี้ได้ชะงักลงในปี 2540 เมื่อเกิดวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย ในช่วงปี 2541-2551 เศรษฐกิจไทยเริ่มมีเสถียรภาพและค่อย ๆ ฟื้นตัวโดยมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 4.8 หลังจากวิกฤตการเงินโลกเมื่อปี 2551 เศรษฐกิจไทยยังคงชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่องโดยมี อัตราการเติบโตเฉลี่ยที่ร้อยละ 3.3 ตลอดช่วงทศวรรษที่ผ่านมา การลงทุน ทางกายภาพลดลงครึ่งหนึ่งจากเดิ มที่มีการลงทุนประมาณร้อยละ 40 ของ GDP ในปี 2539 ลดลงเหลือน้อยกว่าร้อยละ 20 ของ GDP ในปี 2561 การเติบโตของผลิตภาพการผลิตรวมก็ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเวลาก่อนหน้าโดยลดลงจากอัตราการ เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 3.0 ในช่วงปี 2542-2551 เหลือร้อยละ 1.4 ในช่วงปี 2552-2560. 6. กำรเพิ่มผลิตภำพโดยเฉพำะในภำคอุตสำหกรรมเป็นเรื่องสำคัญของวำระกำรปฏิรูปโครงสร้ำงเศรษฐกิจใน ระยะยำว ส่วนที่สองของรำยงำนตำมติดเศรษฐกิจไทยฉบับนี้วิเครำะห์กำรพัฒนำกำรเติบโตของผลิตภำพในเชิงลึกและอภิปรำย นโยบำยเพื่อเพิ่มผลิตภำพในภำคอุตสำหกรรม9 ประเทศไทยจาเป็นต้องทาให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานจากภาคเกษตรกรรม ไปสู่ อุ ต สาหกรรมที่ มีผ ลิตภาพสู งกว่ า ได้ดี ขึ้ น รวมถึ งสนั บ สนุ น ให้ภ าคอุ ตสาหกรรมมีพ ลวั ต มากกว่ า เดิ ม โดยที่ บ ริ ษั ทที่มี ประสิทธิภาพน้อยจะถูกแทนที่โดยบริษัทที่มีประสิทธิภาพดีกว่า กำรเปลี่ยนผ่ำนโครงสร้ำงเศรษฐกิจไทยยังอยู่ในระดับที่ไม่สมบูรณ์ ผลิตภาพเศรษฐกิจ โดยรวมของประเทศไทยในช่วงปี 2523-2539 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจ ที่แรงงานย้ายจากภาคเกษตรกรรมซึ่งมีผลิตภาพต่า ไปสู่ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการซึ่งมีผลิตภาพสูงกว่า อย่างไรก็ดี กระบวนการเปลี่ยนแปลงนี้ได้หยุดชะงักลง หลัง วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย การเติบโตของผลิตภาพขับเคลื่อนจากภายในภาคส่วนเดียวกันมากกว่าการเคลื่อนย้ายแรงงาน ข้ามภาคส่วน สัญญาณการเปลี่ยนผ่านโครงสร้างที่ยังค้างอีกเรื่องคือ การจ้างงานในภาคเกษตรกรรมของประเทศไทยยังมี สัดส่วนสูงกว่าประเทศอื่น ๆ ที่มีโครงสร้างเศรษฐกิจ และระดับรายได้ต่อหัวแบบเดียวกัน กาลังแรงงานกว่าร้อยละ 30.9 ของ ประเทศไทยยังคงอยู่ในภาคเกษตรกรรมเมื่อเทียบกับร้อยละ 11.2 ของมาเลเซีย ดังนั้น การเพิ่มผลิตภาพของแรงงานและ เงินทุนลงไปในในภาคเกษตรกรรมสามารถช่วยส่งเสริมการเปลี่ยนผ่านโครงสร้าง ร่วมกับมาตรการที่มีศักยภาพบางอย่าง ได้แก่ การเพิ่มประสิทธิภาพและความยั่งยืนของการลงทุนด้านชลประทาน และการเพิ่มงบประมาณเพื่อการวิจัยและโครงการส่งเสริม เกษตรกรรมให้ดียิ่งขึ้น 9 รายงานนี้เป็นงานวิจัยร่วมกันระหว่างธนาคารแห่งประเทศไทยและธนาคารโลก