การมีส่วนร่วม ทางเศรษฐกิ จ ของกลุ ่ ม LGBTI ใน ประเทศไทย 17 พฤษภาคม 2017 ความเป็นมา ในเกือบทุกประเทศทั่วโลก คนส่วน ดีกว่าเท่านั้น หากแต่ยังปล้นศักดิ์ศรี เท่านั้น นอกจากนี้ ข้อมูลในเรื่อง ใหญ่ยังไม่ยอมรับกลุ่มคนที่มีความ ของพวกเขาไปด้วย SOGI ของประเทศไทยยังคงเป็น หลากหลายทางเพศ (SOGI) ซึ่งท�ำให้ ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ ได้จากการ กลุ่มเลสเบี้ยน เกย์ ไบเซ็กชวล คนข้าม ในส่วนประเทศไทย มีงานวิจัยเพิ่ม สัมภาษณ์ การพูดคุยแบบกลุ่ม เพศ และผู้มีสภาวะเพศก�ำกวม หลายชิ้นที่ชี้ให้เห็นว่ากลุ่มบุคคลที่มี เฉพาะ และการประชุมปรึกษาหารือ (LGBTI) ถูกแบ่งแยกออกจากสังคม ความหลากหลายทางเพศ และกลุ่ม การไม่ยอมรับและไม่รวมพวกเขานี้เอง ผู้มีความหลากหลายทางเพศกลุ่ม จากความพยายามที่จะปิดช่องว่าง ส่งผลให้เกิดข้อจ�ำกัดในการเข้าถึง เล็กๆ นี้ต่างมีประสบการณ์ที่ด้อย ในเรื่องนี้ กลุ่มธนาคารโลกร่วมกับ ตลาด บริการ และพื้นที่ทางสังคม กว่าคนทั่วไปทั้งในเรื่องการจ้างงาน คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษา นอกจากนี้ยังท�ำให้พวกเขามีความ การศึกษา สุขภาพ ที่อยู่อาศัย และ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปราะบางที่จะถูกความรุนแรง ถูก ความสามารถในการสร้างผลผลิต และ Love Frankie ท�ำการวิจัยเพื่อ เลือกปฏิบัติ และถูกจ�ำกัดโอกาสใน ทางเศรษฐกิจและสังคม พวกเขาล้วน หาข้อมูลใหม่ในเรื่อง การถูกเลือก ชีวิต ข้อเสียเปรียบเหล่านี้มิได้แต่เพียง ได้รับความกดดันอย่างมหาศาลจาก ปฏิบัติและการถูกแบ่งแยกในด้าน จ�ำกัดเขาจากการได้ ใช้ประโยชน์จาก สังคมที่ยังคงตอกย�้ำถึงบรรทัดฐาน เศรษฐกิจของบุคคลที่มีความ โอกาสที่พวกเขาควรมีเพื่อไปสู่ชีวิตที่ เรื่องเพศว่ามีเพียงหญิงและชาย หลากหลายทางเพศในประเทศไทย ข้อมูลเบื้องต้น วัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ • ระบุความท้าทายและโอกาสส�ำหรับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ • เปิดเผยประสบการณ์ของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ • เปรียบเทียบมุมมอง ทัศนคติ และพฤติกรรมในกลุ่มที่ ไม่ใช่บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ มีคนไทย 3,502 คนตอบแบบสอบถามออนไลน์ คนตอบแบบสอบถามส่วน คนที่ ไม่ ใช่บุคคลที่ มีความหลาก 18-39 ปี ใหญ่มีอายุน ้อย หลายทางเพศ 1,200 คน บุคคลที่มีความหลากหลาย ทางเพศ 82% อาศัยอยู่ ใน บุคคลที่มีความ กรุงเทพฯ ในขณะที่คนที่ ไม่ ใช่บุคคลที่มีความหลาก กรุ ง เทพฯ หลากหลายทาง เพศ 2,302 คน หลายทางเพศมี 52% แบบสอบถามนี้ถามบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ/ผู้ ไม่ใช่บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ เรื่องประสบการณ์ ในเรื่องต่อไปนี้ การศึ กษา การจ้างงาน ที่อยู่อาศัย การเงิน ประกัน สุขภาพ การสมั ค รหรื อ การศึกษา การสมัค รงาน การเช่า หรือการซื้อ การเข้า ถึง การเข้า ถึงบริ ก าร ในสถาบั น การศึ กษาหรือ การเข้าถึง งาน และ เดี่ย วหรือการซื้อ ผลิตภัณฑ์และ และการรัก ษา สถาบั น ฝึ ก อบรมวิชาชีพ บทบาทการเป็นผู้น�ำ กับ คู่สมรส บริการทางการเงิน 46% 38% บุ ค คลที่ มีค วามหลากหลายทางเพศมี กลุ่มคนข้า มเพศถูกเลือกปฏิบัติอย่า ง