EXPANDING COMMUNITY APPROACHES IN SOUTHERN THAILAND | COVER NOTE ธนาคารโลก หุนสวนเพื่อสันติภาพ และพัฒนา ชายแดนภาคใต (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๖๐) งานของธนาคารโลกในพื้นที่ชายแดนภาคใต ธนาคารโลกมี เ ป า หมายในการทำงานกั บ ประเทศสมาชิ ก เพื ่ อ ขจั ด ธนาคารโลกไดทำงานอยางตอเนื่องเพื่อสนับสนุนการพัฒนาและ ความยากจนและสงเสริมความอยูดีมีสุขอยางทั่วหนา ในประเทศ สันติสุขในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตเริ่มตั้งแตพ.ศ.๒๕๕๐ โดย รายได ร ะดั บ ปานกลางค อ นไปทางสู ง อย า งเช น ประเทศไทย รวมมือกับภาคีตางๆทั้งในภาครัฐและประชาชน วัตถุประสงคของ คุ ณ ค า ที ่ ส ำคั ญ ที ่ ส ุ ด ในการทำงานของธนาคารโลกคื อ การสร า ง ความช ว ยเหลื อ ของธนาคารโลกคื อ สร า งความมั ่ น ใจและความ หลักประกันวามีการแบงปนความรูที่สำคัญที่ไดมาจากการทำงาน ไววางใจ พรอมกับเสริมพัฒนาขีดความสามารถของสถาบันตางๆ พัฒนาและไดมีการนำความรูนั้นไปใชเพื่อเกิดประโยชนจริง พรอมทั้ง ในทองที่โดยผานแนวทางการทำงานการพัฒนาที่ชุมชนมีสวนรวม ใหการสนับสนุนทางการเงินและทางเทคนิคในดานตางๆ รวมทั้ง อย า งแท จ ริ ง ตั ้ ง แต ข ั ้ น ตอนการออกแบบ การดำเนิ น การและ ในยามวิกฤต เชนเมือ ่ ครัง ่ ระเทศไทยประสบกับวิกฤตทางเศรษฐกิจ ้ ทีป การติดตามผล (พ.ศ.๒๕๔๐) ภัยพิบัติสึนามิิ (พ.ศ.๒๕๔๗) อุทกภัย (พ.ศ.๒๕๕๔) และความขั ด แย ง ในพื ้ น ที ่ ส ามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต (นั บ ตั ้ ง แต ระยะที่ ๑ : ธนาคารโลกเริ ่ ม ทำงานในพื ้ น ที ่ ช ายแดนภาคใต ต ั ้ ง แต เกิดเหตุรุนแรงระลอกใหมพ.ศ.๒๕๔๗) พ.ศ.๒๕๕๐ โดยทำการศึกษาและวิเคราะหความขัดแยงซึง ่ ดำเนินการ โดยคณาจารยและผูเชี่ยวชาญจากศูนยศึกษาสันติภาพและความ ขัดแยง แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ศูนยศก ึ ษาและพัฒนาสันติวธ ิ ี มหาวิทยาลัยมหิดล และศูนยขา วสารสันติภาพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ขอคนพบและขอเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนั้น ซึ่งหนุนเสริมโดย ประสบการณการทำงานที่ธนาคารโลกสนับสนุนในพื้นที่เปราะบาง ในอีกหลายประเทศทั่วโลกถูกประมวลมาประยุกตใชในการออกแบบ แนวทางการพัฒนาทองถิ่นเพื่อนำรองปฏิบัติในพื้นที่จริงในชุมชน ที่เขารวมโครงการ 1 Expanding Community Approaches in Southern Thailand ระยะที่ ๓ : โครงการสนับสนุนชุมชนทองถิน ่ เพือ  ฟูชายแดนภาคใต ่ ฟน ของประเทศไทยในระยะขยาย (พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๖๐) ทีย ั ดำเนินการ ่ ง อยูใ ั ไดรบ  นปจจุบน ั ทุนสนับสนุนจากกองทุน State and Peace-building Fund ของธนาคารโลกและ Korean Trust Fund โดยที่รัฐบาลไทย และสถาบั น ชุ ม ชนท อ งถิ ่ น พั ฒ นาได ข อให ธ นาคารโลกสนั บ สนุ น โครงการช.