รายงานนี้ได้เปรียบเทียบผลิตภาพของเศรษฐกิจไทยในวงกว้างกับ ประเทศอื่น ๆ ที่มีโครงสร้างทางเศรษฐกิจใกล้เคียงกัน และได้วิเคราะห์ผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรมการผลิตไทยในเชิงลึกโดยใช้ข้อมูลจาก the Thailand’s Manufacturing Industry Census ที่ทาการสารวจบริษัทเกือบ 50,000 บริษัทและแผนของภาคอุตสาหกรรมโดยเป็นการเก็บข้อมูล ในช่วงปี 2549, 2554, และ 2559 รำยงำนตำมติดเศรษฐกิจไทย | มกรำคม 2563 vii บทสรุป สำหรับ ผู้บ ริ ห ำร กำรวิเครำะห์ตัวขับเคลื่อนและข้อจำกัดด้ำนผลิตภำพของภำคอุตสำหกรรมโดยใช้ข้อมูล ระดับบริษัทแสดงข้อค้นพบเชิง ประจักษ์ ดังนี้ (1) การเติบโตของผลิตภาพอยู่ในระดับที่สูงสาหรับกลุม่ อุตสาหกรรมที่เน้นการส่งออกมากกว่า (2) บริษัทที่ได้รับ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ( Foreign Direct Investment-FDI) มีผลิตภาพที่สูงกว่า (3) บริษัทขนาดเล็กที่มีผลิตภาพ จานวนหนึ่งไม่ขยายขนาดกิจการ สะท้อนให้เห็นถึงข้อกาจัดต่อการเติบโตของกิจการ และ (4) บริษัทที่ใช้แรงงานทีม ่ ีทักษะและ ลงทุนในการวิจัยและพัฒนามากกว่ามีผลิตภาพและนวัตกรรมทีส ่ ูงกว่า ผลกำรศึกษำยังชี้ให้เห็นว่ำกำรเติบโตของผลิตภำพที่เกิดจำกกำรเลิกกิจกำรของบริษัทที่ไม่มีผลิตภำพและกำรเข้ำมำใหม่ ของบริษัทที่มีผลิตภำพอยู่ในระดับที่ต่ำ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในกลุ่มอุตสำหกรรมที่ผลิตเพื่อกำรขำยในประเทศ กฎระเบียบ ข้อบังคับของไทย อาทิ พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว 2542 หรือ พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้าไม่ ส่งเสริมให้บริษัทใหม่ ๆ โดยเฉพาะบริษัทต่างประเทศเข้ามามีส่วนร่วมในตลาดภายในประเทศหรือตลาดเดียวกันกับรัฐวิสาหกิจ ภายใต้สมมติฐานว่าบริษัทใหม่มีแนวโน้มที่จะมีผลิตภาพสูงกว่า ข้อจากัดเหล่านี้จึงยับยั้งการเติบโตของผลิตภาพ นอกจากนี้ การบังคับใช้กฎหมายการแข่งขันทางการค้าที่ผ่านมายังอ่อนแอ นับตั้งแต่มีการจัดตั้งสานักงานคณะกรรมการการแข่งขันทาง การค้าตามพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า 2542 เป็นต้นมา ยังไม่มีคดีใดดาเนินการสาเร็จลุล่วงอันเนื่องจากการขาด ความเป็นอิสระของหน่วยงาน10 พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้าฉบับใหม่ปี 2560 ที่ใช้แทนปี 2542 มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันผ่านการแข่งขันที่มากขึ้น พระราชบัญญัตินี้รวบรวมแง่มุมที่สาคัญไว้หลายเรื่อง อาทิ การ บริหารจัดการที่ดีในเรื่องการแข่งขันระหว่างหน่วยงาน กฎเกณฑ์การควบรวมกิจการ ข้อตกลงเรื่องการต่อต้านการแข่งขัน และ ข้อยกเว้น อย่างไรก็ดี ความท้าทายที่สาคัญคือการสร้างความเข้มแข็งในการนากฎไปบังคับใช้ด้วยแนวทางต่าง ๆ เช่น การ ชี้แจงทางการกฎหมายในเรื่องการกระทาผิดของรัฐวิสาหกิจ และมาตรการกึ่งการคลัง เช่น การควบคุมราคา