รายงานการวิ เ คราะห์ ภ าคเอกชน สร้างตลาดเพื่อธุรกิจไทย พลิกฟื้นผลิตภาพด้วยเครื่องยนต์ใหม่ให้เศรษฐกิจเติบโต และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง กุมภาพันธ์ 2565 บทสรุปผู้บริหาร บทสรุปผู้บริหาร บันทึกในรายงานหลายฉบับระบุว่าแม้การเติบโตของเศรษฐกิจไทยหลังจากเกิดเหตุการณ์วิกฤตการเงิน โลกในปี 2551 จะแข็งแกร่ง แต่การที่ประเทศไทยยังคงสถานะประเทศรายได้ปานกลางไว้มาจนถึงทุก วันนี้สะท้อนให้เห็นว่าประเทศกำ�ลังติดอยู่ในกับดัก รายได้ปานกลาง ในช่วงที่ผ่านมาจึงมีบทวิเคราะห์ ที่นำ�เสนอรายละเอียดแนวทางเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายสู่การเป็นประเทศที่มีรายได้สูงมากมาย เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการเติบโตนี้ กลุ่มธนาคารโลกจึงได้จัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนของ ประเทศไทย (Thailand’s Country Private Sector Diagnostic: CPSD) ฉบับนี้ขึ้นเพื่อชี้แนะแนวทางให้ ภาคเอกชนมีส่วนขับเคลื่อนวิสัยทัศน์แห่งการเติบโตนี้ ซึ่งคาดว่าจะยิ่งทวีความสำ�คัญขึ้นหากพิจารณา ผลกระทบที่โรคโควิด 19 มีต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน รายงานการวิเคราะห์ของธนาคารโลกฉบับนี้ชี้ให้เห็นว่าการแก้ไขข้อจำ�กัดด้านการลงทุนที่มีอยู่ในปัจจุบัน และการนำ�นวัตกรรมและความรู้ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจเป็นมาตรการสำ�คัญ และเร่งด่วนที่จะช่วยยกระดับเศรษฐกิจไทยไปสู่การเป็นประเทศที่มีรายได้สูง หนึ่งในกลไกขับเคลื่อนคือการ สร้างงานคุณภาพสูงโดยดึงแรงงานเข้าสู่ภาคการผลิตที่มีผลิตภาพสูงและเพิ่มโอกาสจ้างแรงงานหญิงโดย นำ�เทคโนโลยีมาใช้ นอกจากนี้ รายงานฯ ยังชี้ให้เห็นถึงโอกาสที่ภาคเอกชนจะเข้าไปลงทุนเพื่อสร้างนวัตกรรม ในตลาดและส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืน และยังชี้ให้เห็นข้อจำ�กัดที่อาจขัดขวางการใช้โอกาสเหล่านั้น ทั้งนี้ รายงานฯ ยังเน้นย้ำ�ถึงข้อเสนอแนะสำ�คัญที่จะช่วยแก้ไขข้อจำ�กัดตามช่วงเวลาต่างๆ ในแผนการ ปฏิรูปนี้ด้วย ปัจจัยที่เคยส่งผลให้เศรษฐกิจไทยเติบโตสูงอย่างต่อเนื่องในหลายทศวรรษที่ผ่านมาอาจไม่ให้ผ ลอย่ า ง เดียวกันในปัจจุบัน และหากประเทศไทยไม่เร่งเปลี่ยนกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจก็อาจก้าวไปเป็นประเทศ ที่มีรายได้สูงภายในปี 2580 ตามที่ตั้งเป้าไว้ไม่ได้ หลายสิบปีที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยพึ่งพาภาคส่งออกเป็น หลัก แต่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยวิธีดังกล่าวในปีที่ผ่านมาชะลอตัวอย่างมีนัยสำ�คัญเนื่องจากภาคการผลิต หดตัว ค่าเฉลี่ยของประสิทธิภาพการผลิตรวม (Total Factor Productivity หรือ TFP) ซึ่งเคยขยายตัว สูงสุดที่ร้อยละ 3.6 ต่อปีในช่วงต้นทศวรรษ 2000 กลับลดลงเหลือเพียงร้อยละ 1.3 ในช่วงปี 2552-2560 นอกจากนี้ การลงทุนของภาคเอกชนก็ปรับตัวลดลง สัดส่วนการลงทุนภาคเอกชนต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ประเทศ (GDP) จากเดิมที่เคยมีสัดส่วนร้อยละ 40 ในปี 2540 กลับเหลือเพียงร้อยละ 16.9 ในปี 2562 ขณะเดียวกัน กระแสการลงทุนจากต่างชาติ (FDI) และการมีส่วนร่วมในห่วงโซ่คุณค่าระดับโลก (Global Value Chain หรือ GVC) ก็อยู่ในภาวะชะงักงันเช่นกัน นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างทำ�ให้ การจัดสรรทรัพยากรจากภาคเกษตรไปสู่ภาคอุตสาหกรรมทำ�ได้ไม่ดีเมื่อเทียบกับอดีต ภาคการผลิตซึ่ง เป็นฐานเชื่อมโยงอุตสาหกรรมต่างๆ ก็ยังต้องพึ่งพาทรัพยากรจากต่างประเทศและเผชิญกับการแข่งขัน จากประเทศเพื่อนบ้านที่เพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่การท่องเที่ยวซึ่งเป็นปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจหลักในภาค บริการของไทยกลับมีส่วนร่วมในห่วงโซ่มูลค่าระดับสากลน้อยกว่าและมีกิจกรรมที่ไม่ค่อยหลากหลายนัก เมื่อเทียบกับสาขาบริการอื่นๆ นอกจากนี้ ภัยธรรมชาติที่เพิ่มขึ้นยังเป็นอุปสรรคต่อการเติบโตอย่างยั่งยืน ยิ่ง ไปกว่านั้น การเติบโตทางเศรษฐกิจยังทำ�ให้ต้นทุนสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น เห็นได้จากปริมาณก๊าซเรือนกระจก (Green House Gas หรือ GHG) ซึ่งเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับความเหลื่อมล้ำ�ระหว่างภูมิภาคและ กิจการต่างๆ นอกจากนี้ การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยและเพิม ่ ความท้าทายเชิงโครงสร้าง ้ อย่างมาก ผู้เชี่ยวชาญต่างประเมินว่าเศรษฐกิจไทยหดตัวลงร้อยละ 6.1 ในปี 2563 ซึ่งสูงกว่าช่วงวิกฤต ขึน การเงินโลกในปี 2551 (ซึ่งหดตัวร้อยละ 0.3) และสูงเป็นอันดับสองรองจากช่วงวิกฤตต้มยำ�กุ้งในปี 2540 ซึ่งเศรษฐกิจหดตัวร้อยละ 7.2 ถือเป็นการหดตัวทางเศรษฐกิจที่รุนแรงที่สุดในรอบ 25 ปีที่ผ่านมา การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทำ�ให้ประเทศสูญเสียผลิตผลทางเศรษฐกิจและส่งผลต่อการจ้างงานในหลาย ภาคส่วน ช่องว่างระหว่างคนจนและคนรวยกลับกว้างขึ้น การที่บริษัทและผู้ประกอบการดำ�เนินธุรกิจได้ ไม่คล่องตัวเช่นเดิมส่งผลให้เกิดปัญหาในการชำ�ระหนี้ โดยเฉพาะกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ซึ่งได้รับผลกระทบรุนแรงกว่าวิสาหกิจกลุ่มอื่นๆ นอกจากนี้ ข้อมูลล่าสุดยังชี้ให้เห็นว่าเศรษฐกิจใน i รายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนไทย ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก (East Asia and Pacific หรือ EAP) อาจฟื้นตัวจากสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ได้ไม่เท่ากัน และมาตรการปิดประเทศเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดมีแนวโน้ม ที่จะทำ�ให้ความไม่เท่าเทียมในสังคมรุนแรงขึ้นเนื่องจากความช่วยเหลือด้านสวัสดิการทางสังคมและความ รู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในปัจจุบันยังกระจายไม่ทั่วถึง เพือ่ ก้าวไปข้างหน้า ประเทศไทยจะต้องแปลงวิกฤตจากการแพร่ระบาดของโควิด 19 ให้เป็นโอกาส และเพือ ่ ให้ บรรลุเป้าหมายการเติบโตที่ตั้งไว้ กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่จะต้องอาศัยทั้งนวัตกรรมและความรู้ สมัยใหม่โดยยึดหลักความพร้อมปรับตัวเพือ ่ ยืน (resilience) เป็นสำ�คัญ ประเทศไทยควรใช้โอกาส ่ ความยัง ที่เกิดขึ้นจากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญ 4 ประการให้เป็นประโยชน์ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลก็ต้อง ดำ�เนินการอย่างรวดเร็วและปฏิรูปให้เด็ดขาดด้วย เพื่อรับมือกับความท้าทายระยะสั้นและระยะกลาง ประเทศไทยต้องส่งเสริมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วย นวัตกรรมเพื่อช่วยยกสถานะให้เป็นประเทศรายได้สูงและสร้างงานที่ดีขึ้นในอนาคต อาจทำ�โดยปรับ ภาคการผลิตให้สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ซับซ้อนขึ้น ขยายความเชื่อมโยงไปยังอุตสาหกรรมอื่น และยกระดับรูป แบบการบริการไปสู่บริการที่ใช้นวัตกรรมระดับโลก รัฐบาลต้องพัฒนาระบบที่เอื้อให้ภาคเอกชนนำ�เทคโนโลยี มาใช้ ขยายฐานทักษะแรงงานให้กว้างขึ้นและพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งหาช่องทางให้เศรษฐกิจ เติบโตอย่างยัง่ ยืนและพร้อมปรับตัวรับความเปลีย่ นแปลงได้ และเน้นการผนึกกำ�ลังกับภาคเอกชนอย่างครอบคลุม นอกจากนี้ก็ควรมีแผนการฟื้นฟูเศรษฐกิจจากเหตุโรคระบาดที่เน้นแก้ไขจุดอ่อนและข้อจำ�กัดเชิงโครงสร้างใน ระยะยาวซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนานวัตกรรมและการสร้างผลผลิต ขณะเดียวกันต้องเร่งฟื้นฟูประเทศ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายไปสู่การเป็นประเทศที่มีรายได้สูงภายในปี 2580 นอกจากนี้ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ด้วยนวัตกรรมยังช่วยสร้างงานใหม่ที่ให้ผลผลิตสูงขึ้น ทำ�ให้ประเทศพร้อมรับมือกับปัญหาประชากรสูงอายุ ซึ่งเป็นความท้าทายเชิงโครงสร้างที่สำ�คัญที่สุดประการหนึ่งของตลาดแรงงานไทย และยังช่วยลดผลกระทบ ของการลดชั่วโมงทำ�งาน การปิดกิจการ รวมไปถึงการเคลื่อนย้ายแรงงานสู่ภาคการเกษตรอันเนื่องมาจาก การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ด้วย ในขณะเดียวกัน กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมยังช่วยแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นระหว่างเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว ช่วยให้ไทยบรรลุข้อตกลงว่าด้วย ภูมิอากาศในเวทีนานาชาติ และบรรลุเป้าหมายลดการผลิตก๊าซคาร์บอนของประเทศด้วย ทั้งนี้ ความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาเศรษฐกิจโดยใช้ฐานความรู้เพียงอย่างเดียวไม่อาจช่วยให้บรรลุวิสัยทัศน์ ได้หากขาดการปฏิรูป รัฐบาลไทยได้พัฒนาวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนในหลายด้าน รวมถึงกำ�หนดกลยุทธ์และจัด ทำ�แผนปฏิบัติการในทุกระดับ และในทุกภาคส่วนเพื่อผลักดันให้ใช้นวัตกรรมช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งรวม ถึงยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งนำ�ไปปฏิบัติจริงในรูปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (สศช.) และนโยบายประเทศไทย 4.0 อย่างไรก็ดี ทุกแผนมีทั้งโอกาสและข้อจำ�กัด ซึ่งสอดคล้องกับผลการ ศึกษาในรายงาน CPSD ฉบับนี้ในหลายประเด็นด้วยกัน นอกจากนี้ รัฐบาลยังมีโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor หรือ EEC) ซึ่งคาดหวังกันว่าจะเป็นโครงการนำ�ร่องสำ�คัญซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความคิดริเริ่มในการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยใช้ความรู้ และอาจเป็นตัวอย่างผลงานที่นำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ในอนาคต อย่างไรก็ดี การยึดติด กับความสำ�เร็จในอดีตกำ�ลังเป็นอุปสรรคต่อการปฏิรูปและทำ�ให้การพัฒนาเป็นไปได้ค่อนข้างช้า นอกจากนี้ หลายคนมองว่ากลุ่มคนที่ได้ผลประโยชน์กำ�ลังพยายามจะชะลอการปฏิรูปและทำ�ให้เกิดความล่าช้าในบังคับ ใช้กฎหมาย ซึ่งอาจสร้างความเสียหายต่อผู้ประกอบการรุ่นใหม่ๆ ที่กำ�ลังสร้างความเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ สิ่งที่ กำ�ลังเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจในปัจจุบันทำ�ให้เห็นความท้าทายเหล่านี้ชัดขึ้น เนื่องจากแต่ละภาคส่วนอาจฟื้นตัว จากผลกระทบที่เกิดจากโรคโควิด 19 ได้ไม่เท่ากัน และอาจส่งผลกระทบต่อการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในขณะที่รัฐบาลมีข้อจำ�กัดทางการคลังดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ii บทสรุปผู้บริหาร ปัจจัยขับเคลื่อน 4 ประการที่ส่งผลต่อการเติบโตและความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย โดย เฉพาะอย่างยิ่งหลังจากการระบาดใหญ่ของโควิด 19 มีดังนี้ i. เทคโนโลยีที่มีผลกระทบระยะยาวต่อกำ�ลังแรงงานและการดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้องกับห่วงโซ่อุปทาน และ การเพิ่มขึ้นของระบบอัตโนมัติและบริการ ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะเป็นที่ต้องการมากขึ้นจากผลกระทบของโค วิด 19 กำ�ลังพลิกโฉมอุตสาหกรรมและการทำ�งาน เนือ ่ งจากความต้องการสินค้าและบริการของลูกค้าตลอดจนวิธี ่ นไป ภาคธุรกิจจึงต้องเร่งพัฒนานวัตกรรมและโซลูชันต่างๆ เพื่อให้ตอบโจทย์ ส่งมอบบริการและสินค้าเปลีย ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยในช่วงหลังมานี้ การใช้เทคโนโลยีช่วยให้บริษัทต่างๆ ปรับตัวรับแรงกระแทก เพิ่ม ความคล่องตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง และพร้อมปรับเปลี่ยนเพื่อรับมือกับการแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 ได้ ii. ความตึงเครียดทางการค้าระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและข้อตกลงทางการค้าใหม่ในระดับ ภูมิภาคกำ�ลังทำ�ให้ทิศทางการส่งออก-นำ�เข้า รวมถึงห่วงโซ่มล ่ นแปลงไป ู ค่าในระดับสากล (GVC) เปลีย ปัจจัยข้อนี้ชี้ให้เห็นว่าประเทศไทยสามารถแข่งขันในการค้าระหว่างภูมิภาคและตลาดใดได้บ้าง ทั้งนี้ การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ได้ชี้ให้เห็นความเปราะบางของระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งพากันและกัน (GVC) ทำ�ให้หลายกิจการหันมากระจายความเสี่ยง และเลือกแหล่งที่ตั้งโรงงานในประเทศที่อยู่ใกล้มากกว่าเดิม iii. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึงความมุง ่ ทีจ ่ มัน ่ ะลดปริมาณคาร์บอนทีเ่ กิดจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ถือเป็นปัจจัยอีกข้อที่ท้าทาย เนื่องจากผู้ประกอบการต้องตอบสนองทั้งต่อความต้องการของผู้บริโภคต่อ สินค้าและบริการทีย ่ง ่ นไป และต่อนโยบายสิง ่ั ยืนทีเ่ ปลีย ่ แวดล้อมทีย ่ั ยืนของภาครัฐด้วย ในด้านหนึง ่ง ่ สถานการณ์ โรคระบาดครัง ้ เ็ รียกร้องให้ผก ้ นีก ำ หนดนโยบายวางมาตรการทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง ู้ � ้ แต่ในอีกทางหนึง ่ แวดล้อมมากขึน ่ การดำ�เนินมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมอาจต้องหยุดชะงัก เนือ ่ งจากรัฐต้องทุม ่ ฟืน ่ เททรัพยากรเพือ ้ ฟูเศรษฐกิจ ่ สำ�คัญและเร่งด่วนกว่า ซึง iv. ประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในประเทศไทยส่งผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ เมือ ่ เปรียบเทียบ กับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิกนั้น พบว่าประเทศไทยมีประชากรสูงอายุสูงเป็นอันดับ สามรองจากเกาหลีใต้และญีป ่นุ่ และยังมีประชากรสูงอายุมากทีส ่ดุ ในกลุม ่ ประเทศทีม ่ร ี ายได้ปานกลางด้วย ้ง ปัจจัยนีส่ ผลสำ�คัญสามประการ ประการแรก เมือ ่ สัดส่วนประชากรสูงอายุเพิม ้ หมายความว่าสัดส่วนของ ่ ขึน ประชากรวัยแรงงานลดลง ส่งผลให้เกิดการขาดแคลนอาชีพและทักษะ ซึง ่ นำ�ไปสูค่ วามสามารถในการผลิตที่ ลดลง ประการทีส ่ อง ประชากรสูงอายุตอ ้ งการสินค้าและการบริการทีต ่า่ งไป ทำ�ให้ผป ู้ ระกอบการจำ�เป็นต้อง ปรับรูปแบบการส่งมอบสินค้าและบริการใหม่ ประการทีส ่ าม สังคมสูงวัยเปิดโอกาสให้กบ ่ี ง ั ธุรกิจใหม่ทพ ุ่ เป้า ให้บริการประชากรกลุม ่ ใหม่ ตัวอย่างเช่น การทีผ ู้ ง ่ส ู อายุขาดความรูค ้ วามเข้าใจในเรือ ่ งเทคโนโลยีทางด้าน การเงินก็อาจเป็นโอกาสที่จะทำ�ให้เกิดการพัฒนาที่ม่ง ู ริโภคมีประสบการณ์การใช้งานที่ดีข้น ุ เน้นให้ผ้บ ึ หรือ การพัฒนาเพือ ่ ตอบโจทย์บางอย่างโดยเฉพาะได้ รายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนของประเทศไทยเล็งเห็นว่ามีปัจจัยสองประการที่ช่วยให้ประเทศไทยใช้ ประโยชน์จากการเปลีย ่ นแปลงข้างต้นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ พร้อมทัง ้ สนับสนุนการสร้างกลไกขับเคลือ ่น เศรษฐกิจใหม่ทจ ำ เป็นต่อการเติบโตในอนาคต นัน ่ี � ่ คือ การนำ�เทคโนโลยีดจ ิท ิ ล ่ี � ั และเทคโนโลยีทท ำ ให้เกิดการ ่ นแปลงอย่างพลิกผัน (Digital and Disruptive Technology หรือ DDT) และแนวคิดเศรษฐกิจ เปลีย หมุนเวียน (Circular Economy หรือ CE) มาใช้ซง ่ึ จะช่วยเร่งให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรูท ้ ่ี เป็นประโยชน์ตอ่ ทุกภาคส่วน ส่งผลให้เกิดการจัดสรรผลประโยชน์จากการเติบโตและเพิม ่ ความเข้มแข็งของ ประเทศ รายงานฯ ฉบับนีเ้ สนอให้ภาคเอกชนมีสว ่ นร่วมด้านเทคโนโลยีดจ ิล ิท ั และเทคโนโลยีทท ำ ให้เกิดการเปลีย ่ี � ่ นแปลง อย่างพลิกผัน (DDT) พร้อมนำ�แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (CE) มาใช้ขบ ่ นเศรษฐกิจโดยอาศัยนวัตกรรม ั เคลือ และความพร้อมปรับตัวอยู่เสมอ เหตุผลที่เลือกประเด็นหรือ “ปัจจัยขับเคลื่อน” ทั้งสองข้อ คือ ประการ แรก การนำ�เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผันมาใช้ควบคู่กับเศรษฐกิจ หมุนเวียนเป็นการนำ� ‘สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้’ มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพของทุนและแรงงาน ผลักดันให้ ประสิทธิภาพการผลิตรวม (TFP) ทีช ่ ะงักงันปรับตัวดีขน้ึ ตัวอย่างเช่น การบูรณาการระบบไซเบอร์ทางกายภาพ (cyber-physical) เช่น การวิเคราะห์ขอ้ มูล ปัญญาประดิษฐ์ และการเรียนรูข ่ ง (machine learning) เข้า ้ องเครือ ด้วยกันจะช่วยให้แรงงาน เครื่องจักร และทรัพยากรทำ�งานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในทำ�นอง เดียวกัน แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนยังช่วยเพิม ่ ประสิทธิภาพการใช้งานทรัพยากรและวัสดุตา ุ้ ค่ายิง ่ งๆ ให้คม ้ ่ ขึน เช่น การลงทุนเทคโนโลยีทค ื สภาพของเสียให้น� ่ี น ำ กลับมาใช้ซ�ำ้ ในการผลิตได้ เป็นต้น iii รายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนไทย ประการที่สอง ปัจจัยขับเคลื่อนเหล่านี้สามารถส่งผลต่อเนื่องไปยังภาคส่วนดั้งเดิมของเศรษฐกิจได้อย่างมีนัย สำ�คัญ ตัวอย่างเช่น การนำ�เทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผันมาใช้ส่งเสริมภาคการท่อง เที่ยวผ่านบริการวางแผนการท่องเที่ยว บริการจัดหาที่พักและการเดินทาง เป็นต้น หรือในอุตสาหกรรม ยานยนต์ อาจหมายถึงกระบวนการยกระดับการผลิต เช่น การนำ�พลาสติกรีไซเคิลมาใช้ในการออกแบบ อะไหล่อิเล็กทรอนิกส์ใหม่ และการออกแบบยานยนต์โดยคำ�นึงเรื่องการโดยสารร่วมกันเป็นหลัก2 ประการทีส ่ นทัง ่ าม ปัจจัยขับเคลือ ่ ยืนขึน ้ สองทำ�ให้กระบวนการผลิตยัง ่ข ้ ตัวอย่างเช่น การนำ�ข้อมูลทีมี นาดใหญ่ (Big data) มาใช้วิเคราะห์การทำ�เกษตรอย่างแม่นยำ�จะช่วยให้ธุรกิจทางการเกษตรยั่งยืนมากขึ้น นอกจาก นี้ การใช้เทคโนโลยีคมนาคมขนส่งยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ยานพาหนะ ซึ่งจะสนับสนุนให้ภาคธุรกิจ คิดค้นแนวทางการขนส่งที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ในทำ�นองเดียวกัน แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนช่วย ลดความซับซ้อนของเป้าหมายระดับชาติที่ผนวกการเติบโตทางเศรษฐกิจเข้ากับการลดก๊าซเรือนกระจกและ การลดการใช้ทรัพยากรแบบดั้งเดิม ซึ่งจะช่วยส่งเสริมการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอีกทางหนึ่ง ตัวอย่าง เช่น การใช้วัสดุทดแทนอย่างหญ้าในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ เป็นต้น แนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียนจึงเป็น หนึ่งในวิธีแก้ปัญหาภัยคุกคามจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่ประเทศไทยกำ�ลังเผชิญอยู่ได้ ประการสุดท้าย เทคโนโลยีเหล่านี้ช่วยให้บริษัทไทยเข้าถึงโอกาสธุรกิจที่เกิดขึ้นจากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ขนาดใหญ่ (megatrend) ที่กล่าวมาข้างต้น เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง อย่างพลิกผัน (DDT) เป็นหัวใจสำ�คัญที่ช่วยขับเคลื่อนและเพิ่มอัตราการใช้ระบบอัตโนมัติและการบริการใน อุตสาหกรรมการผลิต และส่งเสริมให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สี่ ส่วนแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนนั้น จะช่วยให้ผู้ประกอบการไทยมีส่วนร่วมในห่วงโซ่ระบบเศรษฐกิจโลก (GVC) ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ บรรลุมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมตามที่ภาครัฐและภาคเอกชนในตลาดต่างประเทศกำ�หนดได้ หากประเทศไทยนำ�เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผันรวมทั้ง แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนมาปรับใช้ได้อย่างทันท่วงทีไม่ได้ ประเทศไทยจะยิ่งต้องเผชิญกับความเหลื่อม ล้ำ�ทางรายได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเศรษฐกิจแนวหน้า (frontier economy) (ภาคผนวก ง-1) ประเด็น ดังกล่าวจะยิ่งทวีความสำ�คัญขึ้นเมื่อสถานการณ์โควิด 19 คลี่คลาย เนื่องจากผู้ประกอบการจะต้องหาทาง ปรับตัวเพื่อเพิ่มความเข้มแข็งของตนเองในห่วงโซ่มูลค่าโลกโดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสมัยใหม่อย่าง เช่น เทคโนโลยีในอุตสาหกรรม 4.0 (industry 4.0) และการพิมพ์ 3 มิติ เพื่อตอบสนองต่อพฤติกรรมผู้ บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปและให้เป็นไปตามข้อตกลงทางการค้าเพื่อความยั่งยืนด้วย ทั้งนี้ การที่จะประสบ ความสำ�เร็จในระบบห่วงโซ่มูลค่าโลกได้นั้น ประเทศไทยต้องนำ�เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีที่ทำ�ให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผันมาใช้ร่วมกับแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนในวงกว้างมากขึ้น ปัจจัยขับเคลือ ่ นที่ 1 เทคโนโลยีดจ ิ ล ิท ั และเทคโนโลยีทท ำ ให้เกิดการเปลีย ่ี � ่ นแปลงอย่างพลิกผัน หมายความ ถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่มีศักยภาพในการเปลี่ยนวิถีการดำ�เนินงานขององค์กรและผู้คนแบบพลิกผัน พร้อมทั้งสร้างตลาดและรูปแบบธุรกิจใหม่ และช่วยให้ประชาชนเข้าถึงสินค้าและบริการง่ายขึ้นในราคา ที่เอื้อมถึงได้ การนำ�เทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผันมาใช้เป็นฐานเพื่อก้าวสู่ระบบห่วงโซ่ มูลค่าในระดับสากลขั้นสูง (advanced GVC) นัน ้ ถือเป็นกลยุทธ์ส� ่ ะช่วยดึงดูดนักลงทุนจากต่างประเทศ ำ คัญทีจ ยกระดับธุรกิจไปสูห ่ว ่ งโซ่มลู ค่าระดับสากลทีส ่ง ้ เพิม ู ขึน ่ ความหลากหลายสินค้าและบริการ และพัฒนามาตรฐาน การครองชีพและค่าจ้างของแรงงานในประเทศซึง ่ นำ�ไปสูง่ านทีด ่ข ีน ้ึ ได้ นอกจากนี้ เทคโนโลยีดจ ิล ิท ั และเทคโนโลยี ่ � ทีท ำ ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงอย่างพลิกผันยังเปิดโอกาสให้แรงงานสตรีมส ่ นร่วมในอุตสาหกรรมมากขึน ีว ้ ในขณะ ที่แพลตฟอร์มพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยกระตุ้นให้วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทำ�การค้าและมีส่วน ร่วมในตลาดโลกเพิม ่ ขึน้ โดยลดต้นทุนการส่งออก ลดข้อจำ�กัด และให้บริการสนับสนุนการปฏิบต ังิ านต่างๆ ด้วย นอกจากนี้ เทคโนโลยีดจ ิทิลั และเทคโนโลยีทท ่ี � ำ ให้เกิดการเปลีย ่ นแปลงอย่างพลิกผันทำ�หน้าทีข ั เคลือ ่บ ่ นแนวทาง การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนได้เช่นเดียวกับแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยช่วยให้ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ในกระบวนการผลิตและการใช้ทรัพยากรของภาคธุรกิจปรับตัวดีขน ้ึ นอกจากนี้ เทคโนโลยีเหล่านีย ั ต่อยอดเป็น ้ง แนวทางการแก้ปญ ั หาใหม่ (เช่น โดรนหรือเซ็นเซอร์, Internet of Thing (IoT)) ทีช ่ ยให้ผป ่ว ู้ ระกอบการปรับตัว ท่ามกลางปัญหาการเปลีย ่ นแปลงสภาพภูมอ ิ ากาศได้อก ี ด้วย iv บทสรุปผู้บริหาร หากวิเคราะห์ผลลัพธ์ทอ ้ จากเทคโนโลยีใหม่ๆ ในประเทศไทยในรูปแบบสถิตโ ่ี าจเกิดขึน ิ ดยอ้างอิงจากตัวเลข การเคลื่อนย้ายเงินทุนในภูมิภาคไปยังธุรกิจสตาร์ทอัปดิจิทัล คาดว่าจะมีเงินทุนเคลื่อนย้ายมายังธุรกิจใน ประเทศไทยประมาณ 1,800 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งครอบคลุมทั้งภาคธุรกิจดิจิทัลรูปแบบธุรกิจสู่ ธุรกิจ (Business to Business หรือ B2B) ใหม่ทง ้ั 5 สาขา รวมถึงการขยายตัวของธุรกิจรูปแบบธุรกิจ ่บ สูผู้ ริโภค (Business to Consumer หรือ B2C) ใน 4 สาขาทีแ ่ ล้วด้วย หากบริษัทดิจิทัลของ ่ ข็งแกร่งอยูแ ไทยสามารถดึงดูดการลงทุนในลักษณะธุรกิจร่วมทุน (Venture Capital หรือ VC) หรือ กิจการเงินร่วมลงทุน (Private Equity หรือ PE) ได้สำ�เร็จในระดับเดียวกันกับเศรษฐกิจแนวหน้าอื่นๆ ในเอเชีย (Asia Frontier Markets) ในธุรกิจแบบ B2B ขั้นสูงทั้ง 5 สาขาซึ่งประกอบด้วย เทคโนโลยีคมนาคมขนส่ง ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) และการวิเคราะห์ข้อมูล เทคโนโลยีด้านสุขภาพ สื่อดิจิทัล และเทคโนโลยีเพื่อความบันเทิง คาด การณ์ว่าประเทศไทยจะมีเงินทุนไหลเข้าเพิ่มเติม 1,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดังแสดงในตารางที่ 1) ส่วนอีก 600 ล้านดอลลาร์สหรัฐที่เหลือจะเป็นผลมาจากการส่งเสริมภาคธุรกิจในประเทศไทยที่มีศักยภาพอยู่แล้ว โดย การลงทุนในภาคธุรกิจและเทคโนโลยีพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยเร่งเปลี่ยนกระบวนการทำ�งานแบบดั้งเดิม (แอนะล็อก) ไปสู่ระบบดิจิทัลได้รวดเร็วขึ้นทั้งในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ ธุรกิจด้านสุขภาพ และธุรกิจ การเกษตร ซึง ่ การวิเคราะห์เชิงลึกในแต่ละอุตสาหกรรมทีอ ิล ่ าศัยดิจท ่ นการผลิตและการเติบโต ั เป็นปัจจัยขับเคลือ จะอยู่ในส่วนที่สองของรายงานฉบับนี้ ตารางที่ 1: ความต้องการเงินทุน (หรือเงินทุนส่วนเกิน) รายปีในประเทศไทย เมื่อเทียบกับเศรษฐกิจแนวหน้าอื่นๆ ในเอเชีย (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ประเด็นหลักใน ความต้องการเงินทุน (หรือเงินทุนส่วนเกิน) รายปีในประเทศไทย เมื่อเทียบกับเศรษฐกิจแนวหน้าอื่นๆ กลยุทธ์ของไทย ในเอเชีย (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) การขนส่งโดยสาร (ทางอากาศ รถไฟ รถยนต์) โลจิสติกส์ การตรวจสอบและ -390 เทคโนโลยีคมนาคม ติดตามการจราจร การโดยสารรถร่วมตามความต้องการ แพลตฟอร์มซ่อม บำ�รุงรถโดยสารและแผนที่ออนไลน์ E-sport บ่อนการพนันออนไลน์ ภาพยนตร์ สตูดิโอแอนิเมชันหรือเกม -326 เทคโนโลยีบันเทิง เพลง วิดีโอสตรีมมิ่งและบริการวิดีโอ ศิลปะ ซอฟต์แวร์อัลกอริทึ่มเพลง และบริการบริหารจัดการสื่อบันเทิงและสื่อสังคมออนไลน์ พัฒนาตาม ข้อมูลขนาดใหญ่ บริษัทที่ใช้ข้อมูลในฐานะบริการ การวิเคราะห์ข้อมูล บริการเปลี่ยนข้อมูลเป็น ให้ทัน -285 (Big Data) และ ภาพ (visualization) และบริการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ การเขียนคอนเทนท์ดิจิทัล สื่อออนไลน์ การค้นหาสื่อออนไลน์และ -208 สื่อดิจิทัล แพลตฟอร์มสำ�หรับจดทะเบียนสมาชิก (subscription) การตีพิมพ์ ผลิตภัณฑ์ และบริการจัดการโลจิสติกส์ เทคโนโลยีเพื่อ การตรวจสุขภาพทางไกล แพลตฟอร์มสุขภาพออนไลน์ เทคโนโลยีเภสัชกร 1.8 สุขภาพ ออนไลน์ การพัฒนาอุปกรณ์ทางการแพทย์เชิงเทคนิค การบริหารจัดการห้อง ปฏิบัติการแพทย์ และการพัฒนาอัลกอริทึ่มเพื่อการวินิจฉัยผู้ป่วย พาณิชย์ ตลาดออนไลน์ บริการรวบรวมแหล่งพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์ธุรกิจ -354 อิเล็กทรอนิกส์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และบริการโลจิสติกส์ เติบโตและ (e-commerce) สำ�หรับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ขยายตัวต่อ ไป -276 เทคโนโลยีทางการ การปล่ อยสินเชื่อ การชำ�ระเงิน การบริหารจัดการทรัพย์สินและการลงทุน ตลอดจนผู ้ ห้บริการซอฟต์แวร์เพื่อดำ�เนินกระบวนการทางการเงินอัตโนมัติ ใ เงิน (Fintech) หรือตอบสนองความต้องการหลักของสถาบันทางการเงิน 24 เทคโนโลยีอาหาร แพลตฟอร์มรวบรวม/รีวิวร้านอาหาร ตลาดออนไลน์สำ�หรับอาหาร สื่อไลฟ์ ขยายตัวและ สไตล์ด้านอาหารตลอดจนบริษัทให้บริการสมาชิกอาหารแพคเกจล่วงหน้า เป็นผู้นำ�ใน ตลาด 167 เทคโนโลยีเพื่อการ แพลตฟอร์มจองโรงแรม แพลตฟอร์มรีวิวโรงแรม/ค้นหาโรงแรม ซอฟต์แวร์ ท่องเที่ยว เพื่อความปลอดภัยของการท่องเที่ยว v รายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนไทย ปัจจัยขับเคลื่อนที่ 2 เศรษฐกิจหมุนเวียนหรือ “Circularity” คือ แนวคิดการทำ�ธุรกิจที่เปลี่ยน จากกระบวนการทำ�ธุรกิจแบบดั้งเดิมที่เป็นการ รับ-ผลิต-ทิ้ง มาเป็นระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนช่วย แก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยนำ�ทุนธรรมชาติหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ควบคู่กับการส่งเสริมให้วัตถุดิบและ ผลิตภัณฑ์มีอายุการใช้งานนานที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้ ธุรกิจที่ดำ�เนินการด้วยแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนย่อม ต้องอาศัยนวัตกรรม เนื่องจากผู้ประกอบการต้องเปลี่ยนวิธีคิดขั้นพื้นฐานกับทุกขั้นตอนในธุรกิจ ตั้งแต่ การออกแบบสินค้าและบริการไปจนถึงการกำ�จัดของเสีย นอกจากนี้ ผู้ประกอบการในแนวคิดเศรษฐกิจ หมุนเวียนยังส่งเสริมนวัตกรรมคู่ขนานที่สนับสนุนระบบนิเวศทางธุรกิจอย่างนวัตกรรมด้านการเงินด้วย โดย แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนนั้นถือเป็นแนวทางที่ตอบโจทย์การสร้างการเติบโตที่ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อมเพราะจะช่วยควบคุมการผลิตซึง ำ คัญของการผลิตก๊าซเรือนกระจก และยังแก้ไขปัญหาการ ่ เป็นต้นเหตุส� ่ นแปลงสภาพภูมิอากาศอีกทางหนึ่งด้วย เปลีย ในรายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนของประเทศไทยฉบับนี้ ทางกลุ่มธนาคารโลกเห็นว่าธุรกิจอาหารและ การเกษตร ธุรกิจก่อสร้าง และธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ควรเป็นสาขานำ�ร่องใน การนำ�แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนมาใช้ เนื่องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจตลอดห่วงโซ่มูลค่าในธุรกิจเหล่านี้ สร้างมูลค่าเพิ่มและ/หรือลดต้นทุนได้ โดยการนำ� 6 แนวทางสำ�คัญของแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนมา ใช้จะสร้างผลตอบแทนให้ภาคเอกชนผ่านรายได้ที่เพิ่มขึ้นและต้นทุนที่ลดลง ซึ่งมีมูลค่ารวมประมาณ 1,600 ล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2568 อย่างไรก็ตาม การประเมินผลประโยชน์ของเศรษฐกิจหมุนเวียนในแง่ของ การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกนั้นยังต้องมีการศึกษาเพิ่มเติม ่ ด้รบ ตารางที่ 2: โอกาสการลงทุนตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนในธุรกิจทีไ ั การคัดเลือก โอกาสการลงทุนในธุรกิจ รูปแบบการลงทุนที่เป็นที่ ตัวอย่างของการใช้ ประโยชน์ที่ภาคธุรกิจ ที่ได้รับการคัดเลือก ต้องการ แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน พึงได้รับ อาหารและการเกษตร: • บริการโลจิสติกส์สำ�หรับขนส่งขยะ • การแปลงสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์จาก • สร้างมูลค่าเพิ่มสะสมสุทธิ • การทำ�เกษตรฟื้นฟู อินทรีย์ไปยังโรงงานผลิตสินค้า