กลับสู่เส้นทาง: ฟื้นฟูการเติบโตและประกัน ความมั่งคั่งส�ำหรับทุกคน 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ิ าคเอเชียตะวันออกและแปซิฟก EACTF | ภูมภ ิ STANDARD DISCLAIMER This volume is a product of the staff of the International Bank for Reconstruction and Development/ The World Bank. The findings, interpretations, and conclusions expressed in this paper do not necessarily reflect the views of the Executive Directors of The World Bank or the governments they represent. The World Bank does not guarantee the accuracy of the data included in this work. The boundaries, colors, denominations, and other information shown on any map in this work do not imply any judgment on the part of The World Bank concerning the legal status of any territory or the endorsement or acceptance of such boundaries. COPYRIGHT STATEMENT The material in this publication is copyrighted. Copying and/or transmitting portions or all of this work without permission may be a violation of applicable law. The International Bank for Reconstruction and Development/ The World Bank encourages dissemination of its work and will normally grant permission to reproduce portions of the work promptly. For permission to photocopy or reprint any part of this work, please send a request with complete information to the Copyright Clearance Center, Inc. 222 Rosewood Drive, Danvers, MA 01923, USA Telephone: 978-750-8400 Fax: 978-750-4470 http: //www.copyright.com/ All other queries on rights and licenses, including subsidiary rights, should be addressed to the Office of the Publisher, The World Bank. 1818 H Street NW Washington, DC 20433, USA Fax : 202-522-2422 E-mail : pubrights@worldbank.org ค�ำขอบคุณ รายงานฉบับนีจ้ด ้ด ั ท�ำโดยคณะผูจ ั ท�ำของกลุม ่ ธนาคารโลก น�ำโดย ลารส์ ซอนเดอการ์ด (ผูน ้ำ ่ งานด้านการพัฒนามนุษย์และความยากจน) เฮเลน ฮาน � กลุม (ไอเอฟซี) และแดเนียล สตรีท (ไอเอฟซี) โดยขอขอบคุณ มินนา ฮาน ทอง (ที่ปรึกษา) ในการอ่านและแก้ไขรายงาน คณะผู้จัดท�ำประกอบด้วย หัวข้อในการวิเคราะห์ รายชื่อผู้จัดท�ำ การเกษตร เซอเกย์ ซอร์ยา การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทีเจน อาริน, พัจนภา เปี่ยมศิลปกุลชร, เวย-เจน เหลียว และสิ่งแวดล้อม และวราภรณ์ หิรัญวัฒน์ศิริ การศึกษา ลารส์ ซอนเดอการ์ด และ ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์ พลังงานและเหมืองแร่ พัจนภา เปี่ยมศิลปกุลชร และโรม ชวปรีชา การเงินและตลาดการเงิน รัชดา อนันตวราศิลป์ และโฮเซ เดอ ลูน่า มาร์ติเนซ การบริหารจัดการที่ดี ชาบีห์ อาลี โมฮิบ และมิเกล เอดัวโด ซันเชส มาร์ติน สุขภาพ, โภชนาการและประชากร สุทยุต โอสรประสพ บรรษัทเงินทุนระหว่างประเทศ ซาร์เวช ซูริ, เฮเลน ฮาน, อาเดล เมียร์, ดาเนียล สตรีท (ไอเอฟซี) และ แคทเธอรีน มาร์ติน การจ้างงาน ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์ และทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย มิเกล เอดัวโด ซันเชส มาร์ติน, เกียรติพงศ์ อริยปรัชญา, คาซิ มาติน, การเติบโตและการคลัง ธนาภัทร์ เรืองศรี, ชาบีห์ อาลี โมฮิบ และดิลกะ ลัทธพิพัฒน์ ความยากจนและการเติบโต ซูเบย ลัว, รีน่า บาเดียนิ-แมคนัสสัน, ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย, อย่างทั่วถึง ซิซิเลีย ปอคกิ และดิลกะ ลัทธพิพัฒน์ ความคุ้มครองทางสังคมและแรงงาน สมิตา คูเรียโคเซ, ไอว่า ฮาเมล, แคลร์ โฮลเวค และเอสเตแบน เฟอโร การค้าและความสามารถ สมิตา คูเรียโคเซ, ไอว่า ฮาเมล, แคลร์ โฮลเวค ในการแข่งขัน และเอสเตแบน เฟอโร การคมนาคมและไอซีที ชนินทร์ มโนภินิเวส เมือง, ชนบท และการพัฒนาสังคม ภมรรัตน์ ตันสงวนวงศ์ และทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย กลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ โดมินิค โคห์เลอร์, ปีเตอร์ พอแลค, ฟิล ครีฮัน, มาเรีย บีทริซ และความเสมอภาคหญิงชาย ออแลนโด, ภมรรัตน์ ตันสงวนวงศ์ และทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย น�้ำ เกรก บราวเดอร์ กลับสู่เส้นทาง: ฟื้นฟูการเติบโตและประกันความมั่งคั่งส�ำหรับทุกคน 4 รายงานฉบับนี้ ประกอบด้วยสามส่วนหลักได้แก่ งานวิเคราะห์ความยากจน ผู้ร่วมทบทวนรายงาน ได้แก่ อีแจ๊ซ กานิ (หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์) และ และการเติบโตอย่างทั่วถึง (คณะผู้จัดท�ำน�ำโดย ซูเบลัว และประกอบด้วย ดร.สมชัย จิตสุชน (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย - TDRI) รีน่า บาเดียนี่–แมคนัสสัน ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย ซิซิเลีย ปอคกิ และ ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์) งานวิเคราะห์การเติบโตทางเศรษฐกิจและการค้า (คณะผู้ คณะผู้จัดท�ำได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์และข้อเสนอแนะตลอดการท�ำ จัดท�ำประกอบด้วย สมิตา คูเรียโคเซ มิเกล เอดัวโด ซันเชส มาร์ติน คาซิ รายงานจาก เอลิซ วานอร์เมลินเกน ริคาร์โด อัลเฟรโด ฮาบาเลียน มาติน ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์ ธนาภัทร์ เรืองศรี และชาบีห์ อาลี โมฮิบ) และ แฟตตัล คริสติน่า โปปิวาโนว่า (ยูนิเซฟ) ในด้านเงินช่วยเหลือส�ำหรับเด็ก งานวิเคราะห์ด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงาน (คณะผู้จัดท�ำประกอบด้วย และฮิว เดอลานีย์ (ยูนิเซฟ) ในด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย โรม ชวปรีชา ทีเจน อาริน และพัจนภา เปี่ยมศิลปกุลชร) คณะผู้จัดท�ำได้รับข้อเสนอแนะและความเห็นที่เป็นประโยชน์จากผู้เข้าร่วม ทั้งนี้ ได้มีการจัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็น โดยได้รับการแนะน�ำและ ประชุม ในการน�ำเสนอผลการศึกษาเบื้องต้น จากที่ประชุม 7 ครั้ง (จัดที่ สนับสนุนจากทีมสื่อสารองค์กรของเรา ประกอบด้วย ลีโอโนร่า อาคิโน่ กรุงเทพ ปัตตานี อุดรธานี และเชียงใหม่) คณะผู้จัดท�ำขอขอบคุณผู้เข้า กอนซาเลส เบน อาเล็กซ์ แมนเซอร์ ญาณวิทย์ เดชปัญญาวัฒน์ บุณฑริกา ร่วมประชุมมากกว่า 400 ท่านที่มีส่วนร่วมในการประชุมเหล่านี้ และได้ให้ แสงอรุณ และขนิษฐา คงรักเกียรติยศ ้ หาภายในรายงาน และการจัดล�ำดับ ข้อคิดและค�ำแนะน�ำในการร้อยเรียงเนือ ความส�ำคัญของประเด็นต่างๆ การบริหารจัดการและการผลิตรายงานได้รบ ่ม ั ความช่วยเหลืออย่างดีเยีย จาก นพขวัญ อินทะพันธ์ และพิมล เอี่ยมศรีพงศ์ ท้ายที่สุดนี้ คณะผู้จัดท�ำขอขอบคุณกลุ่มท�ำงานย่อยเพื่อจัดท�ำรายงาน การศึกษาเพื่อประเมินอุปสรรคและโอกาสในการพัฒนาของประเทศไทย คณะผูจ ั ท�ำขอขอบคุณ อูรค ้ด ้ ำ ิ ซาเกา (ผูอ � นวยการส�ำนักงานธนาคารโลก ซึ่งมีคุณบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ เป็นประธาน และประกอบด้วยผู้แทน ประเทศไทย) ซัลแมน ไซดิ (ผูจ ้ดั การฝ่ายปฏิบต ิ าร ความยากจน) แคทเธอรีน ัก จากส�ำนักงบประมาณ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ส�ำนักงานคณะ มาร์ตน ่ รึกษา ไอเอฟซี) แดเนียล สตรีท (ไอเอฟซี) คอนสแตนติน ชิโคซิ ิ (ทีป กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการโครงการ) ลูส์ สคูร่า (ผู้น�ำกลุ่มงานด้านการ ส�ำนักงานบริหารหนีส ิ ห่งชาติ ทีไ่ ด้ให้คำ ้ าธารณะ และส�ำนักงานสถิตแ � แนะน�ำ พัฒนาอย่างยั่งยืน) และชาบิ อาลี โมฮิบ (ผู้น�ำกลุ่มงานด้านการเติบโต และข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่คณะผู้จัดท�ำ ทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึง การเงิน และ สถาบัน) ส�ำหรับการสนับสนุน และค�ำแนะน�ำอย่างต่อเนื่อง การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาประเทศอย่างเป็นระบบ 5 บทสรุปผู้บริหาร ่ งเหล่านี้ ถึงแม้ ประเทศไทยประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาเรือ จะมีประเด็นเสถียรภาพทางการเมือง ตั้งแต่เปลี่ยนการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นพระประมุขตามรัฐธรรมนูญเมื่อปีพ.