รวมถึงการสร้าง แรงจูงใจในการรายงานพฤติกรรมการร่วมกลุ่มเพื่อครอบงาตลาด นอกจำกนี้ ข้อค้นพบจำกศึกษำนี้ชี้ให้เห็นว่ำ วำระด้ำนผลิตภำพของประเทศไทยนั้นต้องให้ควำมสำคัญในเรื่อง (1) กำร เพิ่มกำรเปิดเสรีด้ำนกำรลงทุน (2) กำรเพิ่มกำรแข่งขันในตลำดภำยในประเทศ และ (3) กำรส่งเสริมระบบนิเวศน์ที่ เข้มแข็งสำหรับกำรสร้ำงนวัตกรรมของบริษัท การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันต้องอาศัยการบังคั บใช้กฎหมายการ แข่งขันทางการค้าและความเข้มแข็งของคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า ส่วนเรื่องการเปิดเสรีด้านการลงทุนนั้นสามารถ ทาได้ผ่านการส่งเสริมการลดข้อจากัดเรื่องการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศและแรงงานวิชาชีพที่มีฝีมือ โดยเฉพาะในภาค บริการโดยการนากรอบข้อตกลงอาเซียนในเรื่องภาคบริการมาดาเนินการ ทักษะของแรงงานจะเป็นเรื่องที่สาคัญมากในระยะ สั้น นโยบายที่ควรนาไปพิจารณาได้แก่ การสร้างและการหาแรงงานที่มีทักษะในวิชาชีพที่อยู่ในรายการแรงงานที่ขาดแคลน และเป็นที่ต้องการสาหรับอุตสาหกรรมที่มีนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อส่งเสริมระบบนิเวศน์การวิจัยและพัฒนา ประเทศไทยต้องหา แนวทางที่จะสร้างความเข้มแข็งในการปกป้องทรัพย์สินทางปัญญาและขีดความสามารถของกรมทรัพย์สินทางปัญญา.11 10 อ่านเพิ่มเติมได้จากหัวข้อ Thailand’s New Competition Act: Does it Deliver? 11 อ่านเพิ่มเติมได้จากหัวข้อ on innovation eco-system in ในรายงานตามติดเศรษฐกิจไทย: ปริศนานวัตกกรรม เมษายน 2561 รำยงำนตำมติดเศรษฐกิจไทย | มกรำคม 2563 viii บทสรุป สำหรับ ผู้บ ริ ห ำร บทที่ 2: สรุปข้อค้นพบที่สำคัญและทำงเลือกเชิงนโยบำย ข้อค้นพบ ข้อเสนอเชิงนโยบำย การแข่งขันและตลาดหมุนเวียนในอุตสาหกรรมในประเทศ การปรับใช้พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้าฉบับใหม่ โดยทั่วไปยังคงอ่อนตัว พร้อมกับแนวทางที่สาคัญและชัดเจน ซึ่งเกี่ยวข้องกับ รัฐวิสาหกิจ การควบคุมราคา และการร่วมกลุ่มเพื่อครอบงา ตลาด กิจการที่สามารถปรับตัวเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้จะมีผลิต การส่งเสริมการเปิดเสรีการลงทุนด้วยการลดข้อจากัดด้าน ภาพที่สูงกว่า การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และด้านการบริการตาม วิสัยทัศน์ของกรอบข้อตกลงด้านการบริการอาเซียน แรงงานที่มีทักษะจะช่วยส่งเสริมการลงทุนในการวิจัยและ การนาเสนอนโยบายเรื่องทุนมนุษย์เพื่อส่งเสริมระบบนิเวศน์ การพัฒนา ด้านนวัตกรรม รวมทั้งพิจารณาจัดทารายการวิชาชีพที่ใช้ ทักษะที่ขาดแคลนในระยะสั้น รำยงำนตำมติดเศรษฐกิจไทย | มกรำคม 2563 ix บทสรุป สำหรับ ผู้บ ริ ห ำร สถำนกำรณ์เศรษฐกิจในปัจจุบัน ่ ่ำกว่ำร้อยละ 3 รูปที่ ES2: …อัตรำกำรขยำยตัวชะลอลงอย่ำงต่อเนื่องเมื่อเปรียบเทียบกับ รูปที่ ES1: อัตรำกำรขยำยตัวของ GDP ยังอยู่ในระดับทีต ในไตรมำสสำมของปี 2562 ไตรมำสก่อนหน้ำ จนแถบจะไม่เปลี่ยนแปลง ่ นหน้า) (% เปลี่ยนแปลงเมื่อเปรียบเทียบกับปีกอ (% เปลี่ยนแปลงเมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า, ปรับตามฤดูกาล) ที่มา: สศช. ที่มา: สศช. รูปที่ ES3: กำรส่งออกสินค้ำและบริกำรลดลงอย่ำงต่อเนื่องท่ำมกลำงควำม รูปที่ ES3: ...