ช.ต. สวนขยายตอไป พรอมทัง ่ พืน ้ เพิม ่ ำเนินงานจาก ๒๗ ้ ทีด ชุมชนในระยะกอนมาเปน๔๓ ชุมชนในปจจุบน ั และอีก ๖ ตำบลในพืน ้ ที่ สามจังหวัดความสำคั ญ ของส ว นขยายคื อ การเชื ่ อ มประสานงาน พัฒนาในระยะทีผ ่ า นมาเขากับโครงการและกระบวนการพัฒนาตางๆที่ รัฐบาลทำในระดับทองถิ่นนอกจากนี้ยังเพิ่มความเขมแข็งดวยการ ตอยอดเสริมขีดความสามารถใหองคกรภาคประชาสังคมทีส ่ นับสนุน มาตั ้ ง แต ร ะยะก อ นหน า นี ้ ข องโครงการฯ ดั ง นั ้ น ธนาคารโลก จึ ง ทำงานร ว มมื อ ใกล ช ิ ด กั บ กรมส ง เสริ ม การปกครองท อ งถิ ่ น กระทรวงมหาดไทยและศูนยอำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต (ศอ.บต.) พื้นที่ชุมชนโครงการช.ช.ต. เพื ่ อ เพิ ่ ม ปฏิ ส ั ม พั น ธ ร ะหว า งผู  ม ี ส  ว นได เ สี ย ต า งๆในระดั บ ท อ งถิ ่ น แนวทางหลักในการดำเนินโครงการฯตลอดมาก็คือการสรางความ เชื ่ อ มั ่ น โครงการช.ช.ต.ทั ้ ง ในระยะแรกและส ว นขยายให ท ุ น ผานสองชองทางคือ ทุนสนับสนุนการพัฒนาชุมชนใหกับโครงการ ระยะที่ ๒ : โครงการสนับสนุนชุมชนทองถิน ่ เพือ่ ฟน  ฟูชายแดนภาคใต ที่ชุมชนเปนผูระบุความตองการและดำเนินโครงการเองตามกระบวน ของประเทศไทย (ช.ช.ต.) ดำเนินการในระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๒ ถึง ๒๕๕๖ การทีช ่ ม ุ ชนเปนผูข ั เคลือ  บ ่ นหลัก (Community Driven Development) ใน ๒๗ ชุมชนครอบคลุมพื้นที่ในจังหวัดยะลา นราธิวาสและปตตานี ้ ในระดับหมูบ ทัง  า  นและตำบล อีกชองทางภายใตโครงการฯคือกองทุน โครงการช.ช.ต.ในระยะแรกแสดงใหประจักษซง ่ึ คุณคาของการพัฒนา สงเสริมความรวมมือฟน  ฟูและพัฒนาประชาสังคม (Peace building ชุมชนทองถิน ่ ทีด ่ ำเนินคูข  นานไปกับการเสริมความแข็งแกรงแกองคกร Partnership Fund-PPF) ซึ่งหนุนเสริมแนวทางที่เนนการทำงาน ภาคประชาสั ง คมต า งๆ เพื ่ อ เป น วิ ธ ี ก ารทำให ป ระชาชนในชุ ม ชน ในพื ้ น ที ่ ต ามประเด็ น ด ว ยการสนั บ สนุ น องค ก รประชาสั ง คมกั บ สามารถทำความเขาใจคนหาและเรียงลำดับความสำคัญของประเด็น เครือขายที่ทำงานดวยแนวทางและความเปนหุนสวนในรูปแบบใหมๆ ตางๆทีช่ ม ุ ชนเองมองวาสำคัญและมีความตองการ พรอมทัง ้ เพิม ่ ขีด ในทางยุทธศาสตรที่เนนการสรางความไววางใจและสันติภาพ ความสามารถใหกับภาคประชาสังคมในการมีปฏิสัมพันธกับภาครัฐ อยางมีประสิทธิผล ภาคีการพัฒนา ระหวางธนาคารโลก รัฐบาลไทยและภาคประชาสังคม ่ บรรลุวต เพือ ั ถุประสงคดง ั กลาวขางตน โครงการช.ช.ต.ไดเสริมสราง และยั ง คงเพิ ่ ม ความแข็ ง แกร ง ให ก ั บ การทำงานเป น หุ  น ส ว นภาคี การพัฒนาทั้งในดานการใหคำแนะนำและในทางปฏิบัติกับหนวยงาน ตางๆของรัฐ ทัง ้ ในระดับประเทศและทองถิน ่ กับองคกรประชาสังคม คณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการ คณะกรรมการที ่ ป รึ ก ษาโครงการมี ส ำนั ก บริ ห ารหนี ้ ส าธารณะ กระทรวงการคลังดำรงตำแหนงประธาน และประกอบดวยผูแ  ทนจาก ศูนยอำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต (ศอ.บต.) กรมสงเสริม การปกครองทองถิน ่ กับกรมพัฒนาชุมชนภายใตกระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน 2 Knowledge Management Note คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ขอคนพบที่สำคัญและบทเรียน สำนั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ จากการทำงานโครงการช.ช.ต. และสถาบันชุมชนทองถิน ่ พัฒนา คณะกรรมการนีไ ้ ดใหแนวทางทีม ่ ค ุ คา ี ณ และทิศทางยุทธศาสตรพรอมกับติดตามความกาวหนาของการปฏิบต ั ิ การทำงานในพื้นที่ชายแดนภาคใตอยางตอเนื่องของธนาคารโลก ตามกรอบทีว ่ างไวในบันทึกความรวมมือเกีย ่ วกับโครงการฯทีล ่ งนามโดย กำลังสรางผลลัพธทางบวก แนวทางทีเ  นรวมของชุมชน ่ นนการมีสว หน ว ยงานดั ง กล า วกั บ ธนาคารโลก ที ม เจ า หน า ที ่ โ ครงการฯและ ไดชวยสรางคุณคาเพิ่มใหกับนโยบายและโครงการดั้งเดิมของรัฐบาล เจ า หน า ที ่ ก รมส ง เสริ ม การปกครองท อ งถิ ่ น ร ว มกั น พั ฒ นาคู  ม ื อ ขณะที ่ โ ครงการช.ช.ต.ยั ง คงดำเนิ น ไป ประสบการณ ก ารทำงาน แนวปฏิบต ิ านและฝกอบรมเจาหนาทีร ั ง ่ เพือ ่ ะดับทองถิน ่ การมีสว ่ เพิม  นรวม ก็เผยใหเราเห็นถึงปจจัยสำคัญที่อำนวยใหแนวทางและกิจกรรมของ และประสานการทำงานของโครงการฯ ใหสอดรับกันกับระบบการวางแผน โครงการฯกอผลในทางบวกทีส ่ ำคัญๆดังตอไปนี้ การจัดลำดับความสำคัญและกระบวนการจัดสรรงบประมาณในระดับ ทองถิน่ กับหมูบ  า นของรัฐ ศอ.บต.กำลังประสานกับพืน ่ ครงการช.ช.ต. ้ ทีโ 1. กระบวนการพัฒาอยางมีสวนรวมที่โครงการช.ช.ต.นำมาใชและ ทัง้ ๔๓ หมูบ  า นกับอีก ๖ ตำบลเพือ ่ สอดประสานกระบวนการวางแผน ้ อยูบ เผยแพรไดเปดเวทีสำหรับการสรางความไววางใจ ตัง ้ ฐานของ  นพืน และจัดสรรงบของกิจกรรมตางๆในทองถิ่นที่เกี่ยวโยงกัน รวมทั้ง การสานเสวนาทีท ุ คนมีโอกาสมีสว ่ ก  นรวมกับกิจกรรม ระหวางชุมชน กิจกรรมที่ทางโครงการช.