ศ. 2475 นั้น ประเทศไทย ในช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศไทยมีความก้าวหน้าใน ได้ผ่านการรัฐประหาร 18 ครั้ง (ครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม การก�ำจัดความยากจนขัน ้ รุนแรงและส่งเสริมการกระจายความ พ.ศ. 2557 รวมถึงความพยายามก่อรัฐประหารอีกหลายครั้ง) โดยมี มั่งคั่งอย่างทั่วถึงเป็นอย่างมาก รัฐธรรมนูญ 18 ฉบับ และนายกรัฐมนตรี 35 คน (มาเลสกี้และสัมพันธ ในช่วงกว่า 25 ปีก่อนเกิดวิกฤตการณ์การเงินในเอเชียเมื่อปี พ.ศ. 2540 รักษ์, 2011) กระนั้นก็ตาม ประเทศไทยยังสามารถรักษาอัตราการเติบโต เศรษฐกิจของประเทศไทยเติบโตในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 7.5 ต่อปี ท�ำให้เกิด ทางเศรษฐกิจทีส ู และสามารถดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติได้ ทัง ่ ง ้ นี้ เป็น การจ้างงานหลายล้านต�ำแหน่งซึ่งช่วยท�ำให้คนไทยหลายล้านคนพ้นจาก ผลมาจากระบบราชการที่เข้มแข็งซึ่งเป็นกันชนจากความวุ่นวายทางการ ความยากจน ทั้งนี้ ความยากจนขั้นรุนแรงที่วัดโดยเส้นความยากจนขั้น เมือง และปัจจัยอื่นๆ เช่น ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางในภูมิภาคเอเชียตะวัน รุนแรงนานาชาติ (1.90 เหรียญสหรัฐต่อวัน, 2011 PPP) ไม่เป็นที่น่า ออกเฉียงใต้ท�ำให้เป็นจุดดึงดูดนักลงทุนต่างชาติ เมื่อเทียบกับประเทศ กังวลส�ำหรับประเทศไทย ความยากจนขัน ้ รุนแรงของไทยลดลงจากร้อยละ เพื่อนบ้านในช่วงหลายปีที่ผ่านมา 14.3 ในปีพ.ศ. 2531 เป็นต�่ำกว่าร้อยละ 0.1 ในปี พ.ศ. 2556 สวัสดิการ หลายด้านพัฒนาขึน ่ หัวประชากรเพิม ้ อย่างน่าประทับใจ เช่น รายได้ตอ ้ ่ ขึน เฉลี่ยร้อยละ 4.2 ต่อปีระหว่างปีพ.ศ. 2543-2556 เด็กจ�ำนวนมากได้รับ การเติบโตชะลอตัวลง และความอ่อนไหวในเสถียรภาพทางการ เมืองอย่างต่อเนื่องส่งผลกระทบต่อการเติบโตในอนาคตและ การศึกษาที่สูงขึ้น และทุกคนมีประกันสุขภาพ ในขณะที่ระบบประกันสังคม โอกาสในการแบ่งปันรายได้ที่เพิ่มขึ้น รูปแบบอื่นๆ ได้ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น การเข้าถึงน�้ำสะอาดและสุขอนามัย มีสัญญาณบ่งชี้ว่าความอ่อนไหวของเสถียรภาพทางการเมืองที่ มี มา ขั้นพื้นฐานครอบคลุมเกือบทั่วประเทศ การย้ายถิ่นฐานและการสื่อสารได้ อย่างต่อเนื่องอาจกระทบโอกาสการเติบโตของประเทศไทย ประการ เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด (UNDP, 2014b) แรก ได้แก่ ตัวชี้วัดด้านการปกครองของประเทศไทยที่ชัดเจนที่สุดคือ เสียงจากประชาชน ความรับผิดชอบ และเสถียรภาพทางการเมืองได้ลด ลงในทศวรรษที่ผ่านมา ในขณะที่ประเทศเพื่อนบ้านพัฒนาดีขึ้น ประการ ที่สอง คือ คุณภาพของระบบราชการถดถอยลง ในขณะที่ประเทศเพื่อน บ้านพัฒนาดีขึ้น ท�ำให้ความสามารถในการลดทอนผลกระทบจากความ วุ่นวายทางการเมืองที่เคยมีมาในอดีตได้ลดประสิทธิภาพลง กลับสู่เส้นทาง: ฟื้นฟูการเติบโตและประกันความมั่งคั่งส�ำหรับทุกคน 6 อย่างไรก็ตาม ความยากจนและความไม่เท่าเทียมกันยังท�ำให้เกิด และ 2559 และคาดว่าจะยังคงตกต�่ำต่อไปในอีกหลายปีข้างหน้า ในขณะ ่ ง ความท้าท้ายอย่างต่อเนือ เดียวกัน ภาคการผลิตได้หยุดการสร้างงานใหม่ การสร้างงานด้าน ในปีพ.ศ. 2557 ประชากรไทย 7.1 ล้านคนยังมีความเป็นอยูท ่ยี่ ากจน (วัดจาก บริการเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ไม่ได้แสดงถึงการเติบโตของผลิตภาพ เส้นความยากจนของประเทศไทยปัจจุบัน หรือประมาณ 6.20 เหรียญ ที่รวดเร็วตามไปด้วย สหรัฐต่อวัน, 2011 PPP) นอกจากนี้ในปีพ.ศ. 2556 พบว่ามีประชากร 6.7 ล้านคนมีรายได้อยูภ ่ ายในช่วงร้อยละ 20 เหนือเส้นความยากจนของ ประเทศไทย และเสี่ยงต่อการกลับไปยากจนอีก1 นอกจากนี้ ทั้งข้อมูล การวิ เ คราะห์ ใ นรายงานการวิ เ คราะห์ แ นวทางการพั ฒ นา ประเทศอย่างเป็นระบบฉบับนี้ ชี้ให้เห็นว่าการขยายตัวด้านการ ครัวเรือนและข้อมูลระดับจังหวัดยังแสดงให้เห็นช่องว่างในเรื่องอื่นๆ ส่งออกลดลงอย่างมากในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เนื่องจาก ระหว่างผู้ยากจนและผู้ที่ไม่ยากจนนอกเหนือจากเรื่องรายได้ ซึ่งปรากฏ สูญเสียส่วนแบ่งการตลาดในภาคการผลิตทีใ่ ช้แรงงานเข้มข้น มาเป็นเวลานานถึงแม้วา ่ เศรษฐกิจจะเติบโตอย่างรวดเร็วก็ตาม แม้ความไม่ ความสามารถในการแข่งขันส�ำหรับภาคการส่งออกทีใ่ ช้แรงงานเข้มข้นและ เท่าเทียมกันได้ลดลงในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา แต่ยังจัดว่าสูงอยู่เมื่อ การส่งออกที่ใช้ทรัพยากรเป็นหลักลดลง (ร้อยละ 20 ของการส่งออก เปรียบเทียบกับหลายประเทศในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออก อีกทัง้ ยังสามารถ ้ หมด) และแนวโน้มนีเ้ พิม ทัง ้ อย่างรวดเร็วในระหว่างปีพ.ศ. 2553-2557 ่ ขึน เห็นช่องว่างของความแตกต่างอย่างชัดเจนจากรายได้ครัวเรือนและ ่ งจากอัตราค่าจ้างทีส เนือ ่ ง ้ สินค้าส่งออก เช่น สิง ู ขึน ่ ง ่ ทอ รองเท้า เครือ การบริโภคทัว ่ ประเทศ และภายในแต่ละภูมภิ าคของประเทศไทย ความยากจน หนัง และผลิตภัณฑ์จากไม้ ได้สูญเสียตลาดส่งออก ซึ่งสะท้อนว่ามูลค่า ส่วนมากยังอยู่ในภูมิภาคที่พัฒนาช้า เช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพิ่มในภาคการผลิตกลุ่มย่อยที่ต้องใช้แรงงานเข้มข้นและทรัพยากรเป็น ภาคเหนือ และจังหวัดชายแดนใต้ หลักได้ลดลงเช่นกัน มีส่วนท�ำให้การจ้างงานในภาคการผลิตหยุดนิ่งใน ช่วงหลายปีที่ผ่านมา หากเศรษฐกิจไทยยังคงเติบโตช้ากว่าที่เคยเป็นในอดีตต่อไป จะจ�ำกัดความก้าวหน้าในการลดความยากจนและส่งเสริมความ ประเทศไทยสู ญ เสี ย ความได้ เ ปรี ย บ ที่ เ คยมี เ หนื อ ประเทศ เท่าเทียมกัน เพื่อนบ้านในภูมิภาค ในอดีต การเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นกุญแจส�ำคัญในการลดความยากจน ่ เปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการแข่งขันระดับโลกของประเทศไทย เมือ ของประเทศไทย การเติบโตทางเศรษฐกิจลดลงจากอัตราเฉลี่ยร้อยละ 9 (รวบรวมโดยสภาเศรษฐกิจโลก – World Economic Forum ) ใน ต่อปี ในช่วงที่เศรษฐกิจเฟื่องฟูระหว่างปี พ.ศ. 2529-2539 เป็นอัตรา ปีพ.ศ. 2549/50 และพ.ศ. 2559/60 (รูปภาพที่ 1) พบว่า 10 ปีที่แล้ว เฉลี่ยร้อยละ 3 ต่อปีในช่วงสองปีที่ผ่านมา ธนาคารโลกคาดการณ์อัตรา ประเทศไทยมีความเข้มแข็งและแข็งแกร่งในทุกด้านตามที่สภาเศรษฐกิจ การเติบโตทางเศรษฐกิจที่ร้อยละ 3.2 ระหว่างปี พ.