สัตว์เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ดว ้ ยกระบวนการ 12,100 ล้านบาท (387.3 ล้าน • การแปรรูปขยะอินทรีย์ • งานวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับ หมุนเวียน ดอลลาร์สหรัฐ) เป็นผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ชีวภาพรูปแบบใหม่ • การแปรรูปขยะเกษตรและเศษอาหารให้เป็น • โรงงานผลิตสินค้ารูปแบบใหม่ ผลิตภัณฑ์ขน ้ สุดท้าย เช่น อาหาร ้ั กลางหรือขัน สัตว์ วัสดุก่อสร้าง และพลาสติกชีวภาพ การก่อสร้าง: • ความรู้ทางเทคนิคและเครื่องมือ • การนำ�วัสดุก่อสร้างมาใช้ซ้ำ�ในการสร้าง • ประหยัดค่าใช้จ่ายรวม 8,750 • การนำ�วัสดุก่อสร้างกลับ สนั บ สนุ น การออกแบบวิ ธ ี ร ื ้ อ ถอน อาคารและโครงสร้ า งพื ้ น ฐานใหม่ ล้านบาท (279 ล้านดอลลาร์ มาใช้ใหม่ โครงสร้ า ง • การออกแบบโครงสร้ า งพื ้ น ฐานรู ป แบบใหม่ สหรัฐ) และประหยัดค่าใช้จ่าย • การวิ จ ั ย และพั ฒ นาเทคนิ ค การรื ้ อ ถอน เพื ่ อ รองรั บ การรื ้ อ ถอนที ่ เ อื อ ้ ต่ อ การนำ � วั ส ดุ 2,570 ล้านบาท (81.9 ล้าน • การสร้างความยืดหยุ่น ้ำ� ดอลลาร์สหรัฐ) ในการใช้พื้นที่และการ โครงสร้ า งและวั ส ดุ ท ี ่ ท นทาน กลั บ มาใช้ ซ แบ่งปันพื้นที่ร่วมกัน • บริการจัดทำ�เอกสารแสดงข้อมูลวัสดุ • การใช้ประโยชน์จากพื้นทีท ่ ี่มีผู้ใช้สอยระยะ (Material passport) สั้น (ทั้งผู้อยู่อาศัยและผู้ใช้รายอื่น) เช่น • แพลตฟอร์มแลกเปลี่ยนวัสดุ พื้นที่สำ�นักงาน ร้านค้าปลีก สถานที่พัก • แพลตฟอร์มแบ่งปันพื้นที่และเทคโนโลยี ผ่อน และอาคารที่พักอาศัยบางส่วน สำ�หรับตรวจสอบการใช้พื้นที่ เครื่องใช้ไฟฟ้า • ออกแบบผลิตภัณฑ์ • การลงทุนในกระบวนการผลิตชิน ้ ส่วนยาน • ประหยัดต้นทุน 33,200 พัน และอุปกรณ์ • บริการโลจิสติกส์เพื่อรับคืนสินค้าใช้แล้ว ยนต์ไ ฟฟ้า ที ส ่ ำ � ญ คั เช่ น มอเตอร์ ไฟฟ้ า น อิ เวอร์ ล้านบาท (1,000 ล้านดอลลาร์ อิเล็กทรอนิกส์: จากผู้บริโภคเพื่อแปรรูปใหม่ ่ งชาร์จออนบอร์ด เซ็นเซอร์ไฟฟ้า เตอร์ เครือ สหรัฐ) • การนำ�อุปกรณ์ที่ • การฝึกอบรมทักษะการแปรรูป • การใช้งานผลิตภัณฑ์รว ่ มกันกับผูอ ่ื ผ่าน ้น ใช้แล้วกลับเข้าสู่ ผลิตภัณฑ์ใช้แล้วเป็นสินค้าใหม่ สัญญาเช่า สัญญาใช้งานผลิตภัณฑ์ตามผลการ กระบวนการผลิตอีกครั้ง • เอกสารแสดงข้อมูลผลิตภัณฑ์ • ปฏิบัติงาน(performance-based • การใช้อุปกรณ์ร่วมกัน (Product passports) contracts) หรือสัญญาใช้งานผลิตภัณฑ์ • พลตฟอร์มการแชร์/แลกเปลี่ยนอุปกรณ์ ในฐานะบริการ (product-as-a-service และเครื่องใช้ระหว่าง B2B B2C และ contract) จากผู้บริโภคสู่ผู้บริโภค (Consumer to Consumer หรือ C2C) • บริการขนส่งอุปกรณ์จากผู้ใช้รายหนึ่งไป ยังอีกรายหนึ่ง vi บทสรุปผู้บริหาร อย่างไรก็ดี การขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมผ่านปัจจัยขับเคลื่อนข้างต้นทั้งสองนั้นก็มีทั้งความเสี่ยง และความท้าทายในการดำ�เนินงาน แนวทางทั้งสองนี้อาจส่งผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์ต่อการเติบโตอย่าง ทั่วถึง (inclusive growth) เนื่องจากอาจเพิ่มความไม่เท่าเทียมกันในภาคธุรกิจและส่งผลกระทบต่อการจ้าง งานในระยะสั้น การดำ�เนินแผนให้ประสบผลสำ�เร็จจึงต้องอาศัยการประเมินตัวอย่างแนวปฏิบัติด้านนโยบาย จากประเทศที่มีแนวนโยบายที่ดีอย่างถี่ถ้วนก่อนที่จะนำ�มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทไทย นอกจากนี้ ่ ให้เทคโนโลยีและแนวทางการพัฒนาเหล่านีป ประเทศไทยยังต้องเตรียมปัจจัยสนับสนุนต่างๆ ให้พร้อมเพือ ้ ระสบ ความสำ�เร็จ ซึ่งจะกล่าวถึงในลำ�ดับต่อไป โดยรายงานฯ ฉบับนี้ต้องการจะเน้นย้ำ�ว่าเพื่อให้ประเทศไทยเข้าถึงโอกาสการเติบโตเหล่านี้ได้ รัฐบาลไทย ต้องแก้ไขข้อจำ�กัดด้านการลงทุนที่สำ�คัญรวมถึงความท้าทายของธุรกิจในแต่ละภาคส่วน เพราะตลาดที่ถูก บิดเบือนและขาดความเสมอภาคทางการแข่งขันนั้นเป็นปัจจัยหลักที่ยับยั้งการมีส่วนร่วมในเศรษฐกิจของ ภาคเอกชน ความท้าทายด้านการลงทุน การแข่งขันที่จำ�กัดและความเหลื่อมล้ำ�ในการแข่งขันถือเป็นอุปสรรคสำ�คัญสองข้อที่ขัดขวางการสร้าง นวัตกรรมในภาคเอกชน ดัชนีชี้วัดทั่วโลกหลายตัวชี้ให้เห็นว่าระดับการแข่งขันในประเทศไทยค่อนข้าง ต่ำ�เมื่อเทียบกับประเทศอื่น ในขณะที่นักลงทุนมองว่าการลงทุนธุรกิจในประเทศไทยมีความเสี่ยงสูง เนื่องจาก การกระจุกตัวของบริษัทในกลุ่มทุนเดียวกันมีแนวโน้มสูงขึ้น ส่งผลให้เกิดขั้วอำ�นาจทางการตลาดที่เพิ่มขึ้น เห็นได้จากการเพิ่มส่วนต่างระหว่างต้นทุนและราคาขาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มธุรกิจเครือข่าย ในขณะ ที่กฎหมายด้านการแข่งขัน ทางการค้ายังมีช่องว่างซึ่งทำ�ให้การบังคับใช้ก ฎหมายไม่เต็มประสิทธิภาพ ส่งผลกระทบต่อความเท่าเทียมกันในตลาดโดยเฉพาะต่อการแข่งขันของผู้ประกอบการภาคเอกชน ข้อจำ�กัดด้านการลงทุนจากต่างชาติส่งผลกระทบต่อการแข่งขันและยังขัดขวางกระบวนการถ่ายทอด องค์ความรู้และนวัตกรรมที่ได้มาจากการมีส่วนร่วมในเศรษฐกิจของบริษัทต่างชาติด้วย ระเบียบการเข้า ประเทศและระเบียบการดำ�เนินธุรกิจที่เข้มงวดถือเป็นอุปสรรคสำ�คัญที่ทำ�ให้การลงทุนโดยตรงจากต่างชาติ (FDI) ในประเทศไทยหดตัวลงโดยเฉพาะในภาคบริการ จากดัชนีชี้วัดข้อจำ�กัดด้านกฎระเบียบต่อการลงทุน จากต่างชาติขององค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) พบว่าประเทศไทยมีขอ ้ จำ�กัด มากขึ้นในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ขณะที่คู่แข่งในภูมิภาคกลับเปิดตลาดเพื่อรองรับนักลงทุนต่างชาติมากขึ้น ซึ่ง ข้อจำ�กัดด้านการลงทุนของต่างชาติที่ทวีความรุนแรงขึ้นนี้ส่วนหนี่งมาจากปัญหาเรื่องความบกพร่องของกฎ ระเบียบ ความท้าทายด้านขีดความสามารถ และการปฏิรูปที่เชื่องช้าเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค การเข้าถึงแหล่งเงินทุนสำ�หรับการพัฒนาด้านนวัตกรรมได้ไม่เพียงพอเป็นอุปสรรคต่อความสามารถใน การนำ�โมเดลธุรกิจและเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในบริษัท โดยเฉพาะในกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม แม้การเข้าถึงสินเชื่อโดยรวมของภาคเอกชนยังคงแข็งแกร่ง แต่วิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม และขนาดย่อย (MSME) กลับเข้าถึงบริการของสถาบันการเงินหลักได้ไม่มากนัก ในขณะเดียวกัน แหล่งเงิน ทุนที่จะสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมก็ยังมีอยู่จำ�กัด โดยหากพิจารณาเงินทุนรูปแบบธุรกิจร่วมทุน (VC) ซึ่ง เป็นแหล่งเงินทุนหลักสำ�หรับการพัฒนานวัตกรรมที่มีความเสี่ยงสูง พบว่าเงินทุนแบบธุรกิจร่วมทุนนี้คิดเป็น สัดส่วนเพียงร้อยละ 0.03 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ซึ่งต่ำ�กว่าประเทศอื่นในภูมิภาค (อ้างอิง จากข้อจำ�กัดในบทว่าด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผัน) การที่ผู้ประกอบการไม่สามารถจ้างแรงงานที่มีทักษะสำ�หรับโลกอนาคตเป็นอุปสรรคสำ�คัญอีกประการ หนึ่งที่ฉุดรั้งพลวัตของเศรษฐกิจไทย ประเทศไทยถือว่ามีสัดส่วนแรงงานที่มีทักษะขั้นสูงเป็นรองประเท ศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก ถึงแม้ประเทศคู่แข่งอย่างเวียดนามจะมีระดับผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศต่อประชากรเพียงหนึ่งในสามของประเทศไทย แต่เมื่อพิจารณาในระดับภูมิภาคนั้น พบว่าประเทศเวียดนามมีแรงงานที่มีทักษะขั้นสูงในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกับประเทศไทย (ทั้งที่เวียดนาม มีจำ�นวนประชากรมากกว่าไทยเพียงร้อยละ 14) นอกจากนี้ ผู้ประกอบการในประเทศไทยส่วนมากพบ ว่าแรงงานเหล่านี้ยังขาดทักษะที่เกี่ยวข้องกับงาน ทั้งทักษะทางด้านเทคนิคและทักษะด้านพฤติกรรม ใน ขณะที่ความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อผลการปฏิบัติงานของแรงงานจบใหม่ก็ยังค่อนข้างต่ำ�ด้วย ทั้งนี้ ข้อจำ�กัดด้านการลงทุนทางตรงจากต่างชาติถือเป็นปัจจัยหลักประการหนึ่งที่ทำ�ให้แรงงานไทยขาดทักษะ และระบบอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมทางเทคนิค (Technical and Vocational Education and Training หรือ TVET) ที่ไม่เข้มแข็งก็ยิ่งทำ�ให้ปัญหาดังกล่าวทวีความรุนแรงขึ้น vii รายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนไทย ความท้าทายรายอุตสาหกรรม เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผัน • ประเทศไทยจั ด อยู่ ใ นกลุ่ ม ประเทศที่ มี ดุ ล ยภาพระหว่ า งกฎระเบี ย บที่ ซั บ ซ้ อ นและความหลาก หลายของดิจิทัลต่ำ�สาเหตุที่ทำ�ให้ประเทศไทยต่างจากประเทศชั้นนำ�ด้านเทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผันคือประเทศไทยมีปัจจัยฉุดรั้งการพัฒนานวัตกรรมหลายประการ ได้แก่ (ก) มี ความเสี่ยงและความไม่แน่นอนของกฎระเบียบสูง (ข) การบังคับใช้กฎหมายไม่เต็มประสิทธิภาพ และ (ค) รัฐบาลเพิ่มความเข้มงวดของกฎระเบียบอย่างต่อเนื่องเพราะเกรงว่าระดับความเสี่ยงในระบบนิเวศ ด้านดิจิทัลจะสูงเกินไป นอกจากนี้ ความรับผิดชอบที่ทับซ้อนกันระหว่างหน่วยงานหลักที่ทำ�หน้าที่ขับ เคลื่อนนโยบายดิจิทัล เช่น สำ�นักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (สศด.) และสำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) อาจก่อให้เกิดปัญหาการทำ�งานซ้ำ�ซ้อนและความไม่สอดคล้องนโยบายตามมา และกฎระเบียบที่ คลุมเครือก็ยิ่งทำ�ให้เกิดความไม่แน่นอนและส่งผลให้ต้นทุนการประสานงานของภาคเอกชนเพิ่มขึ้นด้วย โดยกฎระเบียบที่ควรพิจารณาแก้ไขมีดังนี้: – กฎหมายและระเบียบกำ�กับตลาดทุนเพื่อพัฒนาธุรกิจของประเทศไทยนั้นไม่ดึงดูดใจเท่ากฎหมายของ ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการออกหุ้นบุริมสิทธิ การแบ่งชั้นของ หุ้น การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อกรรมการหรือพนักงาน (ESOPs) และพันธบัตรแปลงมูลค่า – ภาษีที่เรียกเก็บจากกำ�ไรจากการลงทุนในธุรกิจร่วมลงทุน (VC) และกิจการเงินร่วมลงทุน (PE) ที่สูง ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อการพิจารณาลงทุนในประเทศไทย – สภาพแวดล้อมของการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) สำ�หรับธุรกิจ ในระยะแรกเริ่มนั้นยังมีข้อกำ�หนดที่เข้มงวด ส่งผลให้เกิดการชะลอการลงทุนในรูปแบบธุรกิจร่วมทุน อย่างไรก็ดีทางสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ก็ได้ดำ�เนินการ แก้ไขข้อจำ�กัดบางประการสำ�หรับ SMEs และสตาร์ทอัพเพื่อช่วยให้ผู้ประกอบการกลุ่มนี้สามารถเข้าถึง แหล่งเงินทุนด้วยการเสนอขายหลักทรัพย์ในวงจำ�กัดสำ�หรับ SMEs (PP-SMEs) แล้ว นอกจากนี้ก็ยังมี กฎระเบียบในการเสนอขายหุ้นที่อยู่ในตลาดอยู่แล้วเพื่อระดมทุนเพิ่มเติมสำ�หรับ SMEs (PO-SMEs) และระบบ LiVE Exchange (กระดานหุ้นสำ�หรับ SME) ที่อยู่ระหว่างการพิจารณาด้วย – ผลกระทบจากความไม่ แ น่ น อนของทั้ ง นโยบายการจั ด การข้ อ มู ล อุ ต สาหกรรมและนโยบายความ ปลอดภัยของข้อมูล การขาดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและมาตรฐานการป้องกันที่ไม่เพียงพอ – การคุ้มครองผู้บริโภคและการขาดประสิทธิภาพของผู้ผลิตออนไลน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบตรวจสอบ สินค้านำ�เข้าผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดนที่มีข้อจำ�กัด ส่งผลให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภค และความไว้วางใจในการรับบริการและสินค้าผ่านระบบดิจิทัลลดลง • ประเทศไทยยังเผชิญกับความท้าทายอีกหลายประการในการสร้างตลาดทีม ่ก ่ ป็นธรรมภายใต้ ี ารแข่งขันทีเ เศรษฐกิจดิจท ั ประการแรก ผูท ิ ล ้ม ่ี ส ีว ่ นได้สว ่ งบทบาทของกลุม ่ นเสียกังวลเรือ ั ร่วมลงทุน (Corporate ่ บริษท Venture Capital หรือ CVC) ในด้านการสนับสนุนการแข่งขันและการเติบโตของเทคโนโลยีดิจิทัลใน ประเทศไทย จากการประมาณการ พบว่าประมาณร้อยละ 80 ของการลงทุนในธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูงใน ประเทศไทยมาจากนักลงทุนกลุ่มบริษัทร่วมลงทุนซึ่งถือว่าเป็นอัตราที่สูง ถึงแม้ว่าการลงทุนประเภท นี้จะสำ�คัญต่อการพัฒนา แต่การลงทุนรูปแบบกลุ่มบริษัทร่วมลงทุน CVC นี้ก็มักให้ความสำ�คัญกับธุรกิจ บางกลุ่มมากเกินไปและอาจทำ�ให้ตลาดบิดเบือนเนื่องจากผู้ประกอบการและนักลงทุนมักมีแรงจูงใจที่ ไม่สอดคล้องกัน ประการที่สอง ควรเพิ่มการมีส่วนร่วม ของภาคเอกชนในการจัดหาคลื่นความถี่และ โครงสร้างพื้นฐานสำ�หรับบริการดิจิทัลถึงแม้ว่าระบบการให้สัมปทานในประเทศไทยจะพัฒนาขึ้น แต่ผู้ให้ บริการภาคเอกชนก็ยังไม่สามารถแข่งขันได้อย่าง สมบูรณ์เนื่องจากขาดการสนับสนุนทางการเงิน เช่น การ ยกเว้นภาษี ประการสุดท้าย กรอบการกำ�กับดูแลและกฎระเบียบด้านการแข่งขันทางการค้าที่ยังมีอยู่จำ�กัด ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำ�ในตลาดแก่ผู้เล่นที่เป็นบริษัทดิจิทัลขนาดเล็กที่อาจมีความสามารถไม่เพียงพอที่ จะแข่งขันกับบริษัทอื่นที่ครองสัดส่วนตลาดในปัจจุบันได้ โดยประเด็นเรื่องช่องว่างและความคลุมเครือ ของกฎหมายนี้หมายความถึงการที่กฎเกณฑ์ต้องอาศัยการตีความโดยเจ้าหน้าที่รัฐ การดำ�เนินการ ที่ไม่โปร่งใส การบังคับใช้กฎหมายไม่แน่นอน และเงื่อนไขขั้นต่ำ�ในการขอรับสิทธิประโยชน์ที่สูงจนเกินไป viii บทสรุปผู้บริหาร ปัจจัยเหล่านี้ล้วนก่อให้เกิดต้นทุนที่เพิ่มขึ้นนอกเหนือไปจากเงินทุนเพื่อการประกอบกิจการ และยังอาจก่อ ให้เกิดอุปสรรคอื่นแก่ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดเล็กได้ นอกจากนี้ เครื่องมือที่จะช่วยให้ธุรกิจปรับตัวรับ การเปลี่ยนแปลงอย่างสนามทดลองหรือแซนด์บ็อกซ์ (Sandbox) ก็ยังจำ�กัดอยู่ในไม่กี่ภาคส่วน เช่น การ เงินและการท่องเที่ยว แต่ไม่ได้ขยายไปยังธุรกิจสาขาอื่นๆ ที่อยู่ภายใต้เศรษฐกิจดิจิทัล • การเข้าถึงทรัพยากรมนุษย์และการแก้ปัญหาทางการเงินเพื่อขับเคลื่อนการเติบโตของเทคโนโลยี ดิจิทัลและเทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผันในประเทศไทยยังค่อนข้างจำ�กัด ปัจจุบันประเทศไทยเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนทักษะด้านไอที วิศวกรรม และการเขียนโปรแกรม รวมถึงสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (Science, Technology, Engineering, Mathematics หรือ STEM) ซึ่งจำ�เป็นอย่างยิ่งต่อเศรษฐกิจดิจิทัล นักลงทุน มักมองว่าบริษัทเทคโนโลยีไทยและผู้ประกอบการไทยยังขาดประสบการณ์เชิงลึกและความหลากหลายใน ภาคส่วนของตนที่เพียงพอต่อการพัฒนาระบบเศรษฐกิจดิจิทัล และแรงงานส่วนมากก็ยง ั เป็นแรงงานจบ ใหม่ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังขาดแคลนบุคลากรจากต่างประเทศที่มีทักษะด้านนี้อย่างมาก ซึ่งแรงงาน กลุ่มนี้รวมถึงผู้เชี่ยวชาญที่สามารถถ่ายทอดมุมมองในระดับภูมิภาคและระดับโลกเพื่อเสริมสร้างศักยภาพ การทำ�งานภายในประเทศได้ด้วย ข้อจำ�กัดที่ไม่ให้ชาวต่างชาติเป็นเจ้าของกิจการในประเทศไทยก็ยิ่งทำ�ให้ สถานการณ์ขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะด้านเหล่านี้ย่ำ�แย่ลง นอกจากนี้ ประเทศไทยก็ยังขาดแหล่งเงิน ทุนที่เพียงพอต่อการสนับสนุนนวัตกรรมตลอดทั้งวงจร โดยกิจการขนาดกลางที่ผ่านระยะระดมทุนตั้งต้น (Seed stage) ไปแล้วไม่มีโอกาสขอรับเงินสนับสนุนจากที่รัฐจัดสรรไว้สำ�หรับกิจการขนาดเล็ก และก็ไม่ สามารถเข้าถึงเงินทุน VC ที่ตั้งเป้าสนับสนุนธุรกิจที่เริ่มเติบโตและเริ่มประสบความสำ�เร็จพร้อมขยายตัวไป สู่ระดับภูมิภาคได้ แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน • รัฐบาลควรทบทวนและกำ�หนดเป้าหมายของกรอบกฎหมายเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลแนวคิดเศรษฐกิจ หมุนเวียนให้ชัดเจนหรือให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลมากยิ่งขึ้น ประการแรก กรอบกฎหมายใน ปัจจุบันอาศัยกลไกเข้าร่วมโดยสมัครใจเป็นหลัก ทำ�ให้กลไกการใช้ประโยชน์จากระเบียบหรือมาตรการ จูงใจอื่นๆ ไม่สัมฤทธิผลตามที่ตั้งใจไว้ ตัวอย่างเช่น เมื่อไม่มีการบังคับเป็นหน้าที่ กระทรวงต่างๆ จึงไม่ กระตือรือร้นที่จะนำ�แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนมาใช้ในยุทธศาสตร์ขององค์กรเว้นเสียแต่ว่าแนวคิดดัง กล่าวจะเชื่อมโยงกับนิยามเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ใช้ในแผนงานปัจจุบันอยู่แล้ว5 ประการที่สอง แม้ ภาครัฐจะระบุสิทธิประโยชน์ที่ผู้ประกอบการพึงได้รับ6 แต่สิทธิประโยชน์ดังกล่าวก็ไม่สามารถแก้ไขปัญหา ความล้มเหลวของตลาดได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มผู้ประกอบการ SME ที่ยังต้องแบกรับค่าใช้จ่ายหรือมี ต้นทุนในการนำ�แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนมาประยุกต์ใช้ที่สูงกว่ากลุ่มผู้ประกอบการอื่นๆ อยู่ นอกจาก นี้ สิทธิประโยชน์จูงใจในปัจจุบันก็ดูไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขในการขอรับการส่งเสริมที่ยังให้ความสำ�คัญ กับปัจจัยทางด้านอุตสาหกรรม ระดับการเติบโตของบริษัท และภูมิศาสตร์อยู่ ประการที่สาม กฎระเบียบ ที่บังคับใช้กับอุตสาหกรรมแต่ละประเภทของไทยไม่สอดคล้องกับมาตรฐานสากลที่เปลี่ยนแปลงไป ทำ�ให้ การดำ�เนินงานไม่เกิดผลตามที่คาดหวัง โดยกฎระเบียบที่ควรพิจารณาปรับปรุงประกอบด้วยกฎหมายและ นโยบายควบคุมการรวบรวมของเสียและการจัดประเภทของเสียเป็นวัตถุดิบใหม่ การนำ�วัสดุกลับมาใช้ใหม่ ในบรรจุภัณฑ์ และการใช้วัสดุรีไซเคิลในธุรกิจก่อสร้าง • ภาครัฐ ภาคเอกชน และผูบ ้ ริโภคยังขาดความเข้าใจทีต ่ วกับแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน ซึง ่ รงกันเกีย ่ เป็น อุปสรรคต่อการออกนโยบายที่ครอบคลุมและมีเป้าหมายชัดเจน ทำ�ให้ภาคเอกชนขาดประสิทธิภาพใน การดำ�เนินตามแนวคิดดังกล่าว ความสำ�เร็จในการผลักดันแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนจะเกิดขึน ่ มีการ ้ ได้เมือ กำ�หนดนิยามคำ�จำ�กัดความของเศรษฐกิจหมุนเวียนทีใ ่ ช้โดยหน่วยงานภาครัฐและอุตสาหกรรมร่วมกัน ซึง ่ อาจ ขยายความให้ครอบคลุมแนวการดำ�เนินธุรกิจแบบองค์รวมเพิม ่ เติมจากแนวทางการแก้ปญ ั หาจากยุทธศาสตร์ ด้านการจัดการวัตถุดบิ และทรัพยากรทีม ี ยูใ ่อ ั นอกจากนี้ ควรส่งเสริมให้มก ่ นปัจจุบน ี รอบแนวทางการติดตาม และประเมินผลที่ผู้ประกอบการสามารถทำ�การประเมินศักยภาพทางการเงินของโมเดลธุรกิจเศรษฐกิจ หมุนเวียนของตนเองได้อย่างถูกต้อง ที่สำ�คัญกว่านั้น ควรส่งเสริมความร่วมมือกันในระดับนโยบายกับ ผู้ประกอบการกลุ่มบริษัทขนาดใหญ่ที่ดำ�เนินธุรกิจด้วยแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อให้เกิดการสร้าง มาตรฐานในตลาดและยังทำ�ให้โอกาสที่จะขยายแนวคิดสู่ระดับมหภาคเพื่อลดต้นทุนให้ผู้ประกอบการ (economy of scale) เพิ่มขึ้นอีกด้วย ix รายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนไทย • แผนยุทธศาสตร์ของแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนของรัฐบาลและหน่วยงานกำ�กับดูแลควรพัฒนาให้ มีประสิทธิภาพมากขึ้น ประการแรก กรอบนโยบายเรื่องเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และ เศรษฐกิจสีเขียว (Bio Circular Green หรือ BCG) ที่ประเทศไทยใช้เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนแนวคิด เศรษฐกิจหมุนเวียนอยูน ่น ่ ไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ ้ั ให้ความสำ�คัญกับภาคอุตสาหกรรมบางส่วนมากเกินไป ซึง ดั้งเดิมของแนวทางกำ�กับดูแลข้ามอุตสาหกรรมที่เป็นระบบ นอกจากนี้ แผนยุทธศาสตร์ของรัฐบาลยังให้ ความสำ�คัญกับอุตสาหกรรมชีวภาพมากกว่าภาคส่วนอื่นๆ ที่มีส่วนสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจหมุนเวียน ได้เช่นกัน ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมการผลิตและอุตสาหกรรมการก่อสร้าง เป็นต้น ประการที่สอง หน่วย งานกำ�กับดูแลมิได้ทำ�งานร่วมกันอย่างเป็นระบบ เห็นได้จากบทบาทหน้าที่ซ้อนทับกัน หรือแนวทาง นโยบายไม่สอดคล้องกัน เป็นต้น นอกจากนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายแห่งก็ยังไม่ตระหนักถึงความสำ�คัญ ของแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนหรือมีการออกนโยบายสนับสนุนที่จะช่วยขยายผลกระทบให้เกิดขึ้นเป็นวง กว้างได้ การวางนโยบายแบบ ‘ต่างคนต่างทำ�’ เช่นนี้ ทำ�ให้เกิดกฎระเบียบปลีกย่อยที่ทั้งไร้ประสิทธิภาพ และทำ�ให้การทำ�ธุรกรรมมีต้นทุนสูงอีกด้วย • โครงสร้างพื้นฐานที่สำ�คัญต่อการสนับสนุนปัจจัยทางกายภาพ การเงิน และแรงงานไม่เพียงพอ ประการแรก ประเทศไทยยังขาดระบบโลจิสติกส์ย้อนกลับ ซึ่งเป็นปัจจัยสำ�คัญที่ช่วยดำ�เนินการควบคุม ความต่อเนื่องและประสิทธิภาพในการส่งต่อวัสดุเหลือใช้และขยะ ประการที่สอง ประเทศไทยยังขาดแคลน แหล่งเงินทุนสนับสนุนการพัฒนาแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนรูปแบบใหม่ๆ โดยผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่มีใน ปัจจุบันมักสนใจแต่พลังงานหมุนเวียนและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น นอกจากนี้ เมื่อเทียบ กับการลงทุนในธุรกิจแบบดั้งเดิม พบว่าการลงทุนแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนต้องอาศัยนวัตกรรมและ ซับซ้อนมากกว่ากิจกรรมอื่น ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงให้แก่สถาบันการเงิน ประการที่สาม การขาดแคลนทักษะที่ เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจหมุนเวียนทำ�ให้การขยายตัวของแนวคิดศรษฐกิจหมุนเวียนยังจำ�กัดอยู่ ซึ่งครอบคลุม ทั้งเรื่องการออกแบบเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นและรองรับการปรับตัว การลดการใช้วัสดุและการสร้างขยะใน กระบวนการผลิตและการก่อสร้าง การใช้งานผลิตภัณฑ์ในฐานะบริการ (product-as-a-service) และการ ขยายธุรกิจให้ครอบคลุมถึงบริการซ่อมแซม ปรับปรุง และเปลี่ยนทดแทน ทั้งนี้ แม้ประเทศไทยจะดำ�เนิน มาตรการเพื่อสร้างระบบการค้าคาร์บอนเครดิตแล้ว แต่รัฐก็ยังต้องพัฒนามาตรการเพิ่มเติมเพื่อที่จะทำ�ให้ แน่ใจว่าผู้ประกอบการและบุคคลทั่วไปสามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนได้จริง ้ นี้ ความเชือ ทัง ่ มโยงระหว่างการขจัดอุปสรรคด้านการลงทุนและการส่งเสริมเทคโนโลยีดจ ิ ล ิท ั และเทคโนโลยี ทีท่ � ำ ให้เกิดการเปลีย ่ นแปลงอย่างพลิกผัน และแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนนัน ่ งสำ�คัญ ผู้ประกอบ ้ ถือเป็นเรือ การไทยควรเริ่มลงทุนเพื่อพัฒนาความสามารถทางธุรกิจใหม่ๆ นอกจากนี้ยังเป็นที่น่าสังเกตว่าการแพร่ ระบาดครั้งใหญ่ได้เพิ่มแรงกดดันต่องบประมาณการคลัง ประเทศไทยเผชิญปัญหาขาดดุลการคลังเพิ่มขึ้น เนื่องจากค่าใช้จ่ายด้านการบรรเทาวิกฤตโควิดปรับตัวสูงขึ้นจากร้อยละ 2.3 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ประเทศในปีงบประมาณ 2562 เป็นร้อยละ 5.9 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในปีงบประมาณ 2563 (รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย, 2564) ขณะที่เงินได้จากภาษีลดลง ซึ่งในภาวะเช่นนี้ การเร่งพัฒนาธุรกิจ และการลงทุนของภาคเอกชนจึงเป็นปัจจัยสำ�คัญที่ช่วยผลักดันเศรษฐกิจให้กลับมาฟื้นตัวได้ แนวทางขยายโอกาสการเติบโตของภาคเอกชน รายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนของประเทศไทยฉบับนี้ได้รวบรวมข้อเสนอแนะที่ช่วยแก้ไขข้อจำ�กัดสำ�คัญ พร้อมทั้งพิจารณาความเป็นไปได้ของมาตรการ กรอบระยะเวลาดำ�เนิน รวมถึงระบุหน่วยงานรับผิดชอบหลัก ในการปฏิรูปแต่ละด้าน โดยมาตรการปฏิรูปเศรษฐกิจที่สามารถกระตุ้นการลงทุนและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ในการพัฒนานวัตกรรมของภาคเอกชนได้นั้นควรเป็นมาตรการที่เร่งดำ�เนินการเป็นลำ�ดับแรกๆ โดยความ โปร่งใสและการประสานงานระหว่างหน่วยงานภาครัฐและกับภาคเอกชนเป็นปัจจัยสำ�คัญที่จะทำ�การปฏิรูป ประสบผลสำ�เร็จ ซึ่งก็ต้องมีการติดตามประเด็นที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกำ�ลังให้ความสำ�คัญรวมถึงแผนการดำ�เนิน งานของหน่วยงานต่างๆ อยู่เสมอ ทั้งนี้ คำ�แนะนำ�ที่สำ�คัญสามารถสรุปได้ดังรายการด้านล่างนี้ ส่วนแนวทาง สำ�หรับการปฏิรูปการลงทุนและแนวทางการปฏิรูปรายประเด็นจะระบุไว้ในตารางที่ 3 และตารางที่ 4 ตามลำ�ดับ และในภาคผนวกที่ 1 ของรายงานฉบับสมบูรณ์ก็จะมีข้อมูลอ้างอิงถึงมาตรการที่คล้ายคลึงกันจาก ประเทศต่างๆ ด้วย x บทสรุปผู้บริหาร การลงทุนภาคเอกชน มาตรการระยะสั้น • อุดช่องโหว่ในพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้าโดยยกเลิกข้อยกเว้นให้ผู้ประกอบธุรกิจบางประเภท และยกระดับการตรวจจับการกระทำ�ผิดจากการตกลงร่วมกันทางการค้าของผู้ประกอบการ • ขยายโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพื่อการพัฒนานวัตกรรมโดยยกระดับโครงสร้างพื้นฐานทางการเงิน เช่น ให้บริการทางการเงินแบบ Open Banking และปรับปรุงพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ (Secured Transaction) แบบเบ็ดเสร็จเพียงฉบับเดียว • ทำ�ให้การจ้างผู้เชี่ยวชาญต่างชาติง่ายขึ้นด้วยการเปลี่ยนระบบ SMART วีซ่าให้เป็นระบบดิจิทัลทั้งหมด มาตรการระยะกลาง ้ โดยลดจำ�นวนประเภทธุรกิจในภาคบริการทีต • เปิดโอกาสให้การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศเข้ามามากขึน ่อ้ง ขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว และพิจารณาออกหลักเกณฑ์เรื่องการลงทุนขั้นต่ำ�ที่สอดคล้อง กับแต่ละอุตสาหกรรมแทน ่ ประสิทธิภาพของศูนย์ประสานงานกลางการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา (TVET) โดยเปิดโอกาส • เพิม ให้ภาคเอกชนมีสว ่ นร่วมวางหลักสูตรและพัฒนากลไกในการตรวจสอบคุณภาพ เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผัน มาตรการระยะสั้น • พัฒนากฎระเบียบด้านดิจิทัลให้มีความเข้มแข็งโดยปฏิบัติตามข้อบังคับทางการเงินตามหลักปฏิบัติและ มาตรฐานสากล และวางกลยุทธ์กำ�กับดูแลข้อมูลอุตสาหกรรมและนโยบายป้องกันข้อมูลให้ชัดเจน มาตรการระยะกลาง • เพิ่มความสามารถในการแข่งขันในตลาดดิจิทัลโดยขยายตลาดทุนสำ�หรับกิจการในระยะเริ่มต้นและส่งเสริม ่ ความถีม ให้การจัดสรรคลืน ี ระสิทธิภาพมากขึน ่ป ้ แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน มาตรการระยะสั้น ่ สร้างความเข้าใจทีต • กำ�หนดนิยามเศรษฐกิจหมุนเวียนทีเ่ ป็นมาตรฐานในระดับประเทศเพือ ่ าครัฐ ่ รงกันในหมูภ ้ ริโภค เอกชน และผูบ มาตรการระยะกลาง • พัฒนากรอบการกำ�กับดูแลที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจหมุนเวียนโดยแก้ไขในส่วนของการจัดการของเสีย การนำ�กลับมาใช้ใหม่ และการรีไซเคิล • สนับสนุนการลงทุนด้วยการพัฒนาโครงสร้างพืน ้ ฐานด้านดิจท ้ ฐานทางกายภาพและโครงสร้างพืน ั เพือ ิ ล ่ รองรับ การนำ�แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนไปประยุกต์ใช้ในภาคเอกชน xi รายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนไทย ู การลงทุน ตารางที่ 3: แนวทางการปฏิรป หน่วยงานรับผิดชอบหลัก มาตรการส่งเสริมที่ปฏิบัติ ที่ส่งเสริมซึ่งกันและกัน มาตรการปฏิรูป มาตรการปฏิรูป โอกาส ข้อเสนอแนะ ระยะกลาง ได้ทันที การแข่งขันทางการค้า การบังคับใช้กฎหมาย เพิ่มการบังคับใช้กฎหมายและรณรงค์สนับสนุนการแข่งขันโดยสำ�นักงาน การแข่งขันทางการค้า คณะกรรมการการแข่งขันทางการค้าของประเทศไทย (สขค.) โดยเพิ่มขี √ ● สขค. ความสามารถให้ สขค. และเผยแพร่แนวทางการบังคับใช้กฎหมายกา แข่งขันทางการค้า เสริมสร้างธรรมาภิบาลของ สขค. โดยลดการแต่งตั้งผู้แทนตำ�แหน่งอาวุโส √ ● สขค. จากกระทรวงและอนุญาตให้ สขค. จัดสรรงบประมาณอย่างอิสระ อุดช่องโหว่ใน พรบ.การแข่งขันทางการค้า โดยยกเลิกข้อยกเว้นให้ผู้ ประกอบธุรกิจบางประเภท และใช้มาตรการผ่อนผันโทษ (Leniency √ ● ● สขค., พณ. Program) เพื่อสร้างแรงจูงใจการตรวจจับกระทำ�ผิดจากการตกลงร่วมกัน ทางการค้าของผู้ประกอบการ (การสมรู้ร่วมคิดกันทางการค้า) สร้างแรงจูงใจ ยกระดับภาพรวมของนโยบายการแข่งขันทางการค้า และให้พิจารณา สำ�นักนายก ใจการแข่งขัน เรื่องนี้ในนโยบายส่งเสริมเศรษฐกิของประเทศด้วยโดยเปิดโอกาสให้ผู้มี √ ● ● รัฐมนตรี (นร.) ส่วนเกี่ยวข้องเป็นผู้แทนในตำ�แหน่งบริหารและเจ้าหน้าที่ระดับสูง ทบทวนแนวโน้มการบิดเบือนการแข่งขันทีเ่ กิดจากรัฐวิสาหกิจ (รวมถึง กค., สขค., ธุรกิจเครือข่าย) โดยใช้กรอบความเป็นกลางทางการแข่งขันในการวิเคราะห์ √ ● ● ● หน่วยงาน กำ�กับ อุตสาหกรรม ข้อจำ�กัดของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ผ่อนคลายระเบียบ เปลี่ยนระบบ SMART วีซ่าให้เป็นระบบดิจิทัลทั้งหมดโดย (ก) อนุญาตให้ เรื่องการจ้าง อัปโหลดเอกสารทั้งหมดผ่านเว็บไซต์ที่ปลอดภัย (ข) เอกสารไม่ต้องผ่าน สกท., ตม., รง., พนักงานต่างชาติ/ผู้ การรับรองจากองค์กรที่ออกหนังสือหรือผ่านการนิติกรณ์โดยหน่วยงาน √ ● ● กต., สพธอ. เชี่ยวชาญจากต่าง รัฐและ (ค) รับเอกสารที่เป็นภาษาอังกฤษ (หรือภาษาไทยหากต้นฉบับ ประเทศ ออกให้เป็นภาษาไทย) ทบทวนหลักเกณฑ์ว่าด้วยสัดส่วนพนักงานและทุนจดทะเบียน (อาทิ ข้อ กำ�หนดในการจ้างแรงงานไทยอย่างน้อยสี่คนต่อแรงงานต่างชาติหนึ่งคน และข้อกำ�หนดในการเพิ่มทุนอย่างน้อย 2 ล้านบาทต่อการจ้างแรงงาน √ ● ตม., รง., กต. ต่างชาติแต่ละคน แล้วแต่ประเภทการลงทุน) และพิจารณาออกหลัก เกณฑ์ที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมแต่ละรายแทน ทยอยให้ชาวต่างชาติเข้ามาประกอบอาชีพในประเทศไทยมากขึ้นโดย • ยกเลิกและชี้แจงอาชีพต้องห้ามที่กำ�หนดในบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกา กำ�หนดในอาชีพและวีชาชีพที่ห้ามคนต่างด้าวทำ� (2020, 2563) นอกจากนี้ ให้กำ�หนดการตรวจสอบบัญชีเป็นระยะ √ ● • แก้ไขเงื่อนไขการประกอบธุรกิจบางประเภทเพื่อลดข้อจำ�กัดด้าน สัญชาติในการประกอบอาชีพบางประเภท เช่น บริการด้านกฎหมาย สถาปัตยกรรม และวิศวกรรมโยธา xii บทสรุปผู้บริหาร หน่วยงานรับผิดชอบหลัก มาตรการส่งเสริมที่ปฏิบัติ ที่ส่งเสริมซึ่งกันและกัน มาตรการปฏิรูป มาตรการปฏิรูป โอกาส ข้อเสนอแนะ ระยะกลาง ได้ทันที เปิดโอกาสให้มีการ เปิดเสรีภาคบริการที่เป็นกุญแจสำ�คัญในการบรรลุเป้าหมายนโยบาย ลงทุนจากต่างชาติมาก Thailand 4.0 ขึ้นโดยเฉพาะในภาค • ลดจำ�นวนภาคบริการที่ต้องขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว บริการ โดยเพิกถอนภาคบริการออกจากธุรกิจบัญชี 3 และเผยแพร่แนวทางขอ √ ● ● พณ., กสทช. ใบอนุญาตให้สอดคล้องกัน • เพิกถอนข้อกำ�หนด “การทำ�ธุรกิจบริการอืน ่ ” ในธุรกิจบัญชี 3 ท้ายพระ ราชบัญญัตก ิ ารประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว (ข้อที่ 21 บัญชี 3) และเพิม ่ ้ จง “ธุรกิจทีไ คำ�ชีแ ั อนุญาตโดยไม่มข ่ ม่ได้ระบุในรายการได้รบ ีอ้ จำ�กัด” • กำ�หนดเงินทุนขัน ำ จากต่างชาติ (FDI) ตามรายอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ ้ ต่� • พิจารณายกเลิกเงือ่ นไขด้านค่าใช้จา่ ยในการดำ�เนินธุรกิจร้อยละ 25 กรณี √ ● พณ., สกท. เป็นกิจกรรมภายใต้บญ ั ชี 2 และ 3 ท้ายพรบ. การประกอบธุรกิจของคน ต่างด้าว รวบรวมข้อจำ�กัดด้านการลงทุนจากต่างชาติ (FDI) ที่กำ�หนดในกฎหมาย ธุรกิจบางประเภทภายใต้พรบ. การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พณ., ครม., ไว้ที่เดียว พร้อมจัดระบบรายการเครื่องจักรที่ไม่อนุญาตให้นำ�เข้า √ ● สภาฯ (negative list) และออกเอกสารทางกฎหมาย/เอกสารเฉพาะธุรกิจบาง ประเภทเป็นภาษาอังกฤษ การเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพื่อนวัตกรรม เพิ่มความหลาก ปรับหลักเกณฑ์เพื่อลดความเสี่ยงแก่ผู้ลงทุนบนแพลตฟอร์มระดุมทุน หลายของผู้ให้ จากสาธารณะ (crowdfunding) โดยระบุเงื่อนไขการเปิดเผยข้อมูล บริการทางการเงิน และทดสอบข้อกำ�หนดด้านเงินทุนเทียบเท่าค่าใช้จ่ายกรณียกเลิก √ ● กลต. นวัตกรรม แพลตฟอร์ม และการเข้าถึง เสริมความเข้มแข็ง วางแนวทางให้บริการทางการเงินแบบ Open Banking โดยเริ่มจาก ของโครงสร้างพื้น การกำ�หนดมาตรฐาน API ว่าด้วยการแบ่งปันข้อมูลและกำ�หนดแนวทาง √ ● ธปท. ฐานทางการเงิน พัฒนามาตรฐานที่สอดคล้องกับทุกอุตสาหกรรมเพื่อส่งเสริมการแข่งขัน ปรับปรุงพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ (Secured Transaction) แบบเบ็ดเสร็จเพียงฉบับเดียว โดยมีข้อกำ�หนดที่ครอบคลุม ใช้งานได้จริง ได้มาตรฐาน และเรียบง่าย มีการกำ�หนด “การสร้างสิทธิในหลักประกัน (Security Interest) และ “ลำ�ดับความสำ�คัญของเจ้าหนี้ (Priority √ ● กค., พค Rules)” สำ�หรับสังหาริมทรัพย์ได้ทุกประเภท สร้างระบบทะเบียนส่วน กลาง (registry) เพียงชุดเดียวที่เก็บข้อมูลแบบเรียลไทม์และเชื่อมต่อกับ สถาบันการเงินเต็มรูปแบบ ขจัดอุปสรรคทางกฎหมายในพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูล เครดิต เพื่ออนุญาตให้แชร์ข้อมูลจากผู้ให้บริการที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน √ ● กค., เครดิตบูโร (เช่น ข้อมูลจากบริษัทสาธารณูปโภค ร้านค้าปลีก หรือผู้ประกอบการ อีคอมเมิร์ซ) เพิ่มโอกาสให้ SME รองรับการพัฒนาและใช้งานระบบบัญชีออนไลน์/ระบบคลาวด์และ √ ● สรรพากร, เข้าถึงบริการ การออกใบแจ้งหนี้อิเล็กทรอนิกส์สำ�หรับ SMEs สสว. ทางการเงิน ต่อยอดการทำ�ธุรกรรมแฟ็กเตอริงในรูปแบบดิจิทัล (digital factoring) ให้มีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้ผู้ประกอบการในห่วงโซ่อุปทาน √ ● ธปท., สสว. และเพิม ู้ ระกอบการรายย่อย (SME) มีบทบาทในห่วงโซ่คณ ่ โอกาสให้ผป ุ ค่า xiii รายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนไทย หน่วยงานรับผิดชอบหลัก มาตรการส่งเสริมที่ปฏิบัติ ที่ส่งเสริมซึ่งกันและกัน มาตรการปฏิรูป มาตรการปฏิรูป โอกาส ข้อเสนอแนะ ระยะกลาง ได้ทันที ทักษะสำ�หรับธุรกิจในอนาคต ทักษะและความ พัฒนาระบบตรวจสอบทักษะแรงงานเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนแรงงาน √ ● ศธ., อว., ต้องการตลาด ที่ตลาดต้องการ สอวช. เปิดโอกาสให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมวางหลักสูตรโดยกำ�หนดกรอบความ ศธ., สอศ., อว., ร่วมมือระหว่างกระทรวงแรงงาน (รง.) ศูนย์ประสานงานกลางการผลิต √ ● ● สอวช., ภาค และพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา (TVET) และสภาอุตสาหกรรม (สอท.) เอกชน ประสิทธิภาพของ ลดภาระภาคเอกชนในการเข้าร่วมโครงการโดยปรับปรุงขั้นตอนการขอรับ √ ● สกท., รง. ระบบอาชีวศึกษา การส่งเสริมและการรายงาน จัดตั้งหน่วยงานกลางดูแลระบบการศึกษาด้านเทคนิค อาชีวศึกษาและ ● การฝึกอบรมภายใต้กลไกการประกันคุณภาพ √ ศธ., อว., สอศ. เพิ่มการมีส่วนร่วมของ นำ�ร่องโครงการอบรมทักษะใหม่ให้แรงงานสูงอายุ เช่น จัดฝึกอบรมทักษะ √ ● รง., ภาคเอกชน แรงงาน ิ ัลขั้นพื้นฐานและขั้นกลาง ดิจท ทบทวนกฎระเบียบที่ช่วยเพิ่มสัดส่วนแรงงานหญิงในตลาด เช่น เพิ่ม จำ�นวนศูนย์พัฒนาเด็ก ปรับปรุงสวัสดิการการคลอดบุตรเพื่อลดภาระ √ ● พม., รง., ศธ. มารดาหรือภาระดูแลผู้สูงอายุ หมายเหตุ 1: “มาตรการส่งเสริมที่ปฏิบัติได้ทันที” คือมาตรการที่พิจารณาแล้วว่าหากนำ�มาใช้ระยะแรก จะ ‘ช่วยต่อยอด’ มาตรการอื่นในอนาคตและสร้างรากฐานการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องสะสมในระยะกลาง รายงานฉบับนี้เน้นย้ำ�มาตรการที่อาจต่อยอดเป็นมาตการอื่นโดยส่งผลต่อมาตรการรองอื่นเป็นทอดๆ ในแนวดิ่งจากการปฏิรูป ต้นน้ำ�สู่การปฏิรูปปลายน้ำ� โดยมาตรการต่อยอดที่เกี่ยวข้องจะระบุไว้ในตารางพร้อมเครื่องหมายถูก คณะผู้จัดเน้นมาตรการส่งเสริมนี้เพื่อเน้นย้ำ�มาตรการปฏิรูปที่เสริมสร้าง ซึ่งกันและกันและก่อให้เกิดผลกระทบต่อเนื่องสู่ด้านอื่นๆ หมายเหตุ 2: ธปท. – ธนาคารแห่งประเทศไทย; สกท. – สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของประเทศไทย; ครม. – คณะรัฐมนตรี; พค. – กรมพัฒนาธุรกิจการค้า; ตม. – สำ�นักงานตรวจคนเข้าเมือง; อว. - กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม; พณ. – กระทรวงพาณิชย์; ศธ. – กระทรวงศึกษาธิการ; กค. – กระทรวงการ คลัง; รง. – กระทรวงแรงงาน; พม.– กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์; สภาฯ – รัฐสภา; กสทช. – สำ�นักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ; สอวช. – สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายการวิจัยและนวัตกรรมวิทยาศาสตร์การอุดมศึกษาแห่งชาติ; สสว. – สำ�นักงานส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม; สขค. – สำ�นักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า; สอศ. – สำ�นักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา; กลต. – สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ xiv บทสรุปผู้บริหาร นอกจากนี้ รายงานฯ ยังเสนอมาตรการปฏิรูปและแผนดำ�เนินการตามลำ�ดับความสำ�คัญเพื่อส่ง เสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผัน รวมถึง แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน ซึ่งมีรายละเอียดดังที่แสดงไว้ในตารางที่ 4 ู รายประเด็น ตารางที่ 4: แนวทางการปฏิรป หน่วยงานรับผิดชอบหลัก มาตรการส่งเสริมที่ปฏิบัติ ส่งเสริมซึ่งกันและกัน มาตรการปฏิรูปที่ มาตรการปฏิรูป โอกาส ข้อเสนอแนะ ระยะกลาง ได้ทันที เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผัน กำ�หนดขอบเขตความรับ ชี้แจงบทบาทและความรับผิดชอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตาม ผิดชอบของหน่วยงาน นโยบายดิจิทัลหลัก ตลอดจนวางแนวทางติดตามและประเมินความ ที่เกี่ยวข้องให้ชัดเจนและ คืบหน้านโยบายและแผนปฏิรูปที่สำ�คัญ ไม่ว่าจะเป็นนโยบายส่งเสริม นำ�ร่องการทดลอง ข้อมูลอุตสาหกรรม แผนพัฒนาระบบนิเวศของผู้ประกอบการสตาร์ท √ ● ● ดศ. กระทรวง เทคโนโลยีที่ทำ�ให้เกิดการ อัพ แผนดึงดูดนักลงทุนในระยะเริ่มต้น และนโยบายนำ�ร่องทดลอง ภาคส่วน เปลี่ยนแปลงอย่างพลิก ธุรกิจใหม่โดยใช้นวัตกรรมและแนวคิดระบบหมุนเวียนที่ผ่านการ ผัน (EEC) ทดสอบในอุตสาหกรรมดั้งเดิมและสภาพแวดล้อมจริง รวมถึงในภาค EEC สร้างกฎระเบียบในการ ปฏิบัติตามข้อบังคับทางการเงินตามหลักปฏิบัติและมาตรฐานสากล ก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัลที่ โดยแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของไทย เช่น เปิดโอกาส √ ● พณ., กลต. ดึงดูดใจ ให้ผู้ประกอบการเสนอขายหลักทรัพย์ต่อกรรมการหรือพนักงาน (ESOP) และการออกหุ้นกู้แปลงสภาพและหุ้นบุริมสิทธิ วางกลยุทธ์กำ�กับดูแลข้อมูลอุตสาหกรรมและนโยบายป้องกันข้อมูล เพื่อเปิดเส้นทางให้ผู้ประกอบการส่งมอบบริการที่อาศัยข้อมูลขนาด ใหญ่ได้อย่างปลอดภัย นอกจากนี้ยังเป็นการวางรากฐานสู่การเปลี่ยน √ ● ดศ. ผ่านดิจิทัลให้กับอุตสาหกรรมดั้งเดิม อาทิ ร้านค้าปลีก ธุรกิจสุขภาพ การเงิน ฯลฯ ปรับปรุงการใช้แผนกองทุนรวมตราสารทุนที่ตรงกันเพื่อลดความ สศด., สนช. เสี่ยงของการลงทุนและกระตุ้นตลาดทุนในระยะเริ่มต้น (เช่น √ ● และ สวทช. กองทุนร่วมลงทุน กองทุนรวมหน่วยลงทุน) เพิ่มระดับการแข่งขันใน เพิ่มสัดส่วนนักลงทุนประเภทธุรกิจร่วมทุน (VC) ในระดับภูมิภาค ตลาดดิจิทัล ให้มากขึ้นเพื่อสร้างสมดุลระหว่างกลุ่มบริษัทร่วมลงทุน (CVC) และ ธุรกิจร่วมทุน (VC) ในระบบนิเวศดิจิทัล พร้อมกระตุ้นให้บริษัท √ ● สศด., กลต. ขนาดใหญ่เข้าร่วมการแข่งขันระดับนานาชาติเพื่อเตรียมความพร้อม สู่เศรษฐกิจที่เปิดกว้างและขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมมากขึ้น พัฒนาแผนคุ้มครองผู้ผลิตออนไลน์เพื่อป้องกันไม่ให้แพลตฟอร์ม ออนไลน์ใช้อำ�นาจทางการตลาดในทางที่ผิดโดยริดรอนสิทธิ์รับ สวัสดิการของผู้ขายบุคคลที่สาม (อย่างไม่เป็นทางการ) และผู้ให้ √ ● สพธอ. บริการดิจิทัล สร้างความไว้วางใจและความยุติธรรมในตลาดดิจิทัล เพื่อขับเคลื่อนการเข้าถึงดิจิทัลในวงกว้าง แก้ไขปัญหาการขาดการแข่งขันการบริหารคลื่นความถี่โดย (ก) พัฒนาแผนงานคลื่นความถี่ (ข) กำ�หนดราคาคลื่นความถี่สำ�รองตาม √ สภาฯ, สขค., ความเป็นจริงของตลาด และ (ค) ออกแบบการประมูลคลื่นความถี่ ครม. เพื่อการแข่งขัน xv รายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนไทย มาตรการส่งเสริมที่ปฏิบัติ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก ส่งเสริมซึ่งกันและกัน มาตรการปฏิรูปที่ มาตรการปฏิรูป โอกาส ข้อเสนอแนะ ระยะกลาง ได้ทันที พัฒนาศักยภาพของ พัฒนาโครงการเพิ่มขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีระดับสูงและ แรงงานด้านเทคโนโลยี เปลี่ยนมุมมองและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับสายอาชีพนี้โดยส่งเสริม