ช.ต.เปนผูใหทุนสนับสนุน กับแผนพัฒนา กับองคกรปกครองทองถิ่นในพื้นที่เปราะบาง ทั้งในระดับหมูบานกับตำบล อันนำไปสูผลลัพธโครงการที่จะตอยอด ตอไปอยางมีนย ั ยะสำคัญทัง้ ในแงความครอบคลุมของพืน ่ ละความ ้ ทีแ 2. โครงการช.ช.ต.ไดสรางรูปแบบทางเลือกในการพัฒนาชุมชนทองถิน ่ ยั่งยืนของโครงการฯ ในพืน ่ ไ ้ ทีท ั ผลกระทบจากความขัดแยงทีเ ่ี ดรบ ่ งสำคัญจากมุมมอง ่ นนเรือ ของทองถิน ่ สรางความเขมแข็งแกระบบธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบ ต อ ประชาชน และความโปร ง ใสและส ง ผลให ค วามน า เชื ่ อ ถื อ และ องคกรประชาสังคม ความชอบธรรมของผูเลนระดับทองถิ่นเปนที่ประจักษยิ่งขึ้น โครงการช.ช.ต.ไดเรียนรูแ  ละตระหนักถึงความเขมแข็ง ความครอบคลุม 3. การมีสว  นรวมในโครงการฯไดชว  ยสรางเสริมสมรรถนะขององคกร และขีดความสามารถขององคกรประชาสังคมทีท ่ ำงานในพืน ้ ทีช ่ ายแดน ระดั บ ท อ งถิ ่ น เป น ส ว นสำคั ญ ในการเตรี ย มความพร อ มสำหรั บ ภาคใตจากการดำเนินงานผานกองทุนสงเสริมความรวมมือฟน  ฟูและ พวกเขาเพื่อรองรับความคืบหนาของกระบวนการพูดคุยสันติภาพ พัฒนาประชาสังคม (Peace-building Partnership Fund – PPF) กองทุนฯเอื้ออำนวยใหเกิดการพัฒนาและสรางเครือขายขององคกร ภาคประชาสังคมที่เนนงานดานการรณรงคเพื่อความเปลี่ยนแปลง ของนโยบายกับงานสรางสันติภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งองคกรทีเ ่ นน ทำงานกั บ กลุ  ม เปราะบางเช น ผู  ห ญิ ง เด็ ก กำพร า และเยาวชน งานอีกดานหนึ่งคือการเพิ่มความเขมแข็งใหกับสภาประชาสังคม ชายแดนใต 3 Expanding Community Approaches in Southern Thailand ทุนสนับสนุนการพัฒนาชุมชนและตำบล  ญิงมีบทบาทมากขึน ผูห ุ ฝายยอมรับถึง ้ ในการงานพัฒนาชุมชน ทำใหทก คุณูปการที่สำคัญยิ่งของผูหญิงตอกระบวนการพัฒนา กิจกรรมของโครงการระยะแรกใน ๔๓ ชุมชนเสร็จสิ้นไปในป ๒๕๕๘  ำชุมชน ผูใ ผูน  หญบา ่ ฐ  น เจาหนาทีร ่ ำงานในระดับตำบลตางกำลัง ั ทีท ่ องถูกปรับใหสอดประสานกับวัฏจักรการวางแผน ทุนสนับสนุนรอบทีส พั ฒ นาภาวะผู  น ำของตนจากการเข า มามี ส  ว นร ว มกั บ โครงการฯ พัฒนาระดับทองถิ่น และผานโอกาสที่ไดรับการฝกอบรมตางๆที่โครงการฯจัด กระบวนการที่ชุมชนเปนกำลังขับเคลื่อนหลัก (CDD) กระตุนใหเกิด การปรับใหทน ุ สนับสนุนการพัฒนาชุมชนและตำบลของโครงการช.ช.ต. การมีสว ั พันธเพิม  นรวมและปฏิสม ้ อยางมีนย ่ ขึน ่ ั ยะสำคัญในระดับทองถิน สอดประสานเขากับกระบวนการทำงานพัฒนาของรัฐบาลคาดวา รวมทั้งการระดมทรัพยากรมารวมสนับสนุนอยางเปนรูปธรรมจาก จะทำให เ กิ ด การขยายผลพร อ มทั ้ ง ช อ งทางการมี ป ฏิ ส ั ม พั น ธ ก ั บ ตั ว ชุ ม ชนเอง องค ก รประชาสั ง คมและองค ก รปกครองท อ งถิ ่ น พลเมืองมากขึน ้ ตอความยัง ้ อันจะเอือ ่ ยืนของโครงการพัฒนาตางๆ เรายังคงดำเนินความพยายามทีจ ่ ะรวมงานกับกลุม  หลากหลายตางๆ และเพิ่มพูนความไววางใจและความมั่นใจระหวางรัฐกับชุมชนทองถิ่น ในกระบวนการนี้ตอไป กองทุนสงเสริมความรวมมือฟนฟู และพัฒนาประชาสังคม องคกรภาคประชาสังคม ๓๒ องคกรทีท ้ ทีไ ่ ำงานในพืน ั การสนับสนุน ่ ดรบ  ฟูและพัฒนาประชาสังคม (PPF) จากกองทุนสงเสริมความรวมมือฟน การสนับสนุนในรอบปจจุบันมุงเนนที่จะสรางความแข็งแกรงดาน  หกบ ขีดความสามารถและความรูใ ่ ำงานเชิงยุทธศาสตร ั องคกรหลักๆทีท ดานการสรางสันติภาพ มีการพัฒนา”แผนทีน ่ ำทางการสรางสันติภาพ”ของภาคประชาสังคม รวมกับผูมีสวนไดสวนเสียตางๆในพื้นที่ ่ ติดตามเฝาระวังและรวบรวมขอมูล ศูนยเฝาระวังสถานการณภาคใต ซึง ความขัดแยงไดพัฒนาขีดความสามารถในทางวิชาการและขยาย ความรวมมือไปยังองคกรทีท่ ำงานลักษณะเดียวกันในประเทศฟลป ิ ปนส และอินโดนีเซียปจจุบันทางศูนยฯจัดทำและเผยแพรรายงานและการ วิเคราะหรายไตรมาสเกี่ยวกับความขัดแยงและการพัฒนา มีการพัฒนาหลักสูตรเกีย ่ วกับบริการทางสังคมและจิตวิทยา และจะมีการ เผยแพรหลักสูตรนี้กับองคกรพัฒนาเอกชนที่ทำงานในพื้นที่เพื่อนำ ้ ปสนับสนุนผูไ บริการนีไ ั ผลกระทบจากความรุนแรง  ดรบ 4 Knowledge Management Note  ญิงกำลังขยายงาน (โดยปจจุบน เครือขายผูห ั มี ๒๓ องคกรในเครือขาย) ประสบการณการทำงานและเรียนรูโดยผานการฝกอบรม เวทีเสวนา และรณรงคใหสท ิ ธิเสียงและมุมมองของผูห  ญิงปรากฏชัดเจนยิง ้ ใน ่ ขึน แลกเปลี่ยน การบันทึกและเผยแพรชุดเอกสารความรู ขณะเดียวกัน การสานเสวนานโยบายในประเด็นเกีย  ญิง สันติภาพและการพัฒนา ่ วกับผูห การประเมินผลสำเร็จของโครงการ โดยอาศัยขอมูลจากการสำรวจ ้ กอนและหลังสิน ทัง ้ สุดโครงการจะชวยแจกแจงถึงผลลัพธและผลสำเร็จ  ำชุมชน ซึง มีการพัฒนาหลักสูตรสันติภาพสำหรับเยาวชนและผูน ั ่ ปจจุบน ของโครงการในระดับทีเ ่ ขึน ่ ห็นชัดยิง ้ ้ ทีช มีการนำไปใชจริงในพืน ุ ชนตางๆ ่ ม มีการพัฒนาหลักสูตรสำหรับโรงเรียนตาดีกาทีเ ่ ปนมาตรฐานเดียวกัน และเสริมกิจกรรมดานสันติภาพ (โรงเรียนสอนศาสนาสำหรับเด็กเล็ก) ่ กระทรวงศึกษาธิการไดรบ ซึง ั รองหลักสูตรแลว และหลักสูตรมาตรฐาน เดี ย วกั น นี ้ จ ะนำไปใช ใ นโรงเรี ย นตาดี ก า ๒,๐๐๐ กว า แห ง ในพื ้ น ที ่ ชายแดนภาคใต มีการพัฒนาอักษรยาวีรวมกับศอ.