ศ. 2559-2560 และ โลกระบุ ประเทศไทยโดดเด่นในกลุ่มอาเซียน กลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) คาดว่าการเติบโตจะลดลงเป็นร้อย ระดับสูง และกลุ่มประเทศที่มีโครงสร้างคล้ายคลึงกัน และยังอยู่ในระดับ ละ 3.0 ในปี พ.ศ. 2564 (WEO, ตุลาคม 2559) ซึ่งต�่ำกว่าการคาดการณ์ ที่ดีแม้จะเทียบกับกลุม ่ร ่ ประเทศทีม ู 2 แต่ปจ ี ายได้สง ั ประเทศไทยไม่โดด ั จุบน อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจในกลุม ่ ร ่ ประเทศทีม ี ายได้ปานกลางระดับสูง เด่นอีกต่อไป โดยประเทศอื่นๆได้พัฒนาตามทันในทุกๆ ด้าน ทั้งนี้ ใน ในอาเซียน รวมทั้งจีนและอินเดีย ช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศไทยไม่มีการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ขนาดใหญ่ทจ ี่ ะช่วยลดข้อจ�ำกัดด้านโครงสร้างพืน ้ ฐาน และท�ำให้ประเทศไทย กลไกส�ำคัญที่ขับเคลื่อนการเติบโตที่ผ่านมาได้หยุดเดินหรือ เป็นศูนย์กลางอาเซียน ประเทศไทยไม่ได้ฉวยโอกาสจาก “ความได้เปรียบ” ขาดความยั่งยืน ที่จะลงทุนในสถาบันและนวัตกรรมเพื่อท�ำให้การศึกษาระดับอุดมศึกษา ในอดีต กลไกที่ท�ำให้เกิดผลิตภาพเพิ่มขึ้นมากที่สุดคือ การเคลื่อนย้าย ของไทยเป็นที่ต้องการในระดับภูมิภาคและท�ำให้ธุรกิจของไทยก้าวไป แรงงานจากภาคเกษตรที่มีผลิตภาพต�่ำเข้าสู่งานที่มีผลิตภาพสูง โดย สู่ระดับโลก เฉพาะในภาคการผลิต ซึ่งกลไกนี้ได้หยุดเดินไปตั้งแต่เกือบทศวรรษ ที่ผ่านมา นอกจากนี้ ความก้าวหน้าในการกระจายความมัง ่ อย่างทัว ่ คัง ่ ถึง ในช่วงทีผ ่ นมา ส่วนใหญ่เกิดจากราคาสินค้าเกษตรทีส ่ า ู เป็นประวัตก ่ ง ิ ารณ์ แบบชั่วคราว สืบเนื่องจากทั้งราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่สูงขึ้น และนโยบายภายในประเทศ ซึ่งช่วยเพิ่มรายได้ของเกษตรกรแต่ผลิตภาพ ไม่ได้เพิ่มขึ้นอย่างสอดคล้องกัน การเพิ่มขึ้นของรายได้เกษตรกรในขณะ ที่ผลิตภาพการเกษตรยังต�่ำ ส่งผลต่อการกระจายความมั่งคั่งอย่าง ทั่วถึงที่ไม่ยั่งยืน เนื่องจากราคาสินค้าเกษตรได้ลดลงในปีพ.ศ. 2558 1 มีจ�ำนวนคนยากจนรวมอย่างเป็นทางการส�ำหรับปี พ.ศ. 2557 แต่ไม่มีจ�ำนวนครัวเรือนยากจน ซึ่งคณะ ้ด ผูจ ั ท�ำของธนาคารโลกใช้ในการวิเคราะห์แนวโน้มและความหลากหลายของภูมภ ้ ิ าคในรายงานฉบับนี้ ดังนัน รายงานฉบับนี้จึงสามารถวิเคราะห์แนวโน้มได้ถึงปี พ.ศ. 2556 เท่านั้น 2 ประเทศที่มีโครงสร้างคล้ายคลึงกันส�ำหรับรายงานนี้คือ บัลกาเรีย จีน โคลัมเบีย มาเลเซีย และเม็กซิโก การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาประเทศอย่างเป็นระบบ 7 รูปภาพ ความสามารถในการแข่งขันระดับโลก คะแนน (7=ดีที่สุด) ที่ 1: 2549/50 2559/60 นวัตกรรม สถาบัน โครงสร้างพื้นฐาน นวัตกรรม สถาบัน โครงสร้างพื้นฐาน ความซับซ้อน สภาพแวดล้อมทาง ความซับซ้อน สภาพแวดล้อมทาง ทางธุรกิจ เศรษฐกิจมหภาพ ทางธุรกิจ เศรษฐกิจมหภาพ สุขภาพและ สุขภาพและ ขนาดของ การศึกษา ขนาดของ การศึกษา ตลาด ขั้นพื้นฐาน ตลาด ขั้นพื้นฐาน ความพร้อม อุดมศึกษาและ ความพร้อม อุดมศึกษาและ ด้านเทคโนโลยี การฝึกอบรม ด้านเทคโนโลยี การฝึกอบรม การพัฒนา ประสิทธิภาพ การพัฒนา ประสิทธิภาพ ตลาดการเงิน ด้านตลาดสินค้า ตลาดการเงิน ด้านตลาดสินค้า ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ ด้านตลาดแรงงาน ด้านตลาดแรงงาน ที่มา : สภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) ฐานข้อมูลความสามารถ ประเทศไทย ประเทศโครงสร้าง ประเทศรายได้ปาน อาเซียน ในการแข่งขันระดับโลก3 ที่มีความคล้ายคลึงกัน กลางระดับสูง จากการศึกษาของรายงานการวิเคราะห์การพัฒนาประเทศ (ข) การจัดการสนับสนุนให้ตรงเป้าหมายกลุม ่ ครัวเรือนจนสุดร้อยละ 40 อย่างเป็นระบบ (Systematic Country Diagnostic - SCD) เพิ่มมากขึ้น โดยการพัฒนาการศึกษาและทักษะของแรงงาน การด�ำเนิน ซึ่งประกอบด้วย การวิเคราะห์ การทบทวนวรรณกรรม และ การนโยบายทีม ี ระสิทธิภาพเพือ ่ ป ่ เพิม ่ ผลิตภาพในภาคเกษตรซึง ่ เป็นภาคที่ ความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็น น�ำ จ้างงานกลุม ่ ครัวเรือนจนสุดร้อยละ 40 ไว้เกือบครึง ี วาม ่ และการจัดให้มค ไปสู่การจัดล�ำดับ 10 ประการของ “ล�ำดับความส�ำคัญในการ พัฒนา” เพื่อให้ประเทศไทยบรรลุการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ ้ ครองทางสังคมทีฉ คุม ้ มุง ่ ลาดขึน ้ ครองแก่คนยากจน และ ่ เน้นการให้ความคุม แข็งแกร่ง ทั่วถึง และยั่งยืน โดยหนึ่งในนั้นเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหลายเรื่อง ในขณะที่อีก 9 (ค) การส่งเสริมการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและยั่งยืนยิ่งขึ้น ประเด็นที่เหลือ สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม “เส้นทาง” ตารางที่ 1 แสดง ซึ่ ง รวมถึ ง การจั ด การแหล่ ง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มที่ 4 ประเด็นที่ส�ำคัญสูงสุด เนื่องจากคาดว่าจะสามารถมีผลกระทบต่อการ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลมากขึ้ น การลดความเสี่ ย งจากภั ย ธรรมชาติ แ ละการ พัฒนากลุ่มประชากรจนสุดร้อยละ 40 ได้มากที่สุด การจัดล�ำดับความ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึงส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมี ส�ำคัญทัง ้ หมดมุง ่ เป้าไปทีป ่ ระเด็นท้าทายประเทศไทยมากทีส ่ ด ุ และท�ำให้เกิด ประสิทธิภาพ และพลังงานทดแทน โอกาสสูงสุด ในขณะเดียวกันก็ชว ่ งซึง ่ ยลดความเสีย ่ อาจเป็นอุปสรรคต่อ ความก้าวหน้าในอนาคตได้ ท้ายที่สุด ทั้ง 3 เส้นทางที่กล่าวข้างต้นนี้ควรต้องได้รับการ สนับสนุนจากประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหลายเรื่องได้แก่ ความ พยายามในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่องค์กรภาครัฐ เส้นทางทั้ง 3 มีรายละเอียด ดังนี้ : ในแต่ละเส้นทางนั้นก็มีล�ำดับความส�ำคัญของนโยบายและการ (ก) การสร้างงานทีด่ เี พิม ่ ขึน ้ ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน การเพิม ่ แทรกแซงในแต่ละเส้นทางน�ำเสนอไว้ ดังนี้ การแข่งขันอย่างเสรี และการเพิม ่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของบริษท ั 3 www.weforum.org/gcr เข้าเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2559 กลับสู่เส้นทาง: ฟื้นฟูการเติบโตและประกันความมั่งคั่งส�ำหรับทุกคน 8 ตารางที่ ล�ำดับความส�ำคัญในการพัฒนาเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุการเติบโตทางเศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง ทั่วถึง และยั่งยืน ที่ 1: ผลกระทบต่อคนจน เส้นทาง ล�ำดับความส�ำคัญในการพัฒนา และกลุ่มครัวเรือน จนสุดร้อยละ 40 ส่งเสริมการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน สูงมาก 10. เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่องค์กรภาครัฐเพี่อด�ำเนินการตามล�ำดับความส�ำคัญในการปฏิรูป (สูงมาก) สร้างงานที่ดี เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันผ่าน สูงมาก เพิ่มขึ้น ข้อตกลงการค้าเสรี และลดกฎระเบียบ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระดับบริษัท สูง โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม พัฒนาการศึกษาและทักษะของแรงงาน สูงมาก จัดการสนับสนุน ให้ตรงเป้า ด�ำเนินการนโยบายที่มีประสิทธิภาพ สูง กลุ่มครัวเรือน เพื่อเพิ่มผลิตภาพทางการเกษตร จนสุดร้อยละ 40 สร้างความคุ้มครองทางสังคมที่ฉลาดขึ้น สูง มุ่งเน้นการให้ความคุ้มครองแก่คนยากจน จัดการแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ สูง และสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการเติบโต ลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติและ ที่เป็นมิตร การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเน้น ปรับปรุงการใช้ที่ดิน และการบริหารเพื่อ ปานกลาง กับสิ่งแวดล้อม และยั่งยืนยิ่งขึ้น ลดปัญหาน�้ำท่วม-ภัยแล้งในพื้นที่เสี่ยง ส่งเสริมการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพและ สะอาดโดยเน้นการด�ำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ปานกลาง ตามแผนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและ การใช้พลังงานทดแทนที่ได้วางไว้ การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาประเทศอย่างเป็นระบบ 9 เส้นทาง 1 สร้างงานที่ดีเพิ่มขึ้น การมีโครงสร้างพื้นฐานที่ดีเพิ่มขึ้นเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อเป็นปัจจัยในการผลิตและเชื่อมต่อกับภาคการผลิต ประเทศไทยมีอุปสรรคในการเตรียมการและด�ำเนินโครงการลงทุนใน โครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ การพัฒนาประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชนในโครงสร้างพื้นฐานจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ รัฐบาล สามารถมุ่งเน้นที่แผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของรัฐเพื่อดึงดูดให้ ภาคเอกชนมาลงทุนร่วมกัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ่ แผนพัฒนาโครงสร้างพืน ที่ 11 และ 12 ระบุไว้วา ้ ฐานและการขนส่งของไทย ควรครอบคลุมประเด็น ดังต่อไปนี้ การส่งเสริมการพัฒนาการขนส่ง ต่อเนื่องหลายรูปแบบ การอ�ำนวยความสะดวกการค้าและการลงทุน ข้ามพรมแดน การเพิ่มประสิทธิภาพระบบด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง การพัฒนาระบบราง การปรับปรุงเครือข่ายขนส่งมวลชนสาธารณะ ให้ทนั สมัย และการน�ำเสนอการเทคโนโลยีการสือ ่ วดเร็วและบริการ ่ สารทีร รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ รัฐบาลตระหนักดีว่าการร่วมลงทุนระหว่างภาค รัฐและภาคเอกชนควรต้องมีบทบาทส�ำคัญในการผลักดันโครงสร้างพื้น ฐานมากยิ่งขึ้น จึงได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการให้ภาคเอกชน ร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 ซึ่งได้ปรับปรุงกฎระเบียบเพื่อ สนับสนุนการลงทุนผ่านความร่วมมือระหว่างภาครัฐบาลและเอกชน เครื่องยนต์เศรษฐกิจตัวใหม่และดีขึ้นเป็นที่ต้องการในการ แต่การด�ำเนินการก็เป็นไปอย่างช้าๆ นอกจากนี้ ยังมีการอนุมัติแผน ขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอนาคตและสร้างงานที่ดีเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์การให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2558-2562 ประเทศไทยต้องหาเครือ ่ งยนต์เศรษฐกิจตัวใหม่ในการขับเคลือ ่ นเศรษฐกิจ ในปีพ.ศ. 25584 โดยแผนการลงทุนใน 66 โครงการภายใต้ยุทธศาสตร์นี้ เหมือนเช่นที่เคยเกิดขึ้นในยุคเศรษฐกิจเฟื่องฟูช่วงปีพ.ศ. 2529-2539 คิดเป็นมูลค่า 1.41 ล้านล้านบาท ส่วนมากเป็นโครงการด้านคมนาคม โดย เครื่องยนต์เศรษฐกิจที่ย่ังยืนและสม�่ำเสมอสร้างโอกาสส�ำหรับคนเป็น มี 5 โครงการที่ได้รับการอนุมัติให้ด�ำเนินการโดยด่วน ล้านในการพัฒนาชีวิต ซึ่งจะท�ำให้ประเทศไทยกลับมาได้เปรียบด้าน ความสามารถในการแข่งขันอีกครั้ง ผ่านโครงสร้างพื้นฐานที่ดีกว่า การแข่งขันที่เพิ่มขึ้น และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของบริษัท การสร้างงานที่ใช้ทักษะต�่ำไม่ใช่ทางเลือกอีกต่อไป (หรือไม่ใช่ทางเลือก ที่ประเทศไทยต้องการอีกต่อไป) งานประเภทนี้จะเพิ่มขึ้นในประเทศ เช่น กัมพูชา เวียดนาม หรือเมียนมาร์ ตรงกันข้าม ประเทศไทยต้องยกระดับ ภาคอุตสาหกรรมและบริการโดยสร้างงานที่มีมูลค่าเพิ่มสูงซึ่งใช้ทักษะที่ สูงกว่า ทั้งนี้ เรื่องดังกล่าวเป็นสิ่งท้าทายและต้องใช้การลงทุนสูง ทั้งใน ด้านกายภาพและการลงทุนเพื่อพัฒนาบรรยากาศทางธุรกิจและสถาบัน 4 http://www.unescap.org/sites/default/files/PPP%20Thailand-sent.pdf กลับสู่เส้นทาง: ฟื้นฟูการเติบโตและประกันความมั่งคั่งส�ำหรับทุกคน 10 ่ ทีส นโยบายทีเ่ น้นการยกระดับการแข่งขันเป็นสิง ่ำ ่ ให้แน่ใจ � คัญเพือ การเรียนรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่มากขึ้นเพื่อเสริมสร้าง ว่าเศรษฐกิจจะเติบโตอย่างแข็งแกร่งและยัง่ ยืน ั เป็นกุญแจส�ำคัญเช่นกัน ความสามารถในการแข่งขันระดับบริษท ถึงแม้ว่าในภาพรวม ประเทศไทยจะมีระบบเศรษฐกิจแบบเปิด แต่ภาคย่อย โดยเฉพาะธุรกิจไทยสามารถใช้ประโยชน์จากการลงทุนโดยตรงจาก บางส่วนโดยเฉพาะภาคบริการนั้นได้รับการปกป้องจากการน�ำเข้าและ ต่างประเทศ (FDI) เพื่อช่วยยกระดับและเปลี่ยนแปลงได้มากกว่านี้ การ การแข่ ง ขั น ภายในประเทศ การบูรณาการการค้าขายที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น เสริมสร้างขีดความสามารถให้ธุรกิจไทยปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่ง ่ ส�ำคัญในการเพิม เป็นสิง ่ การแข่งขัน การสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม ส�ำคัญ ซึ่งรวมถึงการพัฒนาระบบนวัตกรรมแห่งชาติ เน้นการพัฒนา และเทคโนโลยี และการเปิดโอกาสใหม่ๆ เช่น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงงานมีฝม ีอ ื มากยิง ่ ขึน ้ และเพิม ั และสถาบันทีจ ่ การลงทุนในทุนวิจย ่ ะส่งเสริม (AEC) หรือข้อตกลงใหม่ๆ ในเอเชีย (เช่น EU-FTAs, TPP, RCEP และ เศรษฐกิจฐานความรูใ้ ห้ลก ้ ธุรกิจไทยต้องเสริมสร้างขีดความสามารถ ึ ซึง FTAAP) การเพิ่มการเข้าถึงเงินทุนจะช่วยเพิ่มการแข่งขันเช่นกัน หาก ในการสร้างมูลค่าเพิม ่ ในภาคธุรกิจเฉพาะ โดยใช้ประโยชน์จากความสามารถ บริษัทมีอุปสรรคเพียงเล็กน้อยในการขอเครดิตและเงินทุน และมีกลไกที่ ที่มีอยู่ การเคลื่อนไปตามห่วงโซ่มูลค่าหมายถึงการท�ำงานที่ซับซ้อนยิ่ง ดีในการแก้ปัญหาทางการเงิน บริษัทจะสามารถเพิ่มผลิตภาพและรักษา ขึ้น เช่น ออกแบบ ค้นคว้าและพัฒนา และการสร้างแบรนด์ ต้องย้ายจาก ระดับการลงทุนของภาคเอกชนได้อย่างยัง ่ ยืน การน�ำเสนอความเป็นกลาง ส่งออกชิน ้ ส่วนมูลค่าต�ำ่ ไปสูส ิ ค้าและบริการมูลค่าสูง และผูผ ่ น ้ ลิตท้ายสุด ในการแข่งขันของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทยก็เป็น ส�ำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทยซึ่งถือเป็นกลุ่มใหญ่ อีกประการที่ส�ำคัญ เพื่อสร้างสนามการค้าที่เป็นธรรม หลีกเลี่ยงการ ของธุรกิจไทย มีสว ่ นสนับสนุน GDP ของไทยลดลงอย่างต่อเนือ ่ งในช่วง เบียดบริษัทเอกชนออกจากธุรกิจ และพัฒนาประสิทธิภาพของวิสาหกิจ 12 ปีที่ผ่านมา จากร้อยละ 41.3 ในปีพ.ศ. 2545 เป็นร้อยละ 37.4 ในปี ขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ. 