เพื่อขับเคลื่อนการนำ� ภาพลักษณ์ผ่านการยกกรณีศึกษาและบทบาทของสายอาชีพที่ประสบ สศด., สวทช., เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ใน ความสำ�เร็จในการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมและเป็นแบบอย่าง ส่ง √ ● ● ภาคเอกชน ธุรกิจ เสริมและมอบสิทธิประโยชน์ให้แรงงานในประเทศ/ต่างชาติที่มีความ วิชาการ สามารถด้านเทคโนโลยีผ่านโครงการบ่มเพาะ (incubator) โครงการ เตรียมความพร้อม (accelerator) เครือข่ายนักพัฒนา (Diaspora) และการแลกเปลี่ยนความรู้ในต่างประเทศ หมายเหตุ 1: “มาตรการส่งเสริมที่ปฏิบัติได้ทันที” คือมาตรการที่พิจารณาแล้วว่าหากนำ�มาใช้ระยะแรก จะ ‘ช่วยต่อยอด’ มาตรการอื่นในอนาคตและสร้างรากฐานการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องสะสมในระยะกลาง รายงานฉบับนี้เน้นย้ำ�มาตรการที่อาจต่อยอดเป็นมาตการอื่นโดยส่งผลต่อมาตรการรองอื่นเป็นทอดๆ ในแนวดิ่งจากการ ปฏิรูปต้นน้ำ�สู่การปฏิรูปปลายน้ำ� โดยมาตรการต่อยอดที่เกี่ยวข้องจะระบุไว้ในตารางพร้อมเครื่องหมายถูก คณะผู้จัดเน้นมาตรการส่งเสริมนี้เพื่อเน้นย้ำ�มาตรการปฏิรูปที่ เสริมสร้างซึ่งกันและกันและก่อให้เกิดผลกระทบต่อเนื่องสู่ด้านอื่นๆ หมายเหตุ 2: ธปท. – ธนาคารแห่งประเทศไทย; สกท. – คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของประเทศไทย; ครม. – คณะรัฐมนตรี; พค. – กรมพัฒนาธุรกิจการค้า; ตม. – สำ�นักงานตรวจคนเข้าเมือง; อว. - กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม; พณ. – กระทรวงพาณิชย์; ศธ. – กระทรวงศึกษาธิการ; กค. – กระทรวงการคลัง; รง. – กระทรวงแรงงาน; พม.– กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์; สภาฯ – รัฐสภา; กสทช. – สำ�นักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ; สอวช. – สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายการวิจัยและนวัตกรรมวิทยาศาสตร์การอุดมศึกษาแห่งชาติ; สสว. – สำ�นักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม; สขค. – สำ�นักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า; สอศ. – สำ�นักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา; กลต. – สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์; สศด. – สำ�นักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล; สนช. - สำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ xvi บทสรุปผู้บริหาร มาตรการส่งเสริมที่ปฏิบัติ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก ส่งเสริมซึ่งกันและกัน มาตรการปฏิรูปที่ มาตรการปฏิรูป โอกาส ข้อเสนอแนะ ระยะกลาง ได้ทันที แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน เสริมสร้างความรู้ นิยามคำ�จำ�กัดความ “แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน” ให้สอดคล้องกัน สำ�นักนายก ความเข้าใจเรื่องแนวคิด ระดับชาติตามกรอบการทำ�งานระหว่างประเทศ และนำ�ไปใช้ในแผน √ ● รัฐมนตรี (นร.), เศรษฐกิจหมุนเวียน ดำ�เนินการเศรษฐกิจหมุนเวียนฉบับใหม่ที่กำ�ลังร่าง (ดูตัวอย่างจาก สอวช. กฎหมายส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของจีน) สร้างการตระหนักรู้เรื่องแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนโดยเผยแพร่ใน สอวช. นัก หน่วยการเรียนรู้ระดับมหาวิทยาลัย คู่มือการเปลี่ยนผ่านธุรกิจ และ วิชาการผู้ กรณีศึกษาสำ�หรับภาคเอกชน (ดูตัวอย่างจากโครงการ Holland √ ● ประกอบการ, Circular Hotspot ของประเทศเนเธอร์แลนด์) NGO, กษ., มท., ผู้บริโภค ขยายแนวทางประเมินและวัดผลเพื่อให้ครอบคลุมตัวชี้วัดอื่น ๆ ที่ สอวช., กระทรวง ภาคส่วน, กระทรวง กว้างขึ้น รวมถึงตัวชี้วัดเฉพาะภาคส่วนอุตสาหกรรมที่ปูแผนพัฒนา อุตสาหกรรม แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนเฉพาะภาค เช่น ตัวชี้วัด Inventory of √ ● ● กระทรวงทรัพยา Circular Economy ของ OECD กรธรรมชาติและ ่ แวดล้อม, กพย. สิง หน่วยงานที่กำ�หนดและ เสริมสร้างกลไกความร่วมมือระหว่างภาครัฐ-เอกชนภายใต้คณะ ริเริ่มนโยบายแนวคิด กรรมการส่งเสริมนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียนและ สอวช., หน่วย เศรษฐกิจหมุนเวียนมี เศรษฐกิจสีเขียว (Bio Circular Green) เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วม √ ● ประสานงาน การบูรณาการร่วมกัน ของ SME ทบทวนระเบียบข้อบังคับร่วมกันเป็นระยะ และกำ�หนด [รอจัดตั้ง] โครงการวิจัยและพัฒนา (ดูตัวอย่างจาก โครงการด้านเศรษฐกิจ หมุนเวียนระดับภูมิภาคของเมืองบรัสเซลส์) แต่งตั้งหน่วยงานหรือองค์กรกำ�กับดูแลระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนกลาง เพื่อพัฒนา ดำ�เนินการ และบังคับใช้นโยบายเศรษฐกิจหมุนเวียนและ √ ● สำ�นักนายก ประสานการดำ�เนินการระหว่างรัฐมนตรี (ดูตัวอย่างจาก กองทุน รัฐมนตรี (นร.) นวัตกรรมของฟินแลนด์ “Sitra”) กำ�หนดนโยบายที่ เพิกถอนข้อบังคับและมาตรฐานที่ยับยั้งแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน ครอบคลุมและ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นที่ระบุไว้ในอุตสาหกรรมแต่ละภาคข้างต้น กระทรวงภาค เชื่อมโยงกัน ตัวอย่างเช่น (ก) มาตรการเกี่ยวกับการใช้พลาสติกรีไซเคิลสำ�หรับ √ ● ส่วน, สอวช., ภาชนะบรรจุอาหาร (ข) ข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้องกับการนำ�วัสดุรีไซเคิล ภาคเอกชน มาใช้ในวัสดุผสมคอนกรีตและวัสดุก่อสร้างอื่นๆ (ค) กำ�ลังอัดของวัสดุ และความสามารถในการต้านทานตามแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว ดำ�เนินมาตรการที่เร่งกระบวนการ แก้ไขระเบียบทางกฎหมายและ เครื่องมือต่าง ๆ เช่น (ก) กำ�หนดเกณฑ์การพ้นสภาพของขยะ/ของเสีย (end-of-waste criteria) เพื่อส่งเสริมการนำ�วัสดุกลับมาใช้ใหม่และ สอวช. ภาค การรีไซเคิล (ข) ปรับปรุงขอบเขตผลิตภัณฑ์ฉลากเขียวให้ครอบคลุม √ ● เอกชน หน่วย การออกแบบแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (ค) ลดความซับซ้อนของ ประสานงาน ระบบจำ�แนกของเสียให้ง่ายขึ้นและเป็นมาตรฐานเดียวเพื่อสนับสนุน [รอจัดตั้ง] การแลกเปลี่ยนวัสดุและ (ง) อนุญาตให้ผู้ประกอบการเคลื่อนย้ายวัสดุ เหลือใช้ออกนอกภูมิภาคเพื่อสนับสนุนการทำ�งานร่วมกัน เร่งกำ�หนดสิทธิประโยชน์ให้ผู้ประกอบการที่ลงทุนด้านการวิจัยและ พัฒนาหรือปรับปรุงนวัตกรรมแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนในทาง สอวช. สร้างสรรค์ และเพิ่มการรับรู้เกี่ยวกับกองทุนสำ�นักงานคณะกรรมการ √ ● ● นักวิชาการ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ในกลุ่มภาคเอกชน ภาคเอกชน xvii รายงานการวิเคราะห์ภาคเอกชนไทย หน่วยงานรับผิดชอบหลัก มาตรการส่งเสริมที่ปฏิบัติ ส่งเสริมซึ่งกันและกัน มาตรการปฏิรูปที่ มาตรการปฏิรูป โอกาส ข้อเสนอแนะ ระยะกลาง ได้ทันที กำ�หนดและขยายสิทธิประโยชน์ให้ผู้ประกอบการที่มิได้ลงทุนการวิจัย และพัฒนาแต่ถ่ายทอดความรู้และเผยแพร่เทคโนโลยีเศรษฐกิจ หมุนเวียนให้ผู้ประกอบการรายอื่น พิจารณาเพิ่มสิทธิประโยชน์ทางภาษีให้ธุรกิจซ่อมแซม/ผลิตสินค้าเพื่อ หน่วยประสาน นำ�กลับมาใช้ใหม่ √ ● ● งาน [รอจัดตั้ง], พิจารณาเขตการค้าเสรีเศรษฐกิจหมุนเวียน (เช่น ความตกลงที่ กค. ครอบคลุมและก้าวหน้าสำ�หรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Comprehensive and Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership หรือ CPTPP) ในธุรกิจการเกษตร) สร้างโครงสร้างพื้นฐาน ลงทุนโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพและดิจิทัลเพื่อเร่งสนับสนุนระบบ ทส., คค., ที่สนับสนุนแนวคิด เช่น เครือข่ายโลจิสติกส์แบบย้อนกลับ โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง ดศ., หน่วย เศรษฐกิจหมุนเวียน เทคโนโลยี IoT และบล็อกเชนเพื่อรองรับผู้ประกอบการที่ประสงค์เริ่ม √ ● ประสานงาน โมเดลธุรกิจหรือเพื่อรองรับเหตุผลทางธุรกิจในการนำ�โมเดลธุรกิจ [รอจัดตั้ง] หมุนเวียนมาใช้ หมายเหตุ 1: “มาตรการส่งเสริมที่ปฏิบัติได้ทันที” คือมาตรการที่พิจารณาแล้วว่าหากนำ�มาใช้ระยะแรก จะ ‘ช่วยต่อยอด’ มาตรการอื่นในอนาคตและสร้างรากฐานการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องสะสมในระยะกลาง รายงานฉบับนี้เน้นย้ำ�มาตรการที่อาจต่อยอดเป็นมาตการอื่นโดยส่งผลต่อมาตรการรองอื่นเป็นทอดๆ ในแนวดิ่งจากการปฏิรูป ต้นน้ำ�สู่การปฏิรูปปลายน้ำ� โดยมาตรการต่อยอดที่เกี่ยวข้องจะระบุไว้ในตารางพร้อมเครื่องหมายถูก คณะผู้จัดเน้นมาตรการส่งเสริมนี้เพื่อเน้นย้ำ�มาตรการปฏิรูปที่เสริมสร้าง ซึ่งกันและกันและก่อให้เกิดผลกระทบต่อเนื่องสู่ด้านอื่นๆ หมายเหตุ 2: ธปท. – ธนาคารแห่งประเทศไทย; สกท. – คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของประเทศไทย; ครม. – คณะรัฐมนตรี; พค. – กรมพัฒนาธุรกิจการค้า; ตม. – สำ�นักงานตรวจคนเข้าเมือง; อว. - กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม; พณ. – กระทรวงพาณิชย์; ศธ. – กระทรวงศึกษาธิการ; กค. – กระทรวงการคลัง; รง. – กระทรวงแรงงาน; พม. – กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์; สภาฯ – รัฐสภา; กสทช. – สำ�นักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ; สอวช. – สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายการวิจัยและนวัตกรรมวิทยาศาสตร์การอุดมศึกษาแห่งชาติ; สสว. – สำ�นักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม; สขค. – สำ�นักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า; สอศ. – สำ�นักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา; กลต. – สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์; คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน – กพย. xviii IFC 2121 Pennsylvania Avenue, N.W. Washington, D.C. 20433 U.S.A. CONTACTS Mr. Jaime Frias Senior Economist, World Bank jfrias@worldbank.org Mrs. Ruchira Kumar Senior Economist, International Finance Corporation (IFC) rkumar10@ifc.org ifc.org