บต. การแบงปนความรู ดวยการออกแบบใหโครงการฯนีเ ้ ปนกิจกรรมการเรียนรู ทางโครงการฯ จึ ง ได ท ำการศึ ก ษาในหลายหั ว ข อ ทั ้ ง เรื ่ อ ง โครงการด า นอาชี พ การเขาถึงแหลงทุนของมุสลิมในจชต.การประเมินสถานการณของ  ายและเยาวชนชายในพืน ผูช ้ ทีเ่ ปราะบาง บทบาทของผูป  ระสานงานพัฒนา ที่มีชุมชนเปนแรงขับเคลื่อนหลักในพื้นที่เปราะบาง พรอมทั้งแบงปน 5 Expanding Community Approaches in Southern Thailand ต.พอมิ่ง อ.ปะนาเระ จ.ปตตานี เมือง ปตตานี ยะหริ่ง ปะนาเระ หนองจิก ต.ปะเสยะวอ ต.อาซอง อ.สายบุรี อ.รามัน มายอ สามบุรี จ.ปตตานี โคกโพธิ์ จ.ยะลา แมลาน ยะรัง ทุงยางแดง ไมแกน กะพอ เมืองยะลา รามัน บาเจาะ ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส ยะหา กรงปนัง ยี่งอ รือเสาะ เมือง กาบัง นราธิวาส ตากใบ บันนังสตา ระแงะ เจาะไอรอง ศรีสาคร ต.หวยกระทิง อ.กรงปนัง สุไหงปาดี ธารโต จ.ยะลา จะเเนะ สุคิริน แวง เบตง ต.เกาะสะทอน อ.ตากใบ จ.นราธิวาส ่ เติมกรุณาติดตอ ขอมูลเพิม ภมรรัตน ตันสงวนวงษ ptansanguanwong@worldbank.org ปุณยนุช โชคคณาพิทก ั ษ pchockanapitaksa@worldbank.org สำนักงานธนาคารโลกกรุงเทพฯ โทร.+662 686-8300 6 Knowledge Management Note เอกสารชุดความรู ฉบับที่ หัวขอ 1. อิทธิพลของการวิจัยดานความขัดแยงตอการออกแบบโครงการนำรองเพื่อเนนบทบาทของชุมชน ในการแกไขสถานการณความขัดแยง 2. บทบาทหญิงชายและการพัฒนาในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากความขัดแยงของประเทศไทย 3. การพัฒนาที่เล็งเปาหมายไปยังเยาวชนและชุมชนเปนตัวขับเคลื่อน ผลสัมฤทธิ์และบทเรียน 4. ลักษณะโครงการ 5. การติดตามและประเมินผล 6. ทุนสนับสนุนการพัฒนาชุมชน (CDD) ขอคนพบและบทเรียนเพื่อการประยุกตใช 7. กองทุนประชาสังคม ขอคนพบและบทเรียนเพื่อการประยุกตใช 8. บทเรียนจากโครงการอาชีพของเงินทุนสนับสนุนโครงการพัฒนาที่ขับเคลื่อนโดยชุมชน ที่ไดรับผลกระทบจากความขัดแยง 9. บทเรียนการเปนผูประสานงานในพื้นที่ ดวยแนวทางที่ชุมชนเปนหลักในการขับเคลื่อน 10. การเขาถึงแหลงทุน กรณีศึกษามุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทย 11. ฐานขอมูลศูนยเฝาระวังสถานการณภาคใต: บริบท พัฒนาการ การประยุกตใชและผลกระทบ 7 World Bank Thailand 30th Floor, Siam Piwat Tower, 989 Rama 1 Road Pathumwan, Bangkok 10330 Tel: +66 2686 8300 Email: thailand@worldbank.org http://www.worldbank.org/thailand Supported by