ชาวเลสเบี้ย นบอกว่า ถูกเลือกปฏิ บั ติ ประสบการณ์ ถู กเลือ กปฏิบัติ (46%) ร้ายแรง มากที่สุดเมื่อซื้อสิน ทรัพย์และใน มากกว่ า คนที่ ไ ม่ ใ ช่บุค คลที่มีค วาม ตลาดแรงงาน หลากหลายทางเพศ (38%) บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในทุกภูมิภาคมีประสบการณ์ถูกเลือกปฏิบัติในสถานที่ท�ำงานมาก 77% 62.5% 49% 40% 22.7% คนข้ า มเพศ 77% เกย์ 49% และ คนข้ า มเพศ 40% ที่ ต อบ เกย์ 22.7% ที่ ต อบแบบสอบถามไม่ เลสเบี้ยน 62.5% ที่ตอบแบบสอบถาม แบบสอบถามเคยถู กละเมิ ด ทาง ได้ รับการเลื่ อนต� ำ แหน่ ง เนื่ องจากเป็น ถู ก ปฏิ เ สธงานเพราะว่า เป็น บุค คลที่มี เพศหรื อล้ อเลี ย นในที่ ท�ำ งาน บุ ค คลที่ มีค วามหลากหลายทางเพศ ความหลากหลายทางเพศ 24% 23.7% เลสเบี้ ย นและเกย์ 24% ที่ตอบ คนข้ามเพศ 23.7% ที่ ต อบ 3 ใน 4 ของคนข้ามเพศที่ตอบ แบบสอบถามถู ก ห้า มไม่ ให้ แบบสอบถามต้ อ งใช้ ห ้ อ งน�้ ำ แบบสอบถามเคยถูกล่วงละเมิดทางเพศ เปิ ด เผยตั ว ในที่ ท�ำงาน ตามเพศเกิ ด ในที่ท�ำงานหรือเมื่อสมัครงาน 60% 19% คนข้ ามเพศที่ ต อบแบบสอบถาม 60% เผชิญ กับ การถู กเลื อ กปฏิ บัติ 19% ของเกย์ มีประสบการณ์ ถู ก ในที่ ท� ำ งานเมื่ อ เที ย บกั บ เลสเบี้ ย น (29%) และ เกย์ (19%) เลือกปฏิบัติมากที่สุดในตลาดแรงงาน เลสเบี้ ย นที่ ต อบค� ำ ถามมี ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งที่เป็น และไม่ ผู้ตอบแบบสอบถามระบุว่า เมื่อถู ก ประสบการณ์ ถู กล่ว งละเมิด เป็นผู้มีความหลากหลายทางเพศมี ล่วงละเมิดทางเพศเขาไว้ ใจเล่าให้ ทางเพศที่ รุน แรงกว่าเกย์ การรับรู้เรื่องกฎหมายต่อต้า นการ ครอบครัวฟังเป็น อัน ดับ แรก และมั ก อย่ า งชั ด เจน เลือ กปฏิบัติโดยไม่เป็น ธรรมระหว่า ง ไม่ร ายงานตามกลไลของรัฐหรื อ เพศน้อ ย รายงานหน่วยงานบังคับ ใช้กฎหมาย ธนาคารโลกและงานด้านวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ ธนาคารโลกได้เข้าไปมีส่วนร่วมในงานด้านวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ (SOGI) ผ่านการท�ำงาน ด้านความเสมอภาคทางเพศและการมีส่วนร่วมทางสังคม จากการที่ธนาคารได้ท�ำงานด้านเอชไอวี/ เอดส์มาหลายทศวรรษ ธนาคารโลกจึงเข้าไปมีส่วนร่วมในงานด้าน SOGI อย่างครอบคลุมทุกด้าน ผ่านการจัดการและการด�ำเนินโครงการของธนาคาร เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2558 ธนาคารได้จัดตั้งคณะท�ำงานเรื่อง SOGI เพื่อเพิ่มความพยายามใน การท�ำงานเรื่องนี้มากขึ้น รวมถึงเพื่อเป็นผู้น�ำความพยายามในการน�ำ SOGI ให้เข้ามามีส่วนร่วม ในสังคม ทีมงานที่ท�ำงานในหลายประเด็นเหล่านี้ล้วนมาจากหลากหลายแผนกในธนาคารโลกซึ่งเปิด โอกาสให้น�ำเรื่องนี้ไปมีส่วนร่วมในโครงการและงานวิเคราะห์วิจัยทั้งที่อยู่ระหว่างด�ำเนินการและงานใหม่ๆ พันธมิตรและผู้สนับสนุน พันธมิตรหลักด้านการท�ำวิจัย สนับสนุนโดย กลุ่มผู้ ให้ค�ำแนะน�ำด้านงานวิจัย Andaman Power & Rung Andaman Phuket พันธมิตรด้านประชาสัมพันธ์กิจกรรม ติดต่อเรา ธนาคารโลกส�ำนักงานประเทศไทย ชั้น 30 อาคารสยามพิวรรธน์ 989 ถนนพระราม 1 ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร 0-2686-8300 Email: thailand@worldbank.org www.worldbank.org/thailand facebook.com/worldbankthailand