2556 นอกจากนี้ ช่องว่างของผลิตภาพระหว่างวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมกับธุรกิจขนาดใหญ่กเ็ พิม ้ จากการทีช ่ ขึน ่ งว่างผลิตภาพ ่อ ระหว่างธุรกิจขนาดเล็กกับธุรกิจขนาดใหญ่มค ี วามส�ำคัญมาก การพัฒนา ผลิ ต ภาพของธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก ต้ อ งใช้ ค วามพยามยามสู ง เป็ น พิ เ ศษ เนื่องจากอัตราการเลิกกิจการสูง (ร้อยละ 70 ปิดกิจการหลังจาก เริ่มธุรกิจการเพียงไม่กี่ปี) การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาประเทศอย่างเป็นระบบ 11 เส้นทาง 2 ให้การสนับสนุนกลุ่มครัวเรือน จนสุดร้อยละ 40 มากขึ้น ภูมิภาคที่พัฒนาช้าของประเทศไทยมีความเสี่ยงต่อการอยู่ ยกระดับการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่สุด ร่วมกันของสังคม และเสถียรภาพทางการเมือง เพื่อให้คนยากจน และกลุ่มครัวเรือนจนสุดร้อยละ 40 ได้รับ ความตึงเครียดทางการเมืองทีส ่ ะสมจากการท�ำรัฐประหารในปีพ.ศ. 2549 ผลประโยชน์จากการเติบโต และพัฒนาโอกาสการขยายตัวทาง และอีกครั้งในปีพ.ศ. 2557 สะท้อนถึงความแตกแยกในสังคมที่หยั่งลึก เศรษฐกิจของประเทศไทย ความแตกแยกสะท้อนถึงความแตกต่างในภูมิภาคที่เพิ่มขึ้น ภูมิภาคที่ ส�ำหรับทุกคน การมีทักษะที่จ�ำเป็นและความสามารถในการท�ำงานที่มี พัฒนาช้ายิ่งล้าหลังมากขึ้น ประชาชนในภูมิภาคเหล่านี้ได้เพิ่มขีดความ ผลิตผลสูงจะช่วยท�ำให้มีอนาคตที่ดีกว่า และส�ำหรับคนยากจน ทักษะ สามารถผ่านการศึกษา เพิ่มวิสัยทัศน์ผ่านการย้ายถิ่นของแรงงาน และ เหล่านี้จะช่วยให้พวกเขาออกจากวงจรความยากจนได้แรงงานที่ได้รับ การสนับสนุนจากองค์กรสังคมพลเมืองที่มีเครือข่ายและกระบอกเสียง การศึกษาที่ดีขึ้นและมีทักษะมีความส�ำคัญต่อโอกาสการขยายตัวทาง ที่เข้มแข็ง กลายเป็นพลังที่มีศักยภาพในประเทศไทยมากกว่าในอดีต เศรษฐกิจของไทย เนื่องจากการขยายตัวของไทยต้องอาศัยความ ประชาชนเหล่านี้สามารถรับรู้ได้ว่าภูมิภาคของพวกเขาถดถอยยิ่งขึ้น สามารถในการแข่งขันด้านการส่งออกสินค้าและบริการที่เน้นฝีมือ ซึ่ง และระบบบริหารของรัฐบาลที่มีกรุงเทพเป็นศูนย์กลาง ทั้งอ�ำนาจในการ ขึ้นอยู่กับการมีฐานทรัพยากรบุคคลที่แข็งแกร่งขึ้น จากการส�ำรวจ ตัดสินใจและการจัดสรรแหล่งเงินงบประมาณ หากยังไม่มค ี วามพยายาม ผู ้ ป ระกอบการล่ า สุ ด พบว่ าบริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต พิ จ ารณาการขาดแรงงาน และทรัพยากรไปสู่การลดช่องว่างระหว่างภูมิภาคในประเทศไทย ความ ที่มีฝีมือเป็นอุปสรรคส�ำคัญส�ำหรับการเติบโต และที่น่าเป็นห่วงคือ ตึงเครียดลึกๆ นีจ ้ ะยังคงอยูห ่ รือย�ำ ่ แย่ลง เป็นเชือ ้ ให้เกิดความไม่พอใจและ จากดัชนีความสามารถในการแข่งขันระดับโลกระบุว่า คุณภาพระบบ ความแตกแยกทางการเมือง การศึกษาของประเทศไทยลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศที่มี รายได้ปานกลางระดับสูงด้วยกัน (และกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน) จากผลการด�ำเนินการที่ย�่ำแย่ ระบบการศึกษาไทยควรต้องได้รับการ การสนับสนุนให้ตรงเป้าจะเป็นสิ่งจ�ำเป็นต่อการพัฒนาความ เอาใจใส่และปฏิรป ู ในทุกๆ ด้าน โดยมีการปฏิรป ู ในสามข้อทีค ่ วรด�ำเนินการ ่ องครัวเรือนจนสุดร้อยละ 40 และท�ำให้สังคมเหนียว เป็นอยูข อย่างเร่งด่วน ข้อแรก เพิ่มการลงทุนในช่วงเด็กปฐมวัย โดยพยายาม แน่น และมีเสถียรภาพมากขึ้น ก�ำจัดอุปสรรคและเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการพัฒนาเด็กปฐมวัย หลักฐานจากนานาประเทศแสดงให้เห็นว่าความไม่เท่าเทียมและความ ทีม่ ค ุ ภาพ ข้อสอง ระบุปญ ี ณ ั หาของประเทศไทยซึง ่ มีโรงเรียนขนาดเล็ก ตึ ง เครี ย ดทางสั ง คมสามารถน� ำ ไปสู ่ ค วามขั ด แย้ ง ทางการเมื อ งและ ที่มีเด็กนักเรียนประมาณ 1 ล้านคน (โดยมากยากจน) โดยเฉลี่ยแล้ว ความไม่สงบ ปัจจุบันการแบ่งแยกทางการเมืองและความตึงเครียด ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพต�่ำ ข้อสาม ปฏิรูปการศึกษาในวงกว้างและ อย่างรุนแรงในประเทศไทยมีสาเหตุมาจากความรู้สึกที่ว่าความมั่งคั่ง ยั่งยืน โดยจ�ำเป็นต้องมีมุมมองหลายมิติเพื่อพัฒนาผลลัพธ์ ได้แก่ เพิ่ม ทางเศรษฐกิจไม่ได้ถูกแบ่งปันกันอย่างทั่วถึง และ/หรือ ประชาชนทุกคน อิสระในการบริหารให้แก่โรงเรียน และเสริมสร้างความเข้มแข็งในการ ไม่ได้มีสิทธิเท่าเทียมกันในสังคม การสนับสนุนให้ตรงเป้าครัวเรือนจนสุด ใช้งานข้อมูลเพื่อให้ครูและโรงเรียนรับผิดชอบต่อผลการด�ำเนินงาน ร้อยละ 40 เช่น การศึกษาที่ดีขึ้น นโยบายด้านเกษตรที่ดีขึ้น และสร้าง ระบบคุม ้ ครองทางสังคมทีฉ ้ ซึง ่ ลาดขึน ่ เน้นให้ความปลอดภัยแก่คนยากจน จึงเป็นส่วนส�ำคัญทีม ี ลกระทบในวงกว้างต่อกลุม ่ผ ่ ครัวเรือนจนสุดร้อยละ 40 ทั้งนี้ ยังช่วยท�ำให้สังคมเหนียวแน่น และรักษาเสถียรภาพทางการ เมืองให้มากขึ้นด้วย กลับสู่เส้นทาง: ฟื้นฟูการเติบโตและประกันความมั่งคั่งส�ำหรับทุกคน 12 หลักส�ำคัญคือ การสร้างระบบความคุ้มครองทางสังคมที่ ชาญฉลาดซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคนยากไร้และ ่ ทีม กลุม ่ค ่ งสูง ในขณะทีย ี วามเสีย ่ง ่ ยืนทางการคลัง ั รักษาความยัง ประเทศไทยต่างจากประเทศทีม ่รี ายได้ปานกลางระดับสูงอีกหลายๆ ประเทศ เนื่องจากไทยยังไม่มีแผนงานโครงข่ายความคุ้มครองทางสังคมทั่วไป ให้แก่ผู้ยากไร้ 5 การพัฒนาแผนงานหลักด้านความปลอดภัยทางสังคม แห่งชาติสำ � หรับผูย ้ ากไร้ โดยผสมผสานบทเรียนจากประสบการณ์ในการ ออกแบบของต่างประเทศทัง ้ งจะเป็นหนทางอีกยาวไกลในการช่วยเหลือ ้ นีค กลุ่มเสี่ยง และช่วยลดความตึงเครียดทางสังคม แผนงานเหล่านี้อาศัย หลักการหลายประการได้แก่ ประการที่หนึ่ง จะต้องมีวิธีก�ำหนดกลุ่ม เป้าหมายเพื่อระบุว่าใครคือครัวเรือนยากไร้ (และเกือบยากไร้) โดยใช้ คุณลักษณะหลักทั้งที่เกี่ยวกับรายได้และไม่เกี่ยวกับรายได้ ประการที่สอง ข้อมูลที่จัดเก็บจากครัวเรือนสามารถน�ำมารวบรวมไว้ในระบบทะเบียน ่ ผลิตภาพแรงงานในภาคการเกษตรยังเป็นส่วนส�ำคัญ การเพิม ราษฎ์ ซึง ่ จะใช้เป็นฐานในการระบุผร ั ผลประโยชน์สำ ู้ บ � หรับผลประโยชน์จาก ่ รายได้ของกลุม ไม่เฉพาะแต่จากมุมมองการเพิม ่ ครัวเรือนจนสุด โครงข่ายความคุม ้ ครองทางสังคมและแผนงานตามเป้าหมายอืน ่ ๆ ประการ ร้อยละ 40 แต่รวมถึงมุมมองด้านการเติบโตด้วย เนือ ่ งจาก ทีส่ าม การออกแบบแผนงานโครงข่ายความคุม ้ ครองทางสังคมระดับชาติ ภาคการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 11 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ให้แก่ครัวเรือนทีย ่ ากไร้เป็นสิง ่ ส�ำคัญ รวมถึง “หนทางสูค ่ ่ วามส�ำเร็จ” เพือ ภายในประเทศ (GDP) ส่งเสริมการออกจากแผนงานและวิถีชีวิตที่ยั่งยืนเท่าที่จะสามารถเป็นไป การขยายตัวของภาคการเกษตรไม่เพียงแต่เพิ่ม GDP โดยตรง แต่จะ ได้ ท้ายทีส ่ ด ่ ให้มน ุ เพือ ั่ ใจว่าแผนงานโครงข่ายความคุม ้ ครองทางสังคมมี ช่วยให้มผ ่ ธุรกิจการเกษตรและอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารและ ี ลดีตอ ความยัง ่ ยืนทางการเงิน การทบทวนระบบป้องกันทางสังคมให้ครอบคลุม กระตุน้ การพัฒนาภูมภ ิ าคด้วย การเติบโตในภาคเกษตรสามารถลดความ ยิ่งเป็นสิ่งส�ำคัญ ได้แก่ การทบทวนช่องว่างของระบบบ�ำเหน็จบ�ำนาญใน ยากจนในชนบท ซึ่งส่วนใหญ่ได้มากกว่าภาคส่วนอื่นๆ หากมีการก�ำหนด ปัจจุบน ั