ควำมต้องกำรภำยในประเทศส่งผลต่อกำรขยำยตัวของ GDP ต้องกำรจำกภำยนอกประเทศที่อ่อนแอ น้อยลงในหลำยไตรมำสที่ผ่ำนมำ ่ เปรียบเทียบกับปี (ร้อยละทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปที่ส่งผลต่อการขยายตัวของ GDP เมือ ่ เปรียบเทียบกับปี (ร้อยละทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปที่ส่งผลต่อการขยายตัวของ GDP เมือ ก่อนหน้า) ก่อนหน้า) ที่มา: สศช. ที่มา: สศช. รำยงำนตำมติดเศรษฐกิจไทย | มกรำคม 2563 x บทสรุป สำหรับ ผู้บ ริ ห ำร รูปที่ ES5: อัตรำควำมยำกจนเพิ่มขึ้นทั่วประเทศไทย รูปที่ ES6: ...ซึ่งถูกสนับสนุนจำกรำยได้ภำคเกษตรกรรมที่คงที่ (อัตราความยากจน, ร้อยละ) (ค่าจ้างแรงงานโดยเฉลี่ยแต่ละอุตสาหกรรม, บาทต่อเดือน) ที่มา: สศช. ที่มา: สศช. ตำรำงที่ ES1: ดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจมหภำค 2560 2561 2562 2563 2564 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่แท้จริง (ณ ราคาคงที่) 3.9 4.1 2.5 2.7 2.8 การบริโภคภาคเอกชน 3.2 4.8 4.2 4.4 4.5 การบริโภคภาครัฐ 0.5 5.2 1.7 1.2 1.0 การสะสมทุนเบื้องต้น 0.9 4.8 8.4 2.7 2.6 การส่งออกสินค้าและบริการ 5.5 5.9 -5.3 0.2 1.1 การนาเข้าสินค้าและบริการ 6.8 7.2 -2.5 1.7 2.5 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่แท้จริง (ณ ราคาคงที่) 4.2 4.2 2.5 2.7 2.9 ภาคเกษตรกรรม 3.7 5.0 2.0 2.2 2.2 ภาคอุตสาหกรรม 1.8 2.7 2.6 2.7 3.0 ภาคบริการ 5.8 5.1 2.5 2.7 3.0 เงินเฟ้อ (ดัชนีราคาผู้บริโภค) 0.7 1.1 1.1 1.1 1.1 ดุลบัญชีเดินสะพัด (สัดส่วนต่อ GDP) 11.0 8.1 5.4 3.9 2.7 เงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศสุทธิ (สัดส่วนต่อ GDP) -2.7 -3.0 -0.1 -0.1 -0.2 ดุลการคลัง (สัดส่วนต่อ GDP) -0.3 0.3 -0.8 -1.2 -1.3 หนี้สาธารณะ (สัดส่วนต่อ GDP) 41.2 41.6 41.41 43.5 43.9 ดุลการคลังเบื้องต้น (สัดส่วนต่อ GDP) 0.6 1.3 0.2 -0.2 -0.4 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ณ ราคาปัจจุบัน (ดอลลาร์สหรัฐ) 10.6 8.3 7.8 2.6 1.9 ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ; การคานวณของเจ้าหน้าที่ธนาคารโลก รำยงำนตำมติดเศรษฐกิจไทย | มกรำคม 2563 xi กลุมธนาคารโลก ชั้น 30 อาคารสยามพิวรรธน เลขที่ 989 ถนนพระราม 1 ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 Email.thailand@worldbank.org | โทรศัพท 0-2686-8300 www.worldbank.org/thailand | Facebook World Bank Thailand