เทียบแผนบ�ำเหน็จบ�ำนาญทางสังคมเพือ ่ พิจารณาว่าจะสร้างพืน ้ ที่ นโยบายและแผนงานทีเ่ หมาะสม การเติบโตทีส ู ขึน ่ ง ้ ในภาคเกษตรทีม ุ่ ช่วย ่ ง การคลัง ให้แก่แผนงานดังกล่าวได้อย่างไร คนจนนั้น ขึ้นอยู่กับการยกระดับนโยบายทางการเกษตร ได้แก่ (ก) การ พัฒนาตลาดเช่าที่ดินให้สามารถท�ำงานได้ดีขึ้น (ข) เพิ่มประสิทธิภาพและ ความยัง ่ ยืนในการลงทุนด้านชลประทาน และ (ค) เพิม ่ และปรับปรุงแผนงาน สนับสนุนทุนค้นคว้าวิจย ั และต่อยอดด้านการเกษตร และ (ง) เปลีย ่ นแผนงาน สนับสนุนรายประเภทสินค้า เช่น ข้าวและยาง เป็นนโยบายสนับสนุน การเกษตรและอาหารที่ครอบคลุมยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ต้องพยายามมุ่งเน้นพื้นที่ ยากจนในชนบทมากขึ้น โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ซึ่งต้องออกแบบแผนงานการเกษตรที่ดีขึ้น (รวมทั้ง การร่วมมือกับ ภาคประชาสังคมอย่างเข้มแข็ง) เพื่อยกฐานะเกษตรกรรายย่อยพ้นจาก ความยากจน 5 เช่น “ประเทศที่มีโครงสร้างคล้ายกัน” ทั้งหมด ที่ถูกเลือกมาเพื่อวัตถุประสงค์ในการเปรียบเทียบใน ้ ว รายงานฉบับนี้ ประเทศเหล่านีล ้ นมีระบบโครงข่ายความคุม้ ครองทางสังคมทัว ่ ง ่ ไปทีม ุ่ เป้าไปยังคนยากจน การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาประเทศอย่างเป็นระบบ 13 เส้นทาง 3 สร้างการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีความยืดหยุ่น พร้อมรับกับความเสี่ยงและภัยพิบัติมากขึ้น การเติบโตที่ยั่งยืนและความเป็นอยู่ของกลุ่มครัวเรือนจนสุด การลดความเสีย ัท ่ งจากภัยพิบต ่ นแปลง ิ างธรรมชาติและการเปลีย ร้อยละ 40 ขึ้นอยู่กับความสามารถของประเทศไทยในการ สภาพภูมิอากาศจะช่วยให้เศรษฐกิจสามารถขยายตัวได้อย่าง พัฒนาประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และสร้างการเจริญเติบโต ่ งและการกระจายความมัง ต่อเนือ ่ อย่างทัว ่ คัง ่ ถึง ่ แวดล้อมและมีความยืดหยุน ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง ่ พร้อมรับกับความ กรณีอท ุ กภัยปีพ.ศ. 2554 แสดงให้เห็นถึงความเสียหายจากภัยพิบต ั ทิ าง เสี่ยงและภัยพิบัติมากขึ้น ธรรมชาติที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยและกลุ่มครัวเรือน การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นแนวทางการเติบโตที่เชื่อมั่นว่า จนสุดร้อยละ 40 ได้อย่างชัดเจน เนื่องจากประเทศไทยเป็นที่ลุ่มต�ำ ่ กว่า เศรษฐกิจเติบโตได้โดยไม่ต้องพึ่งพาการใช้ทรัพยากรเกินความจ�ำเป็น ระดับน�ำ ้ ทะเลจึงคาดว่าจะประสบปัญหาน�ำ ่ บ่อยครัง ้ ท่วมชายฝัง ้ บริเวณ ้ ขึน ปล่อยก๊าซคาร์บอนในระดับต�่ำ และไม่เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบหลักประกอบด้วย ภาคกลางและกรุงเทพ นอกจากนี้ ยังส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง ่ แวดล้อมมุง ่ เน้น ขณะเดียวกัน คาดว่าจะเกิดภาวะแล้งที่อาจมีความรุนแรงมากขึ้นในเขต การสร้างสินค้า เทคโนโลยี การลงทุนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่ง เกษตรกรรมที่ส�ำคัญในแถบภูมิภาคลุ่มน�้ำโขงและการหนุนแทรกของ ผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการบริโภคและการผลิต รวมถึง น�้ำเค็ม ซึ่งล้วนเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ6 ล่าสุด การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนี้จ�ำเป็น ประเทศไทยได้ด�ำเนินการและมีความคืบหน้าไปมากในการก�ำหนดนโยบาย ่ ในการรักษาไว้ซง อย่างยิง ึ่ แหล่งทรัพยากรต่างๆทีจ ่ำ � เป็นเพือ ั เคลือ ่ ใช้ขบ ่ น ส�ำหรับการฟื้นฟูสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งก�ำลังอยู่ระหว่างการพัฒนา การขยายตัวทางเศรษฐกิจในอนาคต ขณะเดียวกันก็เป็นการปกป้อง แผนการปรับตัวระดับชาติ (National Adaptation Plan) การด�ำเนินการ ่ คัง ความมัง ่ ทางทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยเพือ ่ คนรุน ่ หลัง เช่น หลายด้านต่อไปนี้ในอนาคตเป็นสิ่งส�ำคัญ ข้อแรก ต้องมีการจัดเขตการ ประเทศไทยจะสามารถดึงดูดนักท่องเทีย ่ วเกือบ 30 ล้านคนต่อปี (คิดเป็น ใช้ที่ดินหรือโซนนิ่ง (Land Zoning) และการจัดการที่ดินที่ดีขึ้นเพื่อลด ร้อยละ 12 ของ GDP ต่อปี) ได้อย่างต่อเนื่องหรือไม่ย่อมขึ้นอยู่กับ พื้นที่ที่มีแนวโน้มเกิด น�้ำท่วม-ภัยแล้ง โดยเฉพาะการตัด ไม้ท�ำลายป่า ความสามารถในการอนุรักษ์ชายหาดและแนวปะการังที่สวยงามของ ในภาคเหนือทีเ่ พิม ่ งต่อน�ำ ่ ความเสีย ้ ท่วมฉับพลัน และเพิม่ การสะสมตะกอน ประเทศไว้นั่นเอง ในแม่นำ �้ ท�ำให้ประสิทธิภาพการกักเก็บและการระบายน�ำ ้ ลดลง การขาดการ วางแผนโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ (ถนน ทางระบายน�้ำท่วม ฯลฯ) และ ถ้ารัฐบาลสามารถด�ำเนินการปฎิบัติตามแผนงานหรือแนว การวางแผนพัฒนาเขตเมือง/เขตอุตสาหกรรมอย่างรอบคอบล้วนเพิ่ม นโยบายที่วางไว้ได้ส�ำเร็จจะช่วยให้ประเทศสามารถรักษาแหล่ง ความเสี่ยงในการเกิดน�้ำท่วมมากขึ้น ข้อสอง ส�ำหรับการลดการปล่อย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ส�ำคัญของประเทศไทย ก๊าซคาร์บอนซึง ่ เป็นอีกนโยบายด้านการเปลีย ่ นแปลงสภาพภูมอ ิ ากาศของ ไว้ได้ ภาครัฐนัน ้ นโยบายทีต ่ อบสนองอย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ การน�ำ ทรัพยากรป่าไม้และประมงยังคงลดลงอย่างต่อเนื่อง เหตุการณ์การ กลไกตลาดมาและเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ และการร่วมมือ ขาดแคลนน�ำ ้ ท่วมทีเ่ กิดขึน ้ และน�ำ ้ สลับไปมาท�ำให้เกิดความกังวลเพิม ่ มากขึน ้ อย่างใกล้ชด ิ กับภาคเอกชนล้วนเป็นสิง ่ ส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมายการลด และกลายเป็นความเสี่ยงส�ำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ในการจัดการ การปล่อยก๊าซคาร์บอนของประเทศ ปัญหาสิ่งแวดล้อม “สีน�้ำตาล” (มลพิษทางอากาศ มลพิษทางน�้ำ ของ เสีย) ต่างๆ ของประเทศนัน ้ ประเทศไทยมีแผนงานและกฎระเบียบทีด ่ อี ยูแ่ ล้ว อย่างไรก็ดี การผลักดันแผนงานไปสูก ่ ารปฏิบตั เิ ป็นหัวใจส�ำคัญทีส ่ ดุ เพือ่ ให้แผนและนโยบายน�ำไปสู่ผลลัพธ์อย่างแท้จริง รวมถึงการเพิ่มแนวทาง การบริหารเชิงรุก โดยเฉพาะการบริหารความเสีย ่ งภาวะน�ำ ้ ท่วมและน�ำ ้ แล้ง ของประเทศทีม ี ระสิทธิผลมากขึน ่ ป ้ หากเน้นแนวทางไปสูก ่ ารบริหารเชิงรุก มากขึ้น นอกจากนี้ การท�ำความเข้าใจและการบรรเทาผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่อาจเกิดจากโครงการลงทุนสาธารณะขนาด ใหญ่นั้นควรได้รับความส�ำคัญมากขึ้นเพื่อลดกระแสต่อต้านการด�ำเนิน โครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ และสร้างความมั่นใจให้กับ สาธารณชน และประชาชนเพื่อโครงการจะสามารถด�ำเนินงานต่อไปได้จน ส�ำเร็จและยั่งยืน 6 ส�ำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาดูรายงานการประเมินครั้งที่ห้า คณะท�ำงานระหว่างรัฐเกี่ยวกับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ดูที่ http://www.ipcc.ch/report/ar5/wg2/) กลับสู่เส้นทาง: ฟื้นฟูการเติบโตและประกันความมั่งคั่งส�ำหรับทุกคน 14 ความพยายามอย่างเป็นรูปธรรมสามารถเร่งการเปลีย ่ นแปลงไปสู่ ่ป การใช้พลังงานทีม ่ ขึน ี ระสิทธิภาพและสะอาดได้เร็วยิง ้ ประการที่หนึ่ง นโยบายและมาตรการด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ พลังงานทีพ ่ ง ุ่ เป้าไปทีภ ่ าคส่วนทีใ่ ช้พลังงานมากทีส ่ด ุ 2 ภาค อันได้แก่ ภาค อุตสาหกรรม และภาคขนส่ง จะเป็นส่วนส�ำคัญอย่างมากที่ท�ำให้รัฐบาล บรรลุเป้าหมาย โดยในภาคขนส่ง มาตรการหลักทีม ่ศ ีกั ยภาพในการลดการใช้ พลังงานสูง คือ การเพิม ่ การประหยัดเชือ ้ เพลิงส�ำหรับยานพาหนะ และขยาย การลงทุนในโครงสร้างพืน ้ ฐานเพือ ่ ส่งเสริมการขนส่งทางรางให้มากขึน ้ ในภาคส่วนอืน ่ ๆ มาตรการทีม ีก ่ศ ั ยภาพ ได้แก่ การใช้กฎระเบียบทีเ่ ข้มงวดขึน ้ ด้านการใช้พลังงานส�ำหรับโรงงานและอาคารขนาดใหญ่ การส่งเสริมให้ ภาคอุตสาหกรรมสามารถใช้เทคโนโลยีทท ี่ ำ � ให้เกิดภาวะโลกร้อนน้อยลงและ ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพยิง ่ ขึน้ การยกระดับมาตรฐานและการบังคับ ใช้ประสิทธิภาพการใช้พลังงานส�ำหรับอาคารและเครือ ่ งใช้ไฟฟ้า และการใช้ มาตรการบริหารจัดการฝั่งอุปสงค์ (demand side management) ให้มากขึ้น นอกจากนี้ การใช้มาตรการและนวัตกรรมใหม่ๆ เช่น มาตรฐาน แหล่งพลังงานที่มีประสิทธิภาพในกลุ่มโรงไฟฟ้า (Energy efficiencty resource standards) ระบบการจูงใจแบบมุง ่ เน้นผลงานในการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ (performance-based EE incentives) จะช่วยส่งเสริม ให้เกิดการลงทุนใหม่ๆและการน�ำเทคโนโลยีทท ี่ นั สมัยและมีประสิทธิภาพสูง การสร้างการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นจะต้อง ้ มาใช้ ประการทีส ขึน ่ อง การจะส่งเสริมให้เกิดการประหยัดพลังงานได้นน ั้ พัฒนาประสิทธิภาพการใช้พลังงานและพึ่งพาแหล่งพลังงาน รัฐบาลต้องหลีกเลีย ่ งการบิดเบือนราคาพลังงานโดยคงนโยบายราคา หรือ ที่สะอาดขึ้น นโยบายการอุดหนุนทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบน ั ทัง ้ นี้ การอุดหนุนสินค้าปิโตรเลียม พลังขับเคลื่อนที่ดีที่สุดส�ำหรับการพัฒนาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมคือ ส่วนใหญ่ถก ู ยกเลิกตัง ้ แต่มน ี าคม พ.ศ. 2559 ภาษีสรรพสามิตส�ำหรับสินค้า การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาทีผ ่ นมาของประเทศไทย ่ า ปิโตรเลียมส่วนใหญ่ถูกยกเลิก การอุดหนุนค่าไฟฟ้าถูกจ�ำกัดให้เฉพาะ เป็นการพัฒนาแบบทีใ่ ช้พลังงานอย่างเข้มข้น และมีการคาดการณ์วา ่ ความ กลุ่มลูกค้าที่ใช้ไฟฟ้าเพื่อการบริโภคขั้นพื้นฐานในครัวเรือน ซึ่งมาตรการ ต้องการพลังงานจะยังสูงอย่างต่อเนื่องในอนาคต เนื่องจากพลังงาน ลดการอุดหนุนเหล่านี้นับเป็นสัญญาณที่ดีที่จะส่งเสริมให้ระบบเศรษฐกิจ มีจ�ำกัด การพัฒนาระบบเศรษฐกิจที่ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพจึง ปรับตัวไปสูก ่ ารใช้พลังงานทีม ี ระสิทธิภาพมากขึน ่ป ้ ได้ ประการทีส ่ าม จาก เป็นเรื่องส�ำคัญอย่างมาก มีการคาดการณ์ว่าเมื่อปี พ.ศ. 2555 ร้อยละ การทีป ่ ระเทศไทยต้องพึง ่ พาการน�ำเข้าไฟฟ้ามากขึน ้ ประเทศไทยอาจเป็นผูน ้ำ � 73 ของการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของประเทศไทยมาจากภาค ในการสร้างมาตรฐานของระบบสายส่งไฟฟ้าในภูมภ ิ าค (power grid code พลังงาน ในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยให้ค�ำปฏิญาณว่าจะลดการปล่อย harmonization) และริเริม ่ การออกแบบกฎระเบียบเพือ ่ อ�ำนวยความสะดวก ก๊าซคาร์บอนลงร้อยละ 20-25 จากระดับในปีพ.ศ. 25487 ในขณะที่แผน ในการค้าไฟฟ้าเพือ ่ การพาณิชย์ในกลุม ่ อนุภม ูภ ิ าคลุม ่ แม่นำ�้ โขงและอาเซียน พัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ (Power Development Plan - PDP) ทัง้ ในรูปแบบทวิภาคีและพหุภาคี เช่นเดียวกันกับก๊าซธรรมชาติ หน่วยงาน ส�ำหรับปีพ.ศ. 2558–2579 ตัง ่ พลังงานทดแทนเป็นร้อยละ 20 ้ เป้าว่าจะเพิม ด้านพลังงานของไทยสามารถมีบทบาทในการเพิม ่ ประสิทธิภาพและความ ของการผลิตไฟฟ้าทัง ้ หมด แต่อย่างไรก็ตาม PDP เสนอให้สร้างโรงไฟฟ้า ร่วมมือในการจัดหาก๊าซธรรมชาติระหว่างประเทศทีค ่า้ ขายก๊าซกันในปัจจุบน ั พลังถ่านหินขนาด 7,390 เมกาวัตต์ และโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาด 2,000 เช่น จีน มาเลเซีย เมียนมาร์ สิงคโปร์ และไทย นอกจากนี้ ประเทศไทย เมกาวัตต์ ซึง่ ก่อให้เกิดความกังวลเรือ ่ งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและ ยังสามารถช่วยประเทศทีม ี ระสบการณ์นอ ่ป ้ ยกว่าไทยในการพัฒนาโครงการ สังคมเป็นอย่างมาก โครงสร้างพืน ้ ฐานด้านพลังงาน โดยเฉพาะการยกระดับมาตรฐานด้านสังคม และสิง ่ แวดล้อมของการสร้างและบริหารโรงไฟฟ้า 7 ประเทศไทยให้ค�ำมั่นสัญญาในการประชุม Conference of the Parties ครั้งที่ 21 (COP 21) ของคณะ ที่ประชุมขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change - UNFCC) การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาประเทศอย่างเป็นระบบ 15 ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหลายเรื่อง: การเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่องค์กร ภาครัฐเพี่อด�ำเนินการตามล�ำดับความ ส�ำคัญในการปฏิรูป ท้ายที่สุด การด�ำเนินการตามเส้นทางที่กล่าวถึงข้างต้นจ�ำเป็น ต้องมีองค์กรภาครัฐที่เข้มแข็งเพื่อด�ำเนินการปฏิรูป ่ ใจว่ามีองค์กรภาครัฐ (และบุคลากร) เพือ ประเทศไทยจะต้องมัน ่ ช่วยสร้าง สภาพแวดล้อมให้มีการสร้างงานที่ดีเพิ่มขึ้น โดยองค์กรภาครัฐต้อง แข็งแกร่งและสามารถน�ำเสนอแผนงานใหม่ๆ เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้น ฐานของประเทศไทย จัดการสนับสนุนให้ตรงเป้ากลุ่มครัวเรือนจนสุด ร้อยละ 40 และด�ำเนินนโยบายและแผนงานเพื่อการเติบโตเป็นมิตรกับสิ่ง แวดล้อม ่ โครงการทีน รัฐบาลไทยได้รเิ ริม ่ จับตามองเพือ ่า ้ ฟูการขยาย ่ ฟืน ตัวทางเศรษฐกิจ ผลกระทบจากการริเริ่มโครงการเหล่านี้ขึ้น อยู่กับความส�ำเร็จในการด�ำเนินการ ้ งมีความตัง การด�ำเนินการจะส�ำเร็จได้ไม่เพียงแต่ตอ ้ ้ ใจทางการเมืองเท่านัน แต่ยังต้องมีการพัฒนาศักยภาพขององค์กรภาครัฐในการวางแผน การลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานและการด�ำเนินงานตามแผนดังกล่าวให้ ส�ำเร็จตามระยะเวลาที่ก�ำหนด เช่น รัฐบาลอาจพิจารณาปรับปรุงระบบ บริหารการลงทุนภาครัฐ (Public Investment Management - PIM) ใหม่ ทั้งหมด นอกจากนี้ การเสริมสร้างระบบการจัดซื้อจัดจ้างให้แข็งแกร่งจะ ช่วยให้สามารถด�ำเนินโครงการของรัฐอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดงบ ประมาณ การทบทวนระบบจัดซื้อจัดจ้างและน�ำนวัตกรรม เช่น สัญญา การจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey contracting) มาใช้จะเป็นประโยชน์ การทีป่ ระเทศไทยจะกลับสูเ่ ส้นทางการเติบโตได้ตอ ้ งผ่านความ กับโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ที่สามารถฟื้นฟูการ ท้าทายด้านการบริหารจัดการ (ภาครัฐ) ทีท � ให้นโยบายและการ ่ ำ เติบโตทางเศรษฐกิจทีไ่ ด้วางแผนไว้แล้ว นอกจากนี้ การจัดการสนับสนุน ด�ำเนินการชะงักงันในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ให้ตรงเป้ากลุม ่ ครัวเรือนจนสุดร้อยละ 40 และการด�ำเนินนโยบายและแผน ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองในประเทศไทยมีรากฐานมาจากช่อง งานด้านสิ่งแวดล้อมให้ประสบความส�ำเร็จนั้น ต้องการการน�ำเสนอแผน ว่างทีก ้ ในสังคมไทย โดยประชาชนบางกลุม ่ ว้างขึน ้ ปกครอง ่ เข้าใจว่าชนชัน งานใหม่ๆ ที่มีศักยภาพของภาครัฐ ได้รบั ผลประโยชน์จากการฉ้อราษฎร์บง ุ ธ ั หลวง ระบบตุลาการทีไ่ ม่ยต ิ รรม ซึ่งเข้าข้างคนรวย และกฎระเบียบของรัฐ (และสัมปทาน) ที่ปกป้องอ�ำนาจ ผลประโยชน์ ท�ำให้บั่นทอนการเติบโตและการสร้างงาน ความขัดแย้งได้ ขัดขวางการตัดสินใจ ปิดกั้นการด�ำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพในการ ลงทุนของรัฐ และกีดขวางความพยายามที่จะท�ำให้ภาคส่วนเศรษฐกิจที่ ส�ำคัญด�ำเนินการได้อย่างเป็นอิสระ โดยเฉพาะภาคบริการ กลับสู่เส้นทาง: ฟื้นฟูการเติบโตและประกันความมั่งคั่งส�ำหรับทุกคน 16 โอกาสในการกลับสู่เส้นทาง การริเริ่มเหล่านี้เป็นสัญญาณที่มีความหวังว่าประเทศไทยจะ ค่อยๆ กลับสู่เส้นทางการเติบโต แต่ผลกระทบนั้นขึ้นอยู่กับ คุณภาพของน�ำไปปฏิบัติ ประเทศไทยอยูใ่ นต�ำแหน่งทีด ้ ฟูการเติบโตและมัน ่ ใี นการฟืน ่ ใจได้ ่ นโยบายทีด การริเริม ่ ส�ำคัญขัน ่ เี ป็นสิง ่ นแปลงเศรษฐกิจของ ้ แรก แต่เปลีย ว่าจะกระจายความมั่งคั่งได้อย่างทั่วถึง ประเทศไทยจะส�ำเร็จได้ขึ้นอยู่กับการน�ำนโยบายเหล่านี้ไปสู่การปฏิบัติ ซึ่ง ประเทศไทยอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่รอบล้อมไปด้วยประเทศที่เศรษฐกิจ เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ว่าประเทศไทยจะสามารถคว้าโอกาสในการฟื้นฟู ก�ำลังขยายตัวอย่างรวดเร็ว และมีแรงงานมากเพียงพอ ประชาคม การขยายตัวทางเศรษฐกิจและประกันการกระจายความมั่งคั่งส�ำหรับ เศรษฐกิจอาเซียน (เริ่มวันที่ 1 ม.ค. พ.ศ. 2559) ท�ำให้การค้าขายและ ทุกคนได้หรือไม่ ความเชื่อมโยงอื่นๆ แข็งแกร่งขึ้น จากการที่ประเทศไทยมีเศรษฐกิจ ใหญ่เป็นอันดับ 2 ในอาเซียน (รองจากอินโดนีเซีย) ประเทศไทยมีจุด เริ่มต้นที่ได้เปรียบในแง่ของภาคธุรกิจที่ฉับไว ภาคราชการที่แข็งแกร่งมา ตั้งแต่ในอดีต และกลุ่มคนหนุ่มสาวอายุระหว่าง 20-40 ปี ที่มีการศึกษา ระดับอุดมศึกษาจ�ำนวนมาก ผลการวิเคราะห์พบว่าประเทศไทยมีศก ั ยภาพ ในการเพิ่มผลผลิตในอนาคตสูง ความแตกต่างของผลิตภาพแรงงาน ข้ามภาคส่วนและภายในภาคการผลิตและภาคบริการ (คลูเอฟ, 2015 และ รูปภาพที่ 2 ) สูงกว่าอีกหลายประเทศในภูมภ ิ าคมาก ซึง ่ แสดงถึงศักยภาพ ในการเพิ่มผลผลิตโดยรวม เช่นเดียวกันกับความแตกต่างของระดับ ผลผลิตภายในภาคการผลิตและภายในภาคบริการ (คลูเอฟ, 2015; ดีรา- อัมพล, 2014) แสดงถึงขีดความสามารถทีย ั เพิม ่ง ้ ได้อก ่ ขึน ่ ี มากในการเพิม ผลผลิต โดยการจัดสรรปันส่วนทุนและแรงงานภายในภาคส่วนใหม่ การริเริ่มนโยบายใหม่หลายโครงการส่งประกายความหวัง ได้แก่ การมุ่งเน้น 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายซึ่งเป็น “กลไกขับเคลื่อน เศรษฐกิจเพื่ออนาคต” (หรือเรียกว่า “อุตสาหกรรม S-curve”) การ สร้างระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor) และ การผลักดันการสร้างระบบการช�ำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-payment) นอกจากนี้ ประเทศไทยได้เริม่ โครงการเงินอุดหนุนเพือ ้ งดูเด็กแรก ่ การเลีย ่ ปี พ.ศ. 2558 การผลักดันให้มก เกิดแก่ครัวเรือนยากจนเมือ ี ารน�ำธุรกิจ SMEs เข้าสูร ้ โดยมีขอ ่ ะบบเศรษฐกิจมากขึน ่ง ้ เสนอทีจ ู ใจในการน�ำไปสูร ่ ะบบ บัญชีชดุ เดียว นอกจากนี้ รัฐบาลได้ถา ่ ยโอนความรับผิดชอบในการก�ำกับ ดูแลและวางระเบียบสถาบันการเงินของรัฐให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย สุดท้าย การลงทุนในโครงสร้างพืน ้ ฐานขนาดใหญ่ ซึง ่ หลายโครงการเป็น แผนการลงทุนที่มีมาตั้งแต่ช่วงต้นปี พ.ศ. 2543 ในที่สุดก็ได้เริ่มลงมือ การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาประเทศอย่างเป็นระบบ 17 รูปภาพ ความแตกต่างระหว่างผลิตภาพของภาคเกษตรและ รูปภาพ ผลิตภาพแรงงานไทยเทียบเคียงได้กบ ่ ประเทศอาเซียน-5 ั กลุม ที่ 2 นอกภาคเกษตรในประเทศไทยสูงกว่าประเทศอื่นๆ ที่ 3 แต่อยูใ่ นระดับเพียงครึง ่ ของมาเลเซียและตุรกี (พันเหรียญ ่ หนึง ดอลลาร์สหรัฐ/แรงงาน) ส่วนผลิตภาพแรงงานภาคแรงงานอุตสาหกรรมและบริการ สิงคโปร์ ฮ่องกง อัตราส่วนผลิตภาพแรงงานภาคเกษตรต่อ ใต้หวัน ออสเตเรีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ตุรกี มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย อาเซียน-5 จีน ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม มาเลเซีย อินเดีย อินเดีย ไทย 1/ ไทย 2/ ตุรกี ลาว เวียดนาม พม่า ภาคอุตสาหกรรมเทียบกับภาคเกษตร กัมพูชา ภาคบริการเทียบกับภาคเกษตร พันเหรียญสหรัฐภายใต้เงื่อนไข PPP (ปี 2556) หมายเหตุ : GDP ณ ราคาพื้นฐานคงที่ต่อแรงงาน โดยใช้ PPP ปี พ.ศ. 2554, อ้างอิงปีพ.ศ. 2556 หมายเหตุ : GDP ณ ราคาพื้นฐานคงที่ต่อแรงงาน โดยใช้ PPP 1/ ค�ำนวณโดยใช้จ�ำนวนแรงงานรวม ปี พ.ศ.2554, อ้างอิงปีพ.ศ. 2556 2/ ค�ำนวณโดยใช้วิธีค�ำนวณเทียบเท่าแรงงานท�ำงานเต็มเวลา ที่มา : ฐานข้อมูลผลิตภาพ APO พ.ศ. 2558 ของธนาคารโลก ที่มา : ฐานข้อมูลผลิตภาพ APO พ.ศ. 2558 และการส�ำรวจ ก�ำลังแรงงาน (เพื่อการค�ำนวณ “ประเทศไทย 2/”) กลับสู่เส้นทาง: ฟื้นฟูการเติบโตและประกันความมั่งคั่งส�ำหรับทุกคน 18 ประเทศไทยในฝันของเด็กๆ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) จัดการประกวดวาดภาพนักเรียนระดับประถมศึกษาทั่วประเทศเพื่อเป็น ส่วนหนึ่งของการระดมความเห็นส�ำหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 โดยให้นักเรียนวาดภาพภายใต้หัวข้อ “ประเทศไทยในฝัน” ประเด็นที่เด็กๆ วาดเหมือนกันในหลายภาพ ได้แก่ ความหวังให้ประเทศไทยมีความสามัคคีและสันติ แม้จะมีหลายเชื้อชาติ วัฒนธรรม และศาสนา การดูแล รักษาสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น และการให้เด็กได้รับการศึกษาเพื่ออนาคตที่สดใส ด้านล่างนี้เป็นสองภาพในหลายๆ ภาพที่ได้รับรางวัล และค�ำบรรยายจาก เจ้าของภาพ ด.ญ. รักพลอย มามุย อายุ 10 ปี ชั้น ป. 4 ด.ญ. จุฑามณี ค�ำด�ำ อายุ 12 ปี ชั้น ป. 6 “เด็กๆ ต่างก็อา่ นหนังสือ เข้าห้องสมุด ซึง ้ องนักเรียน ่ เป็นแหล่งเรียนรูข “วิถช ีว ีติ ทีเ่ ป็นอยูอ ั ดีงามของไทย มีความผูกพันกับธรรมชาติ ประเพณี ่ น ้ ะเป็นผูส นักเรียนเหล่านีจ ้ ร้างความฝันให้แก่ประเทศชาติในอนาคต” วัฒนธรรมทีง ่ ดงามมาอย่างยาวนาน และมัน ่ คง ทีส่ำ� คัญเรามีความหลาก หลายทางเชือ ้ ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม แต่ทก ี วามรัก ความสามัคคี ุ คนก็มค ต่อกันเป็นอย่างดี สิ่งเหล่านี้จึงกลายเป็นการร่วมมือกันของคนในชาติที่ จะร่วมกันพัฒนาชาติไทยของเราที่ทันสมัย ก้าวทันนานาประเทศที่เจริญ ่ เรืองกันอย่างไม่ดอ รุง ่ ๆ ต่อไป” ้ ยไปกว่าประเทศอืน ที่มา : สศช. รูปภาพนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสศช. และได้รับอนุญาตจากสศช. ก่อนการตีพิมพ์ซ�้ำ การวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาประเทศอย่างเป็นระบบ 19 World Bank Thailand 30th Floor, Siam Piwat Tower 989 Rama I Road, Pathumwan Bangkok 10330 Tel: +662 686-8300 Email: thailand@worldbank.org www.worldbank.org/thailand